Reuse Reduce Repair Recycle

Post on 22-Mar-2016

233 views 3 download

Tags:

description

Just Like the Title ^ [ ] ^//

transcript

Rs: Reduce Repair Reuse Recycle

วิธีการลด

ขยะด้วย

หลักการ

การแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ หรือกระบวนการที่เรียกว่า “รีไซเคิล” คือ การนำาเอาของเสียที่ผ่านการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ที่อาจเหมือนเดิม หรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ “การรีไซเคิล” เป็นหนึ่งในวิธีการลดขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้พลังงานและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไม่ให้ถูกนำามาใช้สิ้นเปลืองมากเกินไป การแปรรูปของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่มีกระบวนการอยู่ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การเก็บรวบรวม 2. การแยกประเภทวัสดุแต่ละชนิดออกจากกัน 3. การผลิตหรือปรับปรุง 4. การนำามาใช้ประโยชน์ในขั้นตอนการผลิตหรือปรับปรุงนั้น วัสดุที่แตกต่างชนิดกัน จะมีกรรมวิธีในการผลิต แตกต่างกัน เช่น ขวดแก้วที่ต่างสี หรือกระดาษที่เนื้อกระดาษ และสีที่แตกต่างกัน ต้องแยกประเภทออกจากกัน เมื่อผ่านขั้นตอนการผลิตแล้วของเสียที่ใช้แล้วเหล่านี้จะกลายมาอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ใหม่จากนั้นจึงเข้าสู่ขั้นตอนในการนำามาใช้ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์รีไซเคิลจึงสามารถสังเกตได้จากเครื่องหมายทีประทับไว้ บนผลิตภัณฑ์ที่ผลิตทุกครั้ง การรีไซเคิล ทำาให้โลกมีจำานวนขยะลดน้อยลง และช่วยลดปริมาณการนำาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงานอุตสาหกรรมให้น้อยลง ลดการถลุงแร่บริสุทธิ์ และลดปริมาณการโค่นทำาลายป่าไม้ลงด้วย การหมุนเวียนนำามาผลิตใหม่ยังเป็นการลดการใช้พลังงานจากใต้ภิภพ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่อากาศและลดภาวะการเกิดฝนกรด สำาหรับประเทศไทยนั้น จากการศึกษาของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม พบว่า ศักยภาพของวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำากลับมาใช้ประโยชน์ได้จากมูลฝอยที่เก็บขนได้ในกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศมีประมาณร้อยละ 16-34 ของปริมาณมูลฝอยที่เก็บได้ แต่มีเพียงร้อยละ 7 หรือประมาณ 2,360 ตันต่อวันเท่านั้น ที่มีการนำากลับมาใช้ประโยชน์ การนำากลับมาใช้ใหม่ จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับชีวิตเพิ่มคุณค่าให้กับสิ่งแวดล้อมและช่วยถนอมรักษาทรัพยากรธรรมชาติของโลกไว้ได้ดีที่สุด ในหนทางหนึ่ง

แล้ววันนี้ ท่านได้นำาของ

เสียกลับมาใช้ประโยชน์

ใหม่กับเขาหรือยัง??

ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม

ขยะ เศษวัสดุ ของเสีย มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ เนื่องจากการขยายตัวของ

เมืองการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออำานวยความสะดวกสบาย การอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น

หากใช้วิธีกำาจัดที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดปัญหาตามมา

น้ำาเสียจากกองขยะ ( Leachate ) มีความสกปรกสูง มีสภาพเป็นกรด มีเชื้อโรค หาก

น้ำาจากขยะรั่ว ไหลปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม เป็นผลให้เกิดอันตรายและเกิดมลพิษในบริเวณที่

ปนเปื้อน ดังในแหล่งทิ้งขยะของเทศบาลต่าง ๆ ที่เอาขยะไปเทกองไว้เป็นภูเขาขยะ น้ำาจาก

ขยะจะไหลซึมออกทางบริเวณข้างกอง ส่วนหนึ่งก็ซึมลงสู่ใต้ดิน ในที่สุดก็ไปปนเปื้อนกับน้ำา

ใต้ดินเกิดปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของชาวบ้านที่บริโภคน้ำา ถ้าน้ำาจากกองขยะไหลซึมลงสู่

แหล่งน้ำาในบริเวณใกล้เคียง ก็จะทำาให้น้ำาในแหล่งน้ำานั้นเน่าเสีย ถ้าปนเปื้อนมากถึงขนาดก็

จะทำาให้สัตว์น้ำาต่าง ๆ เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา กบ เขียด พืชน้ำา ตายได้ เพราะขาดออกซิเจน

และขาดแสงแดดที่จะส่งผ่านน้ำา เนื่องจากน้ำามีสีดำา หากน้ำาขยะมีการปนเปื้อนลงในแหล่ง

น้ำาที่ใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคของ ชุมชน ก็จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงคุณภาพน้ำา

มากขึ้น

ขยะมูลฝอยที่ทำาให้เกิดมลพิษในอากาศ กองขยะมูลฝอยขนาดมหึมาของเทศบาล จะ

เกิดการหมัก โดยจุลินทรีย์ในกองขยะจะเกิดก๊าซต่าง ๆ เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม หาก

ไม่มีการกำาจัดก๊าซเหล่านี้อย่างเหมาะสม ก๊าซที่เกิดขึ้นได้แก่ มีเทน คาร์บอนไดออกไซด์

ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ( ก๊าซไข่เน่า ) เป็นต้น และยังมีฝุ่นละอองจากกองขยะ ก่อให้เกิดปัญหากับ

ระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง แก่ประชาชนที่อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง

ปัญหาจากสภาพสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอย

ขยะมูลฝอย เป็นตัวการสำาคัญประการหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม

เมื่อมีขยะมูลฝอยจำานวนมาก แต่ชุมชนไม่สามารถเก็บขนและกำาจัดขยะมูลฝอยได้

อย่างหมดจดหรือจัดการขยะมูลฝอยอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ดังนั้นขยะมูลฝอยจึง

เป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ดังนี้ คือ

1. อากาศเสีย

เกิดจากการเผาขยะมูลฝอยกลางแจ้ง ก่อให้เกิดควันและสารพิษทางอากาศทำาให้

คุณภาพอากาศเสื่อมโทรม

2. น้ำาเสีย

เกิดจากกองขยะมูลฝอยบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะมูลฝอยจะเกิดน้ำาเสีย

มีความสกปรกมาก ซึ่งจะไหลลงสู่แหล่งน้ำา ทำาให้เกิดภาวะมลพิษของแหล่งน้ำา

3. แหล่งพาหะนำาโรค

เกิดจากการกองขยะมูลฝอยบนพื้นเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน เป็นต้น ซึ่งเป็น

พาหะนำาโรคติดต่อทำาให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

4. เหตุรำาคาญและความไม่น่าดู

เกิดจากการเก็บขนขยะมูลฝอยไม่หมด รวมทั้งการกองขยะมูลฝอยบนพื้น ซึ่งจะส่งกลิ่น

เหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไม่สวยงาม ไม่เป็นสุนทรียภาพ

วิธีการกำาจัดขยะมูลฝอย ( Method of Refuse Disposal ) มีหลายวิธีด้วยกัน เป็นวิธีที่ดี

ถูกสุขลักษณะบ้างไม่ถูกสุขลักษณะบ้าง เช่น นำาไปกองไว้บนพื้นดิน, นำาไปทิ้งทะเล, นำาไปฝัง

กลบ, ใช้ปรับปรุงพื้นที่, เผา, หมักทำาปุ๋ย, ใช้เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ การจัดการและการกำาจัดขยะ

แต่ละวิธีต่างมีข้อดีข้อเสียต่างกัน การพิจารณาว่าจะเลือกใช้วิธีใดต้องอาศัยองค์ประกอบ

ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ที่สำาคัญ คือ ปริมาณของขยะที่เกิดขึ้น รูปแบบการบริหารของท้องถิ่น,

งบประมาณ, ชนิด – ลักษณะสมบัติของขยะมูลฝอย, ขนาด สภาพภูมิประเทศของพื้นที่ที่

จะใช้กำาจัดขยะมูลฝอย, เครื่องมือเครื่องใช้, อาคารสถานที่, ความร่วมมือของประชาชน,

ประโยชน์ที่ควรจะได้รับ, คุณสมบัติของขยะ เช่น ปริมาณของอินทรีย์ อนินทรีย์สาร การ

ปนเปื้อนของสารเคมีที่มีพิษและเชื้อโรค ปริมาณของของแข็งชนิดต่าง ๆ ความหนาแน่น

ขยะที่เกิดขึ้นในชุมชนเมืองมีแหล่งที่มาจาก อาคาร บ้านเรือน บริษัท ห้างร้าน

โรงงาน อุตสาหกรรม โรงพยาบาล ตลาด และสถานที่ราชการ ขยะที่ทิ้งในแต่ละวันจะ

ประกอบด้วยเศษอาหาร กระดาษ เศษแก้ว เศษไม้ พลาสติก เศษดิน เศษหิน ขี้เถ้า เศษผ้า

และใบไม้ กิ่งไม้ โดยมีปริมาณของสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน

การกำาจัดขยะมูลฝอยในแต่ละวิธีต่างก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป ฉะนั้นควรเลือกวิธี

ที่เหมาะสม ของแต่ละพื้นที่ โดยกระทำาควบคู่กันไปทั้งการลดปริมาณขยะมูลฝอย การนำา

กลับไปใช้ใหม่ และการกำาจัดขยะมูลฝอย สิ่งสำาคัญที่ควรได้รับการส่งเสริมให้มากกว่าที่

เป็นอยู่ในปัจจุบัน คือ การลดปริมาณขยะ ซึ่งมีแผนหรือแนวคิด 4 R.

R. 1 ( Reduce ) เป็นการลดปริมาณมูลฝอยที่อาจเกิดขึ้น เช่น ใช้ตะกร้าใส่ของแทนถุง

พลาสติก การลดปริมาณวัสดุ ( Reduce material volume ) เป็นการพยายามเลือกใช้สินค้า

ที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่แทนบรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดเล็ก เพื่อลดปริมาณของบรรจุ

ภัณฑ์ที่จะกลายเป็นขยะมูลฝอย การลดความเป็นพิษ ( Reduced toxicit ) เป็นการเลือกใช้

R. 2 ( Repair ) การนำามาแก้ไข นำาวัสดุอุปกรณ์ที่ชำารุดเสียหาย ซึ่งจะทิ้งเป็นมูลฝอย

มาซ่อมแซมใช้ใหม่ เช่น เก้าอี้ที่เก่าแล้วก็ซ่อมแซม แล้วนำากลับมาใช้ใหม่อีกครั้งหนึ่ง

R. 3 ( Reuse ) นำาขยะมูลฝอยเศษวัสดุมาใช้ใหม่อีกหรือเป็นการใช้ซ้ำา ใช้แล้วใช้อีก

ๆ เช่น ขวดน้ำาหวาน นำามาบรรจุน้ำาดื่ม ขวดกาแฟที่หมดแล้ว นำามาใส่น้ำาตาล การนำา

ผลิตภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ ( Product reuse ) เป็นการพยายามใช้สิ่งของต่าง ๆ หลาย ๆ ครั้ง

ก่อนที่จะทิ้งหรือเลือกใช้ของใหม่

R. 4 ( Recycle ) การหมุนเวียนกลับมาใช้ นำาขยะมาแปรรูป ตามกระบวนการของ

แต่ละประเภท เพื่อนำากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงสภาพจากเดิมแล้วนำามา

ใช้ใหม่ เช่น พลาสติก กระดาษ ขวด โลหะต่าง ๆ ฯลฯ นำามาหลอมใหม่ นำายางรถยนต์ที่

ใช้ไม่ได้แล้วมาทำารองเท้า นำาแก้วแตกมาหลอมผลิตเป็นแก้วหรือกระจกใหม่ การนำาวัสดุ

กลับมาใช้ใหม่ ( Material recycling ) เป็นการนำาวัสดุมาผ่านกระบวนการเพื่อผลิตเป็น

สินค้าใหม่