+ All Categories
Home > Documents > เคมีเรื่องอตอม

เคมีเรื่องอตอม

Date post: 25-Jun-2015
Category:
Upload: fai-suratchaya-kaewboworn
View: 354 times
Download: 3 times
Share this document with a friend
Popular Tags:
70
เอกสารประกอบการสอนโครงการสรุปเขม โคงสุดทายปลายทางเอ็นทรานซ หนา วิชาเคมี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา เอกสารประกอบการบรรยายนีเปนลิขสิทธิ ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น 1 1 อะตอมและตารางธาตุ 1.1 แบบจําลองอะตอม นักวิทยาศาสตร แบบจําลอง ทฤษฎี ดาลตัน (John Dalton) อะตอมเปนทรงกลม บงแยกไมได ทอมสัน (Joseph J. Thomson) e/m = -1.76 x 10 8 coulomb/g = คาคงที- อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม - มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกวา โปรตอน - มีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกวา อิเล็กตรอน - จํานวนโปรตอน = จํานวนอิเล็กตรอน - กระจายอยูทั่วไปในทรงกลม รัทเธอรฟอรด (Ernest Rutherford) - อะตอมมีลักษณะโปรง - ประกอบดวยโปรตอนรวมกันอยูตรงกลางนิวเคลียส ซึ่ง มีขนาดเล็กแตมีมวลมาก - สวนอิเล็กตรอน มีมวลนอยมาก จะวิ่งอยูรอบๆ นิวเคลียส นิวบอร (Niels Bohr) อะตอมเปนทรงกลม ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน รวมกันเปนนิวเคลียส อยูตรงกลาง มีอิเล็กตรอนวิ่งเปนโคจรหรือระดับพลังงานรอบๆ นิวเคลียส 1.2 สเปกตรัมของแสงจากอะตอม นักวิทยาศาสตร การคนพบ ไอแซค นิวตัน ทดลองแยกแสงขาวโดยใชปริซึม โรแบรต บุนเซน กุสตาฟ คีรัชฮอฟฟ สเปกโตสโคปใชแยกสเปกตรัมของ แสงขาวและใชตรวจเสนสเปกตรัม ของธาตุที่ถูกเผา
Transcript
Page 1: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

1

1 อะตอมและตารางธาตุ 1.1 แบบจําลองอะตอม

นักวิทยาศาสตร แบบจําลอง ทฤษฎี

ดาลตัน (John Dalton)

อะตอมเปนทรงกลม แ บงแยกไมได

ทอมสัน (Joseph J. Thomson) e/m = -1.76 x 108 coulomb/g = คาคงที่

- อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม - มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกวา โปรตอน - มีอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกวา อิเล็กตรอน - จํานวนโปรตอน = จํานวนอิเล็กตรอน - กระจายอยูทั่วไปในทรงกลม

รัทเธอรฟอรด (Ernest Rutherford)

- อะตอมมีลักษณะโปรง - ประกอบดวยโปรตอนรวมกันอยูตรงกลางนิวเคลียส ซึ่งมีขนาดเล็กแตมีมวลมาก - สวนอิเล็กตรอน มีมวลนอยมาก จะวิ่งอยูรอบๆ นิวเคลียส

นิวบอร (Niels Bohr)

อะตอมเปนทรงกลม ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน รวมกันเปนนิวเคลียสอยูตรงกลาง มีอิเล็กตรอนว่ิงเปนโคจรหรือระดับพลังงานรอบๆ นิวเคลียส

1.2 สเปกตรัมของแสงจากอะตอม

นักวิทยาศาสตร การคนพบ

ไอแซค นิวตัน

ทดลองแยกแสงขาวโดยใชปริซึม

โรแบรต บุนเซน กุสตาฟ คีรัชฮอฟฟ

สเปกโตสโคปใชแยกสเปกตรัมของแสงขาวและใชตรวจเสนสเปกตรัมของธาตุที่ถูกเผา

Page 2: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

2

โรแบรต บุนเซน

ผลการทดลองเผาสารเพื่อศึกษาเกี่ยวกับสีของเปลวไฟจะไดวา -สเปกตรัมของโลหะชนิดเดียวกัน จะเหมือนกัน - สเปกตรัมของโลหะตางชนิดกัน จะไมเหมือนกัน -สีของเสนสเปกตรัมอาจเหมือนกัน แตตําแหนงของเสนสเปกตรัมทั้งหมดไมตรงกัน เนื่องจากสเปกตรัมเปนสมบัติเฉพาะตัวของธาตุ

หลักการในการเกิดสเปกตรัมเม่ือเผาธาตุตางๆ

1.3 แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก

Page 3: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

3

1.4 การจัดอิเล็กตรอนในอะตอม ชนิดของ orbital ตางๆ

s-orbital p-orbital d-orbital เมื่อออรบิทัลทุกชนิดมารวมกัน

1 2

3

KLM

Page 4: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

4

การจัดเรียงอิเล็กตรอน (electron configuration) จะเปนไปตามลําดับดังนี้ n = 1 1s 2 2s 2p 3 3s 3p 3d 4 4s 4p 4d 4f 5 5s 5p 5d 6 6s 6p

7 7s � อิเล็กตรอนคอนฟกุเรชันของธาตุ จึงเขียนเปน 1s , 2s , 2p , 3s , 3p , 4s , 3d, 4p, 5s , 4d , 5p , 6s , 4f , 5d , 6p , 7s

10Ne มี อิเล็กตรอนคอนฟกุเรชัน = 1s2 , 2s2 , 2p6 (2 . 8 )

9F มี “ 8O มี “ 7N มี “ 6C มี “ 5B มี “ 4Be มี “ 3Li มี “

= 1s2 , 2s2 , 2p5 (2 . 7 ) = 1s2 , 2s2 , 2p4 (2 . 6 ) = 1s2 , 2s2 , 2p3 (2 . 5 ) = 1s2 , 2s2 , 2p2 (2 . 4 ) = 1s2 , 2s2 , 2p1 (2 . 3 ) = 1s2 , 2s2 (2 . 2 ) = 1s2 , 2s1 (2 . 1 )

ตัวอยางขอสอบ 1. กําหนดแบบจําลองอะตอม 3 แบบ ดังแสดงขางลาง

แบบใดเปนแบบจําลองของดาลตัน แบบจําลองของรัทเธอรฟอรด และแบบจําลองของทอมสันตามลําดับ แบบจําลองของดาลตัน แบบจําลองของรัทเธอรฟอรด แบบจําลองของทอมสัน 1 2 3 4

I II II III

II III I I

III I

III II

e e

e e

+ - + - + + - + - + - + + - + - +

I II III

Page 5: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

5

ตอบ ขอ 3. เหตุผล แบบจําลองของดาลตัน เปนทรงกลมโอกาสถูก ขอ 2, 3 แบบจําลองของทอมสัน มีอิเล็กตรอนและโปรตอนกระจายในทรงกลม ขอ 3 จึงเปนขอถูก 2. ขอความใดถูกตองที่สุด

1. แบบจําลองอะตอมของดัลตัน เปนทรงกลมแบงแยกไมได 2. ธาตุ X มีเลขมวล 3 คา แสดงวาธาตุ X มี 3 ไอโซโทป 3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเทากัน 4. ถูกทั้ง 1, 2, 3

เหตุผล ตามทฤษฎีของ Dalton. 1. อนุภาคที่เลก็ที่สุดของธาตุ ขนาดเล็กที่สุดแบงแยกไมได เรียกวา อะตอม

2. อะตอมชนิดเดียวกัน ยอมมีขนาด และมวลเทากัน ตัวอยาง 180 + 0PE C126 C13

6 *14

6 C (กัมมันตรังสี) ธาตุชนิดเดียวกัน ตองมีเลขอะตอมเทากัน ตอบ ขอ 4. 3. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามตอไปนี้

1. แบบจําลองอะตอมเปนขอสันนิษฐานที่นักวิทยาศาสตรสรางขึ้นโดยอาศัยขอมูลจากการทดลอง 2. ในการทดลองของทอมสันเกี่ยวกับการนําไฟฟาของกาซนั้น กาซที่บรรจุในหลอดรังสีคาโธดนั้นตองมีความดันสูง 3. การที่สารละลายอิเล็กโตรไลทนําไฟฟาได เพราะในสารละลายประกอบดวยอิออนบวกและอิออนลบอยูทั่วไป 4. ความแตกตางระหวางแบบจําลองของทอมสันกับรัทเชอรฟอรด ก็คือประจุไฟฟาของอนุภาคในอะตอม ขอใดบาง

ที่ไมถูกตอง 1. ขอ 1, 3 2. ขอ 2, 3 3. ขอ 2, 4 4. ขอ 1, 4

4. จํานวนอิเล็กตรอนระดับพลังงาน (n) = 5 ที่อะตอมสามารถรับได และการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของ In

(อินเดียม) ที่มีเลขอะตอมเทากับ 49 เปนไปตามขอได

จํานวนอิเล็กตรอนที่รับได การจัดเรียงอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนของ In

1 2 3 4

25 49 25 50

2.8.8 18.8.5 2.8.8 18.11.2 2.8.18.18.3 2.8.18.18.3

ตอบ ขอ 4 เพราะวา จํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน (n) = 2n2

Page 6: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

6

A

เขต s 1Hเขต d

เขต p

เขต f

∴ e/n = 2n2 = 2x52 = 50 5. การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบใดใชสําหรับอับคาไลน เอิรท ไมได 1. 2 8 8 2 2. 2 8 18 8 2 3. 2 8 18 18 2 4. 2 8 18 18 8 2 ตอบ ขอ 3 เพราะวา อัลคาไลน เอิรท คือธาตุหมู II ตองมีสองอิเล็กตรอนสุดทายของการจัดเรียงอิเล็กตรอนหมู II = 8, 2 เทานั้น

1.5 ตารางธาตุและสมบัติบางประการของธาตุตามหมูและตามคาบ ตารางธาตุ ลักษณะสําคัญของตารางธาตุ

1. เรียงธาตุ ตามเลขอะตอม จากนอยไปมาก เรียงธาตุ จากซายไปขวา เรียกวา คาบ (Period) มี 7 คาบ เรียงธาตุ จากบนลงลาง เรียกวา หมู (group, column, series) มี 8 หมู

หมูที่สําคัญคือ หมู I เปนโลหะ เรียกวา alkali หมู II เปนโลหะ เรียกวา alkaline earth หมู VII เปนอโลหะ เรียกวา halogen หมู VIII เปนอโลหะ(ที่ๆไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี) เรียกวา inert gas, rare noble gas

Page 7: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

7

11 12 12 13

11 12 12 13

12 12

2. ธาตุ เปนอะตอม มีสัญลักษณเขียน X แทนทุกธาตุและสัญลักษณ นิวเคลียรเขียน ZX อาน Z X A Z แทน เลขอะตอม atomic number = proton = electron X แทน สัญลักษณ symbol A แทน เลขมวล atomic mass = proton + neutron

ธาตุหรืออะตอมของธาตุในตารางธาตุจะมี

IsotoPe หมายถึงธาตุที่มีเลขอะตอม หรือ proton หรือ เปนธาตุชนิดเดียวกัน แตมี neutron ตางกันไดแก 5B = 5B และ 6C = 2C IsotoNe หมายถึง ธาตุที่มี neutron เทากันแตมีเลขอะตอมตางกัน เชน

5B = 6C และ 5B = 6C IsobAr หมายถึงธาตุที่มีเลขมวล เทากัน เชน

5B = 6C IsoElectron หมายถึงอนุภาค(อะตอม , ion, โมเลกุล) ที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน จะไดวาอิเล็กตรอนของ

ion บวกของธาตุหมูตาง ๆ = ion ลบของธาตุหมูตาง ๆ = กาซเฉื่อย 3Li+ 1H- 2He 11Na+,12Mg2+, 13Al3+ 9F- ,8O2- ,7N3- 10Ne สัญลักษณ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน รัศมีอะตอม

(pm) IE1 (kJ/mol) m.p. (°C) b.p. (°C)

He 2 2 93 2,397 -270 -269 Ne 10 2, 8 112 2,087 -249 -246 Ar 18 2, 8, 8 154 1,527 -189 -186 Kr 36 2, 8, 18, 8 169 1,357 -157 -152 Xe 54 2, 8, 18, 18, 8 190 1,177 -112 -108 Rn 86 2, 8, 18, 32, 18, 8 220 1,043 -71 -62

พิจารณาจาก 1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน (n) = 2n2

จะไดจํานวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน = 2, 8, 18, 32 …. ≤ 8 2. จํานวนธาตุในคาบจะสัมพันธกับจํานวน e/n = 2, 8, 18, 18, 32, …..

Page 8: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

8

ตารางแสดงสมบัติบางประการของธาตุหมู 1

ธาตุ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน รัศมี

อะตอม* (pm)

IE1 (kJ/mol) m.p. (°C)

b.p. (°C)

E° (V) M++ë M

Li 3 2, 1 152 526 180 0.53 -3.05 Na 11 2, 8, 1 186 502 98 0.97 -2.71 K 19 2, 8, 8, 1 227 425 64 0.86 -2.92 Rb 37 2, 8, 18, 8, 1 248 409 39 1.53 -2.92 Cs 55 2, 8, 18, 18, 8, 1 265 382 28 1.89 -2.92

*รัศมีอะตอมในโลหะเทากับครึ่งหนึ่งของของระยะยาวระหวางนิวเคลียสของอะตอมที่อยูถัดกันในผลึกของโลหะ เลขอะตอมของธาตุหมู VIII สัมพันธกับ e/n และธาตุ/คาบ ดังนี้

e/n = 2n2 ธาตุ/คาบ เลขอะตอมของธาตุหมู VIII ธาตุ เรียง e/ คาบ 2 2 2 He 2 8 8 10 Ne 2, 8

18 8 18 Ar 2, 8, 8 32 18 36 Kr 2, 8, 18, 8 ≤ 8 18 54 Xe 2, 8, 18, 18, 8

32 86 Rn 2, 8, 18, 32, 18, 8

สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 2

หมู/ธาตุ สมบัติของธาตุ

I Li

II Be

III B

IV C

V N

VI O

VII F

VIII Ne

Page 9: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

9

เลขอะตอม การจัดอิเล็กตรอน พลังงานไอออไนเซชัน ลําดับที่ 1 (kJ/mol) อิเล็กโทรเนกาติวิตี รัศมีอะตอม (pm) จุดหลอมเหลว (°C) ชนิดของธาตุ

3 2, 1 526

1.0

123* 180 โลหะ

4 2, 2 906

1.5 89* 1280 โลหะ

5 2, 3 807

2.0 80*

2,030 ก่ึงโลหะ

6 2, 4

1,093

2.5 77*

3,500 อโลหะ

7 2, 5

1,407

3.0 74* -210

อโลหะ

8 2, 6

1,320

3.5 74* -218

อโลหะ

9 2, 7

1,687

4.0 72* -220

อโลหะ

10 2, 8

2,087

160** -249

อโลหะ * รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส IE ของธาตุตามคาบเพิ่ม ตามหมูลด คา IE ของธาตุตํ่าสุดตามเลขหมู 5B เรียง e = 2, 3 IE1 < IE2 < IE3 << IE4 < IE5 800 2,500 3,600 25,000 32,000 สมบัติบางประการของธาตุในคาบที่ 3

หมู/ธาตุ สมบัติของธาตุ

I Na

II Mg

III Al

IV Si

V P

VI S

VII Cl

VIII Ar

เลขอะตอม การจัดอิเล็กตรอน พลังงานไอออไนเซชัน ลําดับที่ 1 (kJ/mol) อิเล็กโทรเนกาติวิตี รัศมีอะตอม (pm) จุดหลอมเหลว (°C) ชนิดของธาตุ

11 2, 8, 1 502

0.9

157* 98

โลหะ

12 2, 8, 2 744

1.2

136* 649 โลหะ

13 2, 8, 3 548

1.5

125* 660 โลหะ

14 2, 8, 4 793

1.8

117* 1,410

ก่ึงโลหะ

15 2, 8, 5 1,018

2.1

110* 44

อโลหะ

16 2, 8, 6 1,006

2.5

104* 113

อโลหะ

17 2, 8, 7 1,257

3.0 99* -101

อโลหะ

18 2, 8, 8 1,527

-

192** -189

อโลหะ * รัศมีโคเวเลนต ** รัศมีวันเดอรวาลส โจทยถาม 1. การจัดเรียงธาตุ ตามคาบ/ตามหมู ใหตามหา

ก. ธาตุหมู VIII เพราะเปนธาตุไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมีไดแกธาตุ 2He 10Ne 18Ar 36Kr 54Xe 86Rn

ข. ตามหาธาตุหมู VII (F) มีคา EN (Electronegativity) สูงสุด

3Li Be B C N O F 10Ne

EN 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 -

Page 10: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

10

11Na Mg Al Si P S Cl 18Ar EN 0.9 1.2 1.5 1.8 2.1 2.5 2.8 -

ค. ตามหาธาตุหมู I เพราะวา ในทุก ๆ คาบ ขนาดหมู I ใหญสุด โลหะ คาบ 2 3Li Be B ขนาด(pm) 152 111 88 Li+ Be2+ B3+ 60 31 20 คาบ 3 11Na Mg Al ขนาด (pm) 186 160 143 Na+ Mg2+ Al3+ 95 65 50

ธาตุในคาบ 2 6C 7N 8O 9F ขนาด (Å) 0.77 0.70 0.66 0.64 ไอออนของธาตุในคาบ 2 N3- O2- F- ขนาด (Å) 1.71 1.40 1.36

*** หมายเหตุ โลหะ ให e ไป ขนาดจะเล็กลง อโลหะ รับ e มา ขนาดใหญขึ้น สมบัติของสารประกอบ O2-, Cl-, H- ของธาตุบางชนิด

ออกไซด (oxide) สูตร Na2O

Na2O2 MgO Al2O3 SiO2 P4O6

P4O10 SO2 SO3

Cl2O

สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ ของเหลว

กาซ

ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต ความเปนกรด/เบส เบส เบส แอมโฟเทอริก กรด กรด กรด กรด

อโลหะ

Page 11: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

11

คลอไรด (chloride) สูตร NaCl MgCl AlCl3 SiCl4 PCl3

PCl5 S2Cl2

สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง ของเหลว ของเหลวของแข็ง

ของเหลว

ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนตอิออนิก

โคเวเลนต

เมื่อสัมผัสกับอากาศชื้น - - ควัน ควัน ควัน ควัน ไฮไดรด (hydride)

สูตร NaH MgH2 (AlH3)n SiH4 PH3 H2S HCl สถานะที่ 20°C ของแข็ง ของแข็ง ของแข็ง กาซ กาซ กาซ กาซ ชนิดของพันธะ อิออนิก อิออนิก โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต โคเวเลนต

ตัวอยางขอสอบ 1. ธาตุ K , L , และ M มีเลขอะตอม 10 , 14 , และ 20 ตามลําดับ ธาตุทั้งสามจะอยูในหมูและคาบใดตามลําดับ ดังนี้

หมู คาบ หมู คาบ 1. 2 , 4 , 8 และ 2 , 3 , 4 2. 4 , 8 , 2 และ 3 , 2 , 4 3. 4 , 2 , 8 และ 4 , 3 , 8 4. 8 , 4 , 2 และ 2 , 3 , 4 หลัก พิจารณาจากเลขอะตอมของหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr……….. 10K อยูในหมู VIII ตอบ ขอ 4 2. กําหนดเลขอะตอม ของธาตุ A , B , C และ D เทากับ 13 , 19 , 20 และ 12 ตามลําดับ การเรียงขนาดอะตอม

ในขอใดถูกตอง 1. B > C > D > A 2. B > C > A > D 3. C > A > B > D 4. C > B > A > D หลัก จากธาตุหมู VIII : 2He 10Ne 18Ar 36Kr จะไดวาธาตุที่กําหนดใหอยูในหมูและคาบใดไดและในทุก ๆ คาบขนาดหมู I ใหญสุด ตอบ ขอ 1 3. ธาตุคูใดอยูในคาบเดียวกันและอยูในหมู II – V

1. 20R 38Q 2. 13X 31Y 3. 37Z 38Q 4. 33X 20Y

Page 12: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

12

หลัก จากธาตุหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr เลขอะตอมเปนเลขคู จะอยูหมูคู (หมู II) เลขอะตอมเปนเลขคี่ จะอยูหมูคี่ (หมู V) ตอบ ขอ 4 4. ถาธาตุ x y และ z มีสูตรสารประกอบ X2O3 , YO และ Z2O ตามลําดับ เลขอะตอมของธาตุทั้งสามในขอใด

ที่เปนไปได ของ X ของ Y ของ Z

1 2 3 4

37 20 13 56

31 11 56 5

56 31 37 19

หลัก จากสูตร X2O3 = 2X + 3(O) = 2X + 3O2-(VI) 2X = 6 + , X = 3+ แสดงวา X เปนธาตุหมู III ( 5B , 13Al) ตอบ ขอ 3 กําหนดขอมูลใชกับคําถามขอ 5 – 7 กําหนดธาตุ A . B . C และ D มีเลขอะตอมเทากับ 55 , 38 , 35 และ 10 ตามลําดับ 5. ธาตุใดมีพลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ตํ่าสุด

1. A 2. B 3. C 4. D หลัก พิจารณาจากธาตุหมู VIII 2He 10Ne 18Ar 36Kr 54Xe และ IE ของธาตุตามคาบเพิ่ม ตอบ ขอ 1 6. ธาตุใดเปนโลหะซึ่งทําปฏิกิริยากับแฮโลเจนไดสารประกอบที่มีอัตราสวนจํานวนโมลของโลหะตอแฮโลเจน เปน

1 : 2 1. A 2. B 3. C 4. D

หลัก อัตราสวนจํานวนโมลของโลหะ : แฮโลเจน = 1 : 2 แสดงวา โลหะ + แฮโลเจน = ( 1 + 2 ) โมล

(A) (X) A + X ได A + 2X = AX2 A = โลหะ คือ ธาตุ B เลขอะตอม = 38 ตอบ ขอ 2

Page 13: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

13

19 29 35 37

53 55 36 38

39

7. X อยูในคาบ 3 ของตารางธาตุ เมื่อรับ 1 อิเล็กตรอนมาจะเปนอิออนเหมือนแกสเฉื่อย ถา X มีอยู 2 ไอโซโทป มีนิวตรอน = 18 และ 20 ตามลําดับ สัญลักษณนิวเคลียสของ X คือ 1. 9X 9X 2. 17X , 17Y 3. 18X , 18Y 4. 35X , 35Y

หลัก กําหนด X อยูในคาบ 3 แสดงวา มีเลขอะตอมตั้งแต 11 – 18 ตัดขอ 1 และ 4 ไป X รับ e มา จะมีเลขอะตอม = 18 ไมได ตอบ ขอ 2 - คาพลังงานไอออไนเซชัน IE อิเล็กโตรเนกาติวีตี EN และความเปนอโลหะของธาตุ จะเพิ่มตามคาบและจะลดลงตามหมู 18Ar + IE1 18Ar+ + e1 2 . 8 . 8 2 . 8 . 7 19K + IE1 19K+ + e1 19K+ + IE2 19K2+ + e2 2 . 8 . 8 .1 2 .8 . 8 2 .8 . 8 2 .8 . 7 20Ca + IE1 20Ca+ + e1 2 . 8 . 8 . 2 2 . 8 . 8 . 1 20Ca+ + IE2 20Ca2+ + e2 20Ca2+ + IE3 20Ca3+ + e3 2 . 8 . 8 . 1 2 . 8 . 8 2 . 8 . 8 2 . 8 . 7 ตัวอยาง 8. พิจารณาขอกําหนดตาง ๆ ตอไปนี้ ก. 19A ข. B เรียงอิเล็กตรอน = 2 . 8 . 8 ค. สูตรคลอไรดของ X = XCl3 และ X อยูในคาบ 3 ง. ธาตุ Y เรียงอิเล็กตรอน = 2 . 8 . 6 การเรียงคาพลังงานไอออนไนเซชันลําดับที่ 1 ขอใดถูกตอง 1. B > Y > X > A 2. A > X > Y > B 3. A > Y > X > B 4. B > X > A > Y หลัก ตามหาหมู VIII , VII , VI กอน ตอบ ขอ 1

Page 14: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

14

2 พันธะเคมี ชนิดของพันธะ ชนิดของธาตุที่เกิดพันธะกัน หลักการ

พันธะอิออนิก โลหะ + อโลหะ **มีการรับ/ใหอิเล็กตรอน** -โลหะ (EN&IE ตํ่า) ให ë เกิดเปน cation ขนาด

-อโลหะ (EN&IE สูง) รับ ë เกิดเปน anion ขนาด

พันธะโคเวเลนท อโลหะ + อโลหะ ใชอิเล็กตรอนรวมกัน

พันธะโลหะ โลหะ + โลหะ อิเล็กตรอนวิ่งไปทั่ว (ทะเลอิเล็กตรอน) ทําให

- นําไฟฟาได - เปนมันวาว - เหนียว

พันธะไฮโดรเจน เกิดจากสารประกอบที่มี

- H ตอ “N” คือ NH3 - H ตอ “O” คือ H2O , R’OH , RCOOH - H ตอ “F” คือ HF

อยูระหวางพันธะอิออนิกและโคเวเลนต เกิดประจุบางสวน (δ+/δ-)

Page 15: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

15

รูปรางโมเลกุล e- คูสรางพันธะ *e- คูวาง รูปราง มุม (องศา)

2 - โซตรง

BeCl2, HgCl2

180

2 1 มุมงอ

2 SO2 , O3 , NO2

-, H2O , ClO2-

104.5

3 สามเหลี่ยมแบน

ราบ BF3 , SO3 , CO3

2- , CH2O, NO3-

120

3 1 ปรามิดฐานสามเหลี่ยม

NH3 , PH3 , SO3

2- , ClO3- , H3O+

107.3

4 - รูปเหลี่ยมสี่หนา

CH4 , SiH4 , NH4

+ , SO4- , ClO4

-

109.5

5 - ปรามิดคูฐานสามเหลี่ยม

PCl5

120.90

6 - รูปเหลี่ยมแปด

หนา SF6

90

Page 16: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

16

•• ••

ตัวอยางขอสอบ 9. พิจารณาแผนภาพแสดงกลุมหมอกอิเล็กตรอนและอะตอมที่สรางพันธะกัน 3 ชนิด สารในขอใดมีการสรางพันธะตามแบบ ก ข และ ค ตามลําดับ 1. CO Mg HCl 2. O2 F2 CO 3. CO Ca HCl 4. F2 Mg CO หลัก ก อโลหะ + อโลหะ ชนิดเดียวกันรวมกัน ข โลหะ + โลหะ เปนโลหะชนิดเดียวกัน ค อโลหะ + อโลหะ ตางชนิดกัน ตอบ ขอ 4 10. โมเลกุลและไอออนในขอใดที่มีรูปรางเหมือนกันหมด

1. H2S CO2 O3 2. CS2 CO2 O3 3. CS2 NO2

- CO2 4. O3 H2S NO2-

หลัก พิจารณา ธาตุหมู IV คือ “C” กอน เพราะวา C มี Valence electron = 4 สรางได 4 พันธะ ตามขอ 1 , 2 และ 3 มีสารประกอบ CO2 CO2 = C + 2(O)

- หมู VI - สารได 2 พันธะ

โครงสราง CO2 จึงเปน O = C = O แต O3 และ NO2

- มีโครงสรางเปน O N O O , O O-

ตอบ ขอ 4

11. กําหนดธาตุ X , Y และ Z มีเลขอะตอม 17 , 35 , 54 ตามลําดับ จงพิจารณาสารประกอบตอไปนี้ ก. XF3 ข. YF5 ค. ZF2 สารประกอบในขอใดบางที่อะตอมกลางมีจํานวนอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวมากกวา 1 คู

Page 17: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

17

• •

• • • •

• • •

• • •

• •

• • •

n = 3 n = 2 n = 1

n = 3 n = 2 n = 1

n = 3 n = 2 n = 1

1. ก เทานั้น 2. ค เทานั้น 3. ก และ ข 4. ก และ ค หลัก ตามหาหมูธาตุที่จะสรางพันธะครบ 8 ตามกฎ Octet X , Y , Z เปนธาตุหมู VII , VII และ VIII ตามลําดับ ตอบ ขอ 3 12. พิจารณาแผนภาพตอไปนี้ 7p 7p 7p 7m (1) 7n (2) 7n (3) รูปใดแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนในสภาวะพื้นของอะตอมไมถูกตอง 1. (1) และ (2) เทานั้น 2. (2) และ (3) เทานั้น 3. (1) และ (3) เทานั้น 4. (1) (2) และ (3) หลัก การเรียงอิเล็กตรอน (7) = 2.5 ตอบ ขอ 4 13. กําหนดขอมูลของธาตุ X Y และ Z มีดังนี้ I ธาตุ X มี IE1 < IE2 << IE3 < IE4 II ธาตุ Y อยูในหมูเดียวกัน 13Al III ไอโซโทปของ Z ไมมีนิวตรอน สูตรของสารประกอบ ซัลไฟดของ X , Y และ Z ควรเปนดังขอใด 1. XS Y2S3 Z2S 2. XS Y2S3 ZS 3. XS Y3S2 ZS 4. XS Y3S2 Z2S หลัก ธาตุ X อยูหมู II จะเปน X2+ , Y เปนธาตุหมู III จะเปน Y3+ ธาตุ Z จะเปน H จะเปน H+ ในซัลไฟด S2- ตอบ ขอ 1 14. กําหนดพลังงานพันธะ ( kJ/mol ) H – H = 436 H – F = 587 F – F = 159 Cl – Cl = 242 H – I = 298 Cl – F = 253 I – I = 151 การเปลี่ยนแปลงในขอใดเปนกระบวนการดูดพลังงาน

Page 18: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

18

13

1. H2(g) + F2(g) 2HF(g) 2. Cl2(g) + F2(g) 2ClF(g) 3. 2HI(g) H2(g) + I2(g) 4. C(g) + 2O(g) CO2(g) หลัก สราง(พันธะ) คาย ( พลังงาน ) สลาย ( พันธะ ) ดูด ( พลังงาน ) ตอบ ขอ 4 15. A เปนธาตุหมู V คาบที่ 3 B มีเลขอะตอมสูงกวา B อยู 5 และมีเลขมวล 40 C เปนธาตุที่อยูถัดจาก C ไปทางขวาและมี

นิวตรอนมากกวา B อยู 5 ขอสรุปใดผิด 1. สัญลักษณทางนิวเคลียรของ C คือ C 2. คา IE1 เปรียบเทียบกันไดดังนี้ B < C < A 3. C เปนธาตุที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังนี้ 2 . 8 . 9 . 2 4. B เปนโลหะทรานสิชัน

3 ปริมาณสัมพันธในปฏิกิริยาเคมี วาดวย 1. โมลของธาตุและสารประกอบ

2. กฎทรงมวลแหงสสาร 3. สมการเคมี

ตองรู มวลของธาตุ X 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu มวลของสารประกอบ 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล x 1 amu 1amu = 1 atomicmass unit = 1 x 1.66 x 10-24 s ธาตุมาตรฐาน คือ H – 1 , C – 12 , O – 16 โมล , มวล (กรัม) จํานวนอะตอม (หรือ ion)

มี 3 คา 1 mol (atom) (มวลอะตอม) g C 6.02 x 1023 atom

1 โมล P = 6 (มวลอะตอม) g C 6.02 x 1023 atom e = 6 ( 6C )

n = 13 – 6 มวล 1 อะตอมเฉลี่ย = (ของไอโซโทป)

Σ % x มวล 100

Page 19: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

19

xy

M(g) V

P1V1 T1

P2V2 T2

โมล มวล (กรัม) จํานวนโมเลกุล มี 4 คา 1 โมล 22.4 dm3 ที่ STP (gas) (มวลโมเลกุล)g 6.02 x 1023 โมเลกุล สูตร (ธาตุ + ธาตุ ) อะตอม = Σ มวลอะตอม

X mol 1000MV

106.02N

22.4V

MrDV

Mrg

23=

×====

หา ปริมาตร (V) จากความหนาแนน (D) ไดจากสูตร

D = กาซ มีสูตร 2 สูตรใช คือ = และ PV = nRT มาจากการรวมสูตรแกสของ Boyle และ Charles

กฎตางๆ เกี่ยวกับแกสคือ A = Avogadro B = Boyle C = Charles D = Dalton ทฤษฎีจลนของแกส KE = mv2 ทฤษฎีของแกรแฮม = =

กฎทรงมวลแหงสสาร มีใจความวา มวลกอนทําปฏิกิริยา ตองเทากับมวลหลังปฏิกิริยา สมการเคมี

1. Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) 2. AgNO3 + NaCl AgCl(s) + NaNO3 ( -1 ) ( -1 ) 3. 2MnO4

- + 16H+ + 5C2O42- 2Mn2+ + 8H2O + 10CO2

ตัวอยาง 1 เมื่อนําของแข็ง 4 ชนิด ไปเผาทีละชนิดในถวยกระเบื้องที่อุณหภูมิ 200°C ไดผลดังนี้ สาร มวลกอนเผา มวลหลังเผา (เมื่อเย็นลงแลว) A a a

1 2

V1 V2 M2M1√¯ d2 d1 √¯

Page 20: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

20

a bc

b ac

ac b

ab c

ac b

B b < b C c c D d < d สมการใดสอดคลองกับผลการเผาสาร 1. A(s) D(l) + C(g) 2. B(s) Q(s) + X(g) 3. C(s) R(s) + Y(g) 4. D(s) D(l) หลัก มวลกอนเผา ตองเทากับมวลหลังเผา ถามีแกสเกิดขึ้น ระเหยได ตองกําหนดวาปดฝามวลจึงจะคงที่ ตอบ ขอ 2 2. ธาตุ A 1010 อะตอม มีมวล = a กรัม ถาใชสาร B 1 อะตอม ซึ่งมีมวล = b กรัม เปนมาตรฐาน ธาตุ A มีมวลอะตอมเทากับ 1. 2. 3. 4. 10-10b หลัก มวลอะตอม = ตอบ ขอ 2 3. มวลของธาตุ ก 1 อะตอมมีคาเทากับ a กรัมแตมวลอะตอมของ ก มีคาเทากับ b สวนมวลอะตอมของธาตุ ข เทากับ

c มวลของธาตุ ข 1 อะตอมมีคาเทากับกี่กรัม 1. 2. 3. 4. หลัก มวลของธาตุ ก 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu แทนคา a = b (1amu) ……………..(1 มวลของธาตุ ข 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1 amu X = C(1amu) ……………..(2 2/1 X/a = c/b , X = ตอบ ขอ 3 4. พิจารณา ก. แกสคารบอนไดออกไซด 18 x 1023 โมเลกุล

ab 1010

10-10a b

10-10b a

มวล 1 อะตอมของธาตุใด ๆ มวล 1 อะตอมของธาตุมาตรฐาน

Page 21: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

21

ข. โซเดียมไอออน 15 x 1023 ไอออน ค. ฟอสฟอรัส 0.602 x 1023 อะตอม ง. ตะกั่ว 1 อะตอม การเปรียบเทียบจํานวนโมลในขอใดถูกตอง 1. ก > ข > ค > ง 2. ข > ค > ง > ก 3. ค > ง > ก > ข 4. ง > ก > ข > ค หลัก โจทยถามสารใดมีจํานวนโมลมาก 6.02 x 1023 อนุภาค = 1 โมล (อนุภาค = อะตอม โมเลกุล ไอออน ) ตอบ ขอ 1 5. ไอโซออกเทน (C8H18) เปนไฮโดรคารบอนที่อยูในน้ํามันเบนซีนถาไอโซออกเทน 1 โมลเผาไหมกับแกสออกซิเจนมาก

เกินพอ เกิดแกส CO2 และ H2O และใหพลังงานออกมาเทากับ 3800 kJ ถาเผาไหมเอทานอล (C2H5OH) แทนไอโซออกเทนใหไดแกส CO2 เทากับการเผาไหมไอโซออกเทน 1 โมล การเผาไหมเอทานอลจะไดพลังงานออกมามากกวาการเผาไหมไอโซออกเทน 1 โมล ก่ีกิโลจูล (กําหนดใหพลังงานที่ไดจากการเผาไหมเอทานอล 1 โมล เทากับ 1 ,100 kJ )

1. 600 2. 1,200 3. 2,450 4. 2,700 หลัก โจทยเผา C8H10 8CO2 , ∆H = 3,800 kJ เผา C2H5OH 2CO2 , ∆H = 1,100 kJ ตองการ CO2 จาก C2H5OH = 8CO2 ตองเผา 4C2H5OH 8CO2 , ∆ H = 1,100 x 4 ตอบ ขอ 1 ขอมูลตอไปนี้ใชตอบขอ 6 – 7 ( มวลอะตอมของ X = 27 มวลโมเลกุลของออกไซด = 102 )

ครั้งที่ X (กรัม) O2 (กรัม) ออกไซดของ X (กรัม) 1 2 3 4

1 2 3 4

5 5 5 5

1.88 3.76 5.67 7.56

6. จงหาสูตรอยางงายของออกไซดของ X 1. XO2 2. X2O3 3. X3O4 4. X2O5

หลัก 1. ตามกฎทรงมวลแหงสสาร ครั้งที่ 1 : X + O ออกไซด 1 กรัม ……... 1.88 กรัม มวล ออกซิเจน = 1.88 – 1 = 0.88

Page 22: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

22

1 27

0.88 16

mol A mol B

M1V1/1000 M2V2/1000

9 x 2 3 x 4

3 2

235 142

238

238

0 • • • • • • 2 4 6

2. หาสัดสวนจํานวนโมลอยางต่ําเพื่อหาสูตรอยางงาย

X : O = : = 2 : 3 สารประกอบ = 2X + 3(O) = X2O3 ตอบ ขอ 2 7. มวลโมเลกุลในสูตรหนักเปนกี่เทาของมวลโมเลกุลในสูตรอยางงาย

1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 หลัก (สูตรอยางงาย) n = สูตรโมเลกุล = มวลโมเลกุล = ( X2O3)n = 102 = [2 x + 3(O) ]n = 102 ( 2 x 27 + 3 x 36 )n = 102 , n = 1 ตอบ ขอ 1 8. สารละลาย A เขมขน 9 mol/dm3 ปริมาตร 2 cm3 ถาเติมสารละลาย B เขมขน 3 mol/dm3 ลงไปเรื่อยๆ จะมี

ตะกอนเกิดขึ้น เมื่อเขียนเปนกราฟระหวางน้ําหนักตะกอนกับปริมาตรของสารละลาย B จะไดดังนี้ สารละลาย A สารละลาย B

BaCl2 H3PO4 H2SO4 CaCl2

H2SO4 CaCl2 BaCl2 H3PO4

หลัก A + B C + D 9 M, 2cm3 3 M , 4 cm3 = = = 3A + 2B ตะกอน พิจารณาประจุหรือเลขออกซิเดชันรวมของไอออนบวกของสองสารกอนแลวทําใหเทากัน ตอบ ขอ 4 9. พิจารณาสมการ I ) 01n + 92U 56Ba + A + 3นิวตรอน II ) 92U + α B + นิวตรอน III) 92U +2

1H C + 2นิวตรอน

Page 23: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

23

1 2 3 4

8 6.4 x 1022

เลขมวลและเลขอะตอมตามลําดับของธาตุ A , B และ C คือขอใด

A B C

90 , 36 91 , 36 91 , 36 90 , 36

241 , 94 241 , 94 237 , 92 237 , 92

239 , 93 238 , 93 239 , 93 238 , 93

หลัก ตองรูอนุภาค n neutron คือ 01n α alpha คือ 42He ในปฏิกิริยาเคมีนิวเคลียส จะไดวา เลขมวลของสารตั้งตน = เลขมวลของผลิตภัณฑ เลขอะตอมของสารตั้งตน = เลขอะตอมของผลิตภัณฑ จาก 1) 1 + 235 = 142 + ? + 3 , ? = 91 โอกาสถูก 2 กับ 3 2) 238 + 4 = ? + 1 , ? = 241 ตอบ ขอ 2 10. ธาตุโลหะสมมุติชนิดหนึ่งมีมวลอะตอม 301 หนัก 32 g นํามาทําเปนทรงกลมที่มีรัศมีเทากัน 2 cm พอดี หากตั้ง

สมมุติฐานวา อะตอมของโลหะนี้เปนทรงกลม รัศมีของอะตอมของโลหะนี้มีก่ีพิโกเมตร 1. 1000 2. 500 3. 250 4. 100

หลัก 1. 6.02 x 1023 อะตอมโลหะ = (มวลอะตอม) g = 1 โมล 2. ปริมาตรทรงกลม = 4/3πr3 ( และอะตอม ) 32กรัมของโลหะ = 32g = 6.4 x 1022 อะตอม ปริมาตรโลหะ 6.4 x 1022 = 4/3 x π x 23 cm3 1 อะตอม = X cm3 = และปริมาตรทรงกลมของ 1 อะตอม = 4/3πR3 cm3 4/3 x π R3 = 4/3 x π x

1 mol 301 g

6.02 x 1023 at 1 mol

X 1

(4/3) (π) x 8 6.4 x 1022

Page 24: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

24

R3 = 1.25 x 10-22 = 125 x 10-24 cm3 R = 5 x 10-8 cm x 1 pm / 10-10cm = 500 pm ตอบ ขอ 2

4 ของแข็ง ของเหลวและแกส การจําแนกสสาร

ธาตุ สารบริสุทธิ์ สารประกอบ

สสาร สาร (Matter) (substance) สารเนื้อเดียว สารผสม ของผสม ตัวอยางขอสอบ

1. สารในขอใดจัดเปนสารประกอบทั้งหมด 1. ทองแดง เงิน นาก 2. หินปูน นาก เกลือแกง 3. น้ํา กรดน้ําสม เกลือแกง 4. น้ํา ทองแดง เงิน

หลัก ธาตุ = สารบริสุทธิ์ เนื้อเดียว ไดแก โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ทองแดง , เงิน เปนโลหะ นากเปนของผสมเนื้อเดียว คือ Au – Cu ตอบ ขอ 3 2. ขอใดที่ยกตัวอยางสารแตละประเภทไดถูกตอง

ธาตุ สารประกอบ สารละลาย คอลลอยด สารแขวนลอย 1. 2. 3. 4.

Ne Na Fe O3

S8 Cl2

Fe2O3 H2O

3%H2O น้ําสมสายชู น้ําโซดา อากาศ

กาวน้ํา ควันไฟ

น้ํามันดีเซล น้ําเตาหู

น้ําแปง น้ําสบู น้ําสลัด น้ําโคลน

หลัก ตัดขอ 1 , 2 ทิ้งไป ∴ S8 , Cl2 เปนธาตุ ตัดขอ 3 ไป น้ํามันดีเซลไมใช Colloid ตอบ ขอ 4 3. ใสน้ําแข็ง 100 กรัม และโซเดียมคลอไรดมีปริมาณเล็กนอยลงในแกวปดสนิท และวางไวที่อุณหภูมิหอง (30°C)

ปลอยใหน้ําแข็งละลาย เกี่ยวกับระบบนี้ขอความใดถูกตอง

Page 25: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

25

8

สเกล(ซม.) 6 4 2 0

1. ระบบมีการเปลี่ยนแปลงแบบคายพลังงาน เพราะในที่สุดน้ําจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น 2. ไมมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม 3. มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น เนื่องจากอุณหภูมิของระบบเปลี่ยนแปลง 4. ระบบมีพลังงานเพิ่ม

หลัก จากโจทยบอก น้ําแข็ง + NaCl ในแกวปดสนิท ปลอยใหน้ําแข็งละลาย แสดงวาเปนประเภทดูดพลังงาน น้ําแข็ง น้ํา เปนการเปลี่ยนสถานะ ตอบ ขอ 4 4. กําหนดขอมูลจากการทําโครมาโตรกราฟ สารมีสี 5 ชนิด

สาร A B C D E

ระยะทางการเคลื่อนที่ของสาร(ซม.) ระยะทางการเคลื่อนที่ของตัวทําละลาย(ซม.)

12.00 9.0 6.0 9.6 9.3 15.00 15.00 15.00 15.00 15.00

ถานําของผสมของสารทั้ง 5 ชนิด ทําโครมาโตรกราฟโดยใหตัวทําละลายเคลื่อนที่ไป 10 ซม. ผลลัพธจะเปนดังรูปใด

( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) (4 ) หลัก Rf = จากโจทย สารเคลื่อนที่ตํ่าสุดและสูงสุดมีคาเดี่ยว ∴ ตัดขอ (1) และ (4) ไป สาร B , E , D มีระยะทางเคลื่อนที่ 9.0 9.3 9.6 ซม.

เพิ่มขึ้น ∴ ตัดขอ 2 ไป ตอบ ขอ 3

5. นําของเหลว A มากรองผานเซลโลเฟนจะไดของเหลว B สวนของเหลว C ที่คางอยู ในเซลโลเฟน นําไปกรองดวย

กระดาษกรองไดของเหลว C และไมมีสารตกคางอยูบนกระดาษกรอง ขอสรุปใดที่เปนไปไมได

ระยะทางที่สารเคลื่อนที่ ระยะทางที่ตัวทําละลายเคลื่อนที่

จุดเริ่มตน

Page 26: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

26

1. A เปนสารแขวนลอย 2. อนุภาคของเหลว B มีเสนผาศูนยกลางนอยกวา 10-7 ซม. 3. ของเหลว C แสดงปรากฎทินดอลล 4. B เปนสารละลาย

หลัก สารแขวนลอย เปนสารผสมระหวางของแข็งกับของแข็งโจทยกําหนด A เปนของเหลวกรองไดของเหลว B + C ตอบ ขอ 1

6. ขอใดตอไปนี้จัดเปนคอลลอยดประเภทอีมัลชัน ทั้งหมด

1. นม เนย หมอก 2. นม เนย มายองเนส 3. ควันบุหรี่ สเปรย หมอก 4. ควันบุหรี่ หมอก เนย

หลัก จากโจทย ขอ 1 , 3 , 4 มีหมอก เราตองรูวา หมอกเปนของผสมระหวาง น้ํา กับ อากาศ เปน aerosol 7. ของผสม ก. AgNO3 + H2O ข. AgCl + NH3 ค. AgCl + H2O ง. C17H35COOH + H2O ขอใดที่สามารถแยกดวยการกรองได 1. ก กับ ข 2. ข กับ ค 3. ค กับ ง 4. ง กับ ก หลัก สารประกอบของหมู 1 Li , NH4

+ , NO3- ละลายน้ําได

Na K สารประกอบ Cl- , Br- , I- ของ Ag+ , Hg2

2+ และ Pb2+ ไมละลายน้ํา ผูเรียนตองรูวา AgCl ไมละลายน้ําแตละลายในน้ํา NH3 ตัด ขอ ก และ ข ทิ้งไป ตอบ ขอ 3 สารละลาย

1. กรดอินทรียชนิดหนึ่งเปนของเหลว มีความหนาแนน 2.0 กรัม / ซม3 เมื่อละลายน้ําไดความเขมขนในหนวยตาง ๆ ดังนี้

ก. a โมแลว ข. b mol / dm3 ค. x % โดยมวล ง. y % โดยมวล / ปริมาตร

ถาความหนาแนนของน้ํา = 1 กรัม / ซม.3 การเปรียบเทียบคา a , b , x, y ในหัวขอใดถูกตอง 1. a > b : x > y 2. a < b : x > y 3. a > b : x < y 4. a < b : x < y หลัก สมมติของเหลว = 10 cm3 ผสมกับน้ํา = 1000 cm3 มวลของเหลว = 10 cm3 x 2g/cm3 = 20 g

Page 27: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

27

มวลของน้ํา = 1000 cm3 x 1g/cm3 = 1000 g สมมติมวลโมเลกุลของของเหลว = M ก. a โมแลล ข. b mol / dm3 โมลสาร โมลสาร 20 / M 20 / M 1000 g น้ํา ปริมาตรน้ํา + ของเหลว (1000 + 10 ) cm3 ค. x% โดยมวล ง. Y% โดยมวล / ปริมาตร มวลสาร 20 g มวลสาร 20 g มวลน้ํา + มวลสาร ปริมาตรน้ํา + ปริมาตรสาร (1000 + 20 ) g (1000 + 10 ) cm3

ตอบ ขอ 3

คําช้ีแจงขางลางนี้ใชตอบคําถามขอ 2 – 3

สาร มวลโมเลกุล ความเขมขนในเบนซีน การแตกตัวในเบนซีน

จุดเดือด C Kb

X Y Z

เบนซีน

150 180 200 78

7.5 กรัม / 500 กรัม 1.8 กรัม / 100 กรัม 4.0 กรัม / 200 กรัม

ไมแตกตัว ไมแตกตัว ไมแตกตัว

80.10

2.531 2. ขอความใดถูกตอง

1. สารละลาย X มีจุดเดือดต่ํากวาสารละลาย Y 2. สารละลาย Y มีจุดเดือดต่ํากวาสารละลาย Z 3. สารละลาย Z มีจุดเดือดสูงกวาสารละลาย X 4. สารละลาย X , Y และ Z มีจุดเดือดเทากัน

หลัก กําหนดจุดเดือดของสารละลาย แสดงวาสารละลายตองมีความเขมขนเปน molal คือ ตัวถูกละลายเปน mol / ตัวทําละลายเปน 1 kg จํานวน molal ของ X = = 0.1 7.5 กรัม

500 กรัม 1 mol 150 กรัม

1000 กรัม 1 kg

Page 28: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

28

1.8 กรัม 1000 กรัม

1 mol 180 กรัม

1000 กรัม 1 kg

W1 M1

1000 w2

4.56 M

1000 100

จํานวน molal ของ Y = = 0.1

ตอบ ขอ 4

3. สารละลาย X มีจุดเดือดเทาใด (°C) 1. 80.35 2. 82.67 3. 84.10 4. 87.69

วิธีทํา จุดเดือดสารละลาย = จุดเดือดตัวทําละลาย + ∆Tb Tb = mKb จุดเดือดสารละลาย = 80.10 + 0.1 x 2.53 = 80.35 ตอบ ขอ 1 4. 0.57 กรัมของกรดอินทรียออน โมโนโปรติกชนิดหนึ่ง ทําปฏิกิริยาพอดี 25 cm3 0.1 M ของ NaOH เมื่อนํากรดนี้

มา 4.56 กรัม ไปละลายในเบนซีน 100 กรัม จุดเยือกแข็งลดลง 0.512°C ถาสารนี้ 1 โมลละลายในเบนซีน 1000 กรัม ทําใหจุดเยือกแข็งของสารละลายลดลง 5.12 °C ขอสรุปขอใดถูกตอง 1. มวลโมเลกุลของกรดในน้ํา = 456 2. กรดมีไฮโดรเจนที่ถูกแทนที่ได 2 อะตอม 3. กรดนี้แตกตัวไดหมดในน้ํา 4. มวลโมเลกุลของกรดในเบนซีน = 456

หลัก โจทยบอกกรดละลายในเบนซีน และเปนกรดออน เปนโมโนโปรติกสูตรทั่วไป = HX วิธีทํา ∆Tf = Kf

0.512 = 5.12 M = 456 (ในเบนซีน) ตอบ ขอ 4 5. ของเหลว x เปนสารบริสุทธิ์มีมวลโมเลกุล = 100 และมีความหนาแนน = a g/cm3 ถานําของเหลว x นี้มา y cm3 อยากทราบวา มีก่ีโมล ก่ีโมเลกุล 1. ax/100 , ax/100(6.02 x 1023) 2. xy/100 , xy/100(6.02 x 1023) 3. axy/100 , axy/100(6.02 x 1023) 4. ay/100 , ay/100(6.02 x 1023) หลัก ของเหลวชื่อ x คําตอบมี x ไมได ตอบ ขอ 4

Page 29: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

29

ของเหลว x มีก่ีโมล y cm3 ของของเหลว

ay 100

วิธีคิด = ของเหลว x = โมล

5 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี Rate: R พิจารณาจาก สมการ aA + bB cC + dD จะไดวา R ของปฏิกิริยาเคมี = - 1/aRA = -1/bRB = +1/cRC = +1/dRD เชน Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) Rของปฏิกิริยา = -RMg = -1/2RHCl = +RMgCl2 = RH2(g) Rate ของปฏิกิริยาหาไดจากการทดลอง จากสมการขางบนนี้ จะได R = k[A]x[B]y x , y = อันดับของสาร A และสาร B x + y = อันดับรวมของปฏิกิริยา อิทธิพลที่มีผลตอ Rate 1. ความเขมขน 2. ธรรมชาติของสาร 3. อุณหภูมิ 4. คะตะไลท กราฟของ Rate คือ เรง (cat +) หนวง (cat -) E2 E2 E2 E E E3 E E1 E3 E1 ∆E E1 E3 เวลา เวลา เวลา (1) (2) (3)

1 โมล 100 g

a (g) 1 cm3

Page 30: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

30

E2 Eaf Ear N2 + 3H2 2NH3 + E E1 ∆E = E3 – E1 = Eaf – Ear ∆E E3 = + (ดูด Energy) = - (คาย Energy) 1. เมื่อใส 1.0 M HCl 75 cm3 ลงในหินปูนช้ินเล็ก ๆ จะมีแกสคารบอนไดออกไซดเกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงในขอใด

ไมทําใหอัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาเริ่มตนเพิ่มขึ้น 1. ใช 1 M HCl 100 cm3 2. ใช 2 M HCl 25 cm3 3. ใช 2 M HCl 50 cm3 4. ใชบดหินใหละเอียดเปนผง

หลัก สารตั้งตนมีมาก เกิดปฏิกิริยาไดมาก สารตั้งตนมีนอย เกิดปฏิกิริยาไดนอย ∴ R α [ ] สารตั้งตนคงที่ อัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาก็จะคงที ตอบ ขอ 1 2. มีสาร 3 ชนิด A , B และ C ทําปฏิกิริยากันจะไดสาร D แตถาเลือก 2 ชนิดที่เหมาะมาทําปฏิกิริยากันพบวาจะได

ผลิตภัณฑเหมือนกัน แตใชเวลานานกวา ปฏิกิริยาในการผสมสาร 3 ชนิดเกิดขึ้น 2 ขั้นดังนี้ A + C AC AC + B D + C

ขอใดผิด 1. สาร 2 ชนิดที่เหมาะสมที่นํามาผสมกันคือ A และ B 2. สาร C เปนตัวเรงปฏิกิริยา 3. สาร AC ไมอยูตัว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงได 4. ถาผสม A กับ C เขาดวยกัน A จะเปนตัวหนวงปฏิกิริยา

หลัก จาก 2 สมการใหพิจารณา สารตั้งตนของสมการแรก ผลิตภัณฑจากสมการสุดทาย จะไดวา C เปนตัวเรงปฏิกิริยา

∴ สารตั้งตนที่เกิดปฏิกิริยาชา คือ A + B ตอบ ขอ 4

Page 31: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

31

0.0033 25 0.0039 15 0.0077 7.5

3. ปฏิกิริยา A + B C + D เปนปฏิกิริยาดูดความรอนและมีคาพลังงานของการเกิดปฏิกิริยา = 25 kJ/molพลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยานี้จะเทากับเทาใด 1) - 25kJ/mol 2) นอยกวา +25 kJ/mol 3) มากกวา +25 kJ/mol 4)อาจมากกวาหรือนอยกวา +25kJ/mol หลัก E ของการเกิดปฏิกิริยา = Eaf – Ear = + ดูดพลังงาน โจทยถามพลังงานกอกัมมันต = ถาม Eaf ของปฏิกิริยา ตอบ ขอ 3 4. แกส NO2 สลายตัวตามสมการ 2NO2(g) 2NO(g) + O2(g) ถาอัตราการสลายตัวของ NO2(g) เทากับ 4.4 x 10-5 M/sec อัตราการเกิด O2(g) จะเปนเทาใดในหนวย M/sec 1. 1.1 x 10-5 2. 2.2 x 10-5 3. 4.4 x 10-5 4. 8.8 x 10-5 หลัก จาก 2NO2 2NO + O2 จะไดวา R ของปฏิกิริยา = -1/2RNO2 = -1/2RNO = +RO2 RO2 = 1/2RNO2 = ½ x 4.4 x 10-5 ตอบ ขอ 2 5. จากการศึกษาปฏิกิริยา A + B C ซึ่งเปนปฏิกิริยาขั้นตอนเดี่ยวที่ 25C มีขอมูลดังนี้

[A] M [B] M เวลา(sec) [C] M

0.10 0.10 0.20

0.05 0.10 0.10

25 15 7.5

0.0033 0.0039 0.0077

ขอสรุปใดเปนขอถูก 1. เมื่อ [A] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา 2. เมื่อ [B] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา 3. เมื่อ [A] , [B] เพิ่มเปน 2 เทา Rate เพิ่ม 4 เทา 4. เมื่อ [A] เพิ่ม 3 เทา , [B] เพิ่ม 2 เทา Rate เพิ่ม 3 เทา หลัก R = k[A]n[B]m (1) = k(0.10)n(0.05)m (2) = k(0.10)n(0.10)m (3) = k(0.20)n(0.10)m

Page 32: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

32

(2) (1)

(3) (2)

และ จะได R = k[A]2[B]1 ตอบ ขอ 1

6. สาร X สามารถสลายตัวไดดังสมการ 3X 5Y + 6Z เมื่อวัดความเขมขนของสาร X ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวพบวาไดขอมูลดังตารางตอไปนี้

เวลา (วินาที) [X] mol/dm3 0.00 1.000 5.00 0.850 10.00 0.750 15.00 0.700 20.00 0.670

ที่เวลา 5.00 วินาที จะมีสาร Y เขมขนกี่ mol/dm3 1. 0.15 2. 0.25 3. 0.85 4. 1.42 หลัก ที่ 5.00 วินาที สาร X ที่ใชไป = 1.000-0.850 = 0.150 mol/dm3

จากสมการ ใชสาร X 3 โมล ไดสาร Y = 5 โมล 0.150 โมล = 250.0150.0

35

=× โมล

ตอบขอ 2 7. สาร A และสาร B ทําปฏิกิริยากันดังสมการ 2CBA →+ เมื่อใชสาร A 0.2 M จํานวน 3 cm3 ผสมกับสาร B 0.2 M จํานวน 3 cm3 จับเวลาทันทีที่สารผสมกัน หลังจากเวลาผานไป 10 วินาที นําสารละลายผสมไปวิเคราะหหาจํานวนโมลของ C ปรากฏวามีสาร C เกิดขึ้น 2.3 × 10-4 โมล อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้มีคาเทาใด

1. ระยะทางที่ระดับสารลดลงใน 1 วินาที 2. ความเขมขนของสาร C ที่เกิดขึ้น/เวลา = 0.23 × 10-4 โมล 3. ความเขมขนของสาร A ที่ลดลงตอเวลา = 0.38 × 10-4 โมล/วินาที 4. อัตรการลดลงของ A มีคาเทากับ 0.19 × 10-2 โมล/วินาที หลัก 2CBA →+ ใช CBA R

21RR ==

[ ]10s1

1L1000cm

6cmmole102.3

tCR

3

3

4

C

−×==

10L.s6

mol10102.3 34

×××

=−

∴ mol/L.s6102.3

21R

2

A

−×=

= 0.19 × 10-2 mol/L.s

Page 33: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

33

1 อุณหภูมิ

1 อุณหภูมิ

ตอบขอ 4

6 สมดุลเคมี 1. อิทธิพลที่มีผลตอสมดุล

1. ความเขมขน 2. ความดัน 3. อุณหภูมิ

2. จากปฏิกิริยา 1. N2(g) + 3H2(g) 2NH3 + ∆H K1 2. N2O4(g) + ∆H 2NO2(g) K2 ปฏิกิริยาที่ 1 ประเภทคายพลังงาน จะได K α

ปฏิกิริยาที่ 2 ประเภทดูดพลังงาน จะได K α อุณหภูมิ 3. 1) N2 + 3H2(g) 2NH3 + ∆H , K1 2) 2NH3 + ∆H N2 + 3H2 K2 จะไดวา K2 = 1/K1 3) NH3 + ∆H 1/2N2 + 3/2H2 K3 จะไดวา K3 = (1/K1)1/2 และ K3 = (K2)1/2 1. รูปตอไปนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา A + B C + D + E A + B C + D + E เวลา จากการทดลองคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่อุณหภูมิตาง ๆ ไดผลดังนี้

อุณหภูมิ คาคงที่

25 35 45

X Y Z

จงเรียงลําดับของคา X , Y , Z ไดดังขอใด 1. X > Y > Z 2. X < < Z 3. X = Y = Z 4. X < Y > Z หลัก จากกราฟพลังงานกับเวลา เปนปฏิกิริยาคายพลังงาน คา K α

Page 34: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

34

[ผลิตภัณฑ] [สารตั้งตน]

ตอบ ขอ 1 2. ถาการเกิดปฏิกิริยาของ 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) ไปขางหนาจะเปนปฏิกิริยาคายความรอน ถาตองการใหไดผลผลิตภัณฑมากที่สุดควรจะทําอยางไร 1. ทําที่อุณหภูมิตํ่า ความดันสูง 2. ทําที่อุณหภูมิตํ่า ความดันต่ํา 3. ทําที่อุณหภูมิสูง ความดันสูง 4. ทําที่อุณหภูมิสูง ความดันต่ํา หลัก จากปฏิกิริยา 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) + ∆H ตองการ 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) + ∆H เติมสารซาย ลดสารขวา ≡ เคมีจะเกิดจากซาย ขวา เพิ่มความดัน ปริมาตรจะลด ตามกฎของ Boyle ตองลดอุณหภูมิ เพิ่มความดัน ตอบ ขอ 1 3. จากปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เมื่อทองแดงอยูในสารละลายซิลเวอรไนเตรท จะเปนดังนี้

Cu(s) + 2Ag+(aq) Cu2+(aq) + 2Ag(s) เมื่อปฏิกิริยาเขาสูสมดุล

1. อัตราสวนของความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑจะคงที่ 2. ความเขมขนของสารตั้งตนจะเทากัน 3. ความเขมขนของสารผลิตภัณฑจะเทากัน 4. ความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑจะเทากัน

หลัก ความเขมขนของของแข็งและของเหลวมีคาคงที่คือเสมือนหนึ่งวาเทากับ 1 คาคงที่สมดุล K = = คาคงที่ ตอบ ขอ 1 4. ขอใดที่แสดงวาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา BiCl3(aq) + H2O(l) BiOCl(s) + 2HCl(aq) 1. 2. 3. 4.

[BiOCl][HCl]2 [BiCl3]

[BiOCl][HCl]2 [BiCl3][H2O]

[HCl] [BiCl3][H2O]

[HCl]2 [BiCl3]

Page 35: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

35

ตอบ ขอ 4 5. สมการใดตอไปนี้มีคาคงที่สมดุลเทากับ 1/[H2] 1. H2(g) + S(s) H2S(g) 2. H2(g) + S(l) H2S(g) 3.H2(g) + S(l) H2S(g) 4. H2(g) + S(s) H2S(s) ตอบ ขอ 4 6. คาคงที่ของปฏิกิริยา H2(g) + S(s) H2S(g) ที่ 900C มีคาเทากับ 4.0 x 10-2 แลวคาคงที่ของสมดุลของปฏิกิริยาที่แทนที่ดวยสมการ 1/2H2S(g) 1/2H2(g) + 1/2S(s) เทากับ 1. 5.0 2. 1.4 x 10-3 3. 4.6 4. 2 x 10-1 หลัก Kของสมการ = (1/Kเดิม)1/2 = ( ½ x 10-2)1/2 ตอบ ขอ 1 7. วิธีการหนึ่งที่ใชหาปริมาณของเหล็กในน้ําตัวอยางคือวัดความเขมขนของสีแดงของ [FeSCN]2+(aq) ที่เกิดขึ้นถาตองการใหคาที่วัดไดมีความถูกตองมากที่สุดทําอยางไร

1. เปลี่ยนเหล็กในน้ําตัวอยางใหอยูในรูปของ Fe(III) แลวจึ่งเติม NH4SCN ใหมากเกินพอ 2. เหมือนขอ 1 ทุกอยางแลวเติม (NH4)2HPO4 ลงไปดวย 3. เติมเกลือ KI ลงในน้ําตัวอยางกอนแลวเติม NH4SCN(aq) ใหมากเกินพอ 4. เหมือนขอ 3 ทุกอยางแลวเติม (NH4)2HPO4 ลงไปดวย

หลัก Fe3+ + NH4SCN [FeSCN]2+ + NH4+

สีแดง ตอบ ขอ 1 8. จากปฏิกิริยาสมดุลตอไปนี้ ปฏิกิริยาจะดําเนินไปขางหนาเมื่อเพิ่มความรอน 1. CH4(g) + 2H2S(g) CS2(g) + 4H2(g) 2. CO2(g) CO(g) + O2(g)

3. CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(g) 4. 2CO(g) CO2(g) + C(s) หลัก เพิ่ม P แลว V ลดตามกฎของ Boyle ตอบขอ 4 9. น้ําตาลกลูโคสมีโครงสราง 2 ชนิด ชนิด (ก) เมื่อละลายน้ําจะเปลี่ยนเปนชนิด (ข) ที่ภาวะสมดุลมีน้ําตาลชนิด (ข) 63.6%

คาคงที่ของปฏิกิริยาจะเปนเทาใด กลูโคส (ก) กลูโคส (ข)

Page 36: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

36

1. 0.015 2. 0.027 3. 0.57 4. 1.75 หลัก กลูโคส (ก) กลูโคส (ข) ณ สมดุล .................. 63.6%

10. กําหนดใหคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาตอไปนี้ที่ 25 °C มีคา a, b และ c ดังนี้

2 N2O(g) 2 N2 (g) + O2 (g) K1 = a 2 N2O4(g) 4 NO2 (g) K2 = b

N2 (g) + O2 (g) 2 NO2 (g) K3 = c 2 N2O(g) + 3 O2 (g) 4 N2O4(g) K4 = …………… K4 จะมีคาเทาใดในเทอม a, b และ c

1. a + c – b 2. a + 2c – b 3. ac/b 4. ac2/b หลัก สมการบวกกัน K ใหม = K เดิม × กัน สมการลบกัน K ใหม = K เดิม ÷ กัน n × สมการเดิม K ใหม = (K เดิม)n

7 กรด – เบส – เกลือ 1. กรด มี 2 ชนิด 1. กรดไฮโดร H – X เชน HCl , H2S 2. กรด OXO H – X – O เชน HNO3 , H2SO4 กรดมีสูตรทั่วไป HA mono protic H2A di protic H3A poly protic เบสมี 3 ชนิด 1. โลหะไฮดรอกไซด : NaOH , Ca(OH)2 2. โลหะออกไซด : K2O , CaO 3. เบสที่ปราศจากน้ํา : NH3 สารประกอบเกลือ มี 5 ชนิด

1. เกลือปกติ : Na2SO4 2. เกลือกรด : NaHCO3 3. เกลือเบส : Al(OH)2Cl

4. เกลือเชิงประกอบ : K2SO4. Al2(SO4)3 . 24H2O (alum) 5. เกลือเชิงซอน : K3[Fe(CN)6] , NH4SCN

Page 37: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

37

เบส กรด

•• • x • x

• x

• •

+

2. นิยามของกรด , เบส 1. นิยามกรดเบสของอารีเนียส

กรดคือสารประกอบที่มี H+ อยู เมื่อละลายน้ําให H+ กับน้ํา เบสคือสารประกอบที่มี OH- อยู เมื่อละลายน้ําให OH- กับน้ํา

2. นิยามกรดเบสของ บรอนสเตทและเลารี HCl + NH3 NH4

+ + Cl- กรด1 เบส1

เบส2 กรด2

ดังนั้น HCl เปนคูกรดของเบส Cl- ION ลบของกรดที่มี H อยูจะทําหนาที่เปนไดทั้งกรด – เบส

3. นิยามกรดเบสของลิววิส กรดคือสารที่รับอิเล็กตรอนมา เบสคือสารที่ใหสารอื่นยืมอิเล็กตรอน H H+ + NH3 NH4

+ H N H H

4. กรดแก , กรดออน

HA HA H+ H+ A- A- HA สารละลาย สารละลาย

5. ตามปกติความเขมขนของกรด , เบสที่นอยกวา 1.0 M จะบอกหรือกําหนดคาความเปนกรด , เบสดวย คา pH pH 1 7 14 6. สารที่ใชตรวจสอบคา pH ของสารละลาย เรียกวา Indicator ที่สําคัญคือ

Indicator สีของสารละลาย ชวง pH สีของสารละลาย Methyl orangre (MO) Bromthymol blue(BB) Litmus Phenolphthalein(PP)

แดง เหลือง แดง ไมมีสี

31. – 4.4 6.0 – 7.6 4.5 – 8.3 8.3 - 10

เหลือง น้ําเงิน น้ําเงิน แดง

กลาง

Page 38: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

38

M1V1 1000

M2V2 1000

มวลเปนกรัม มวลโมเลกุล

% 100

[H+] Co

7. คา pH ของกรดเบส

กรด เบส กรดแก : [H+] = Co mol/dm3 เบสแก : [OH-] = Co mol/dm3 กรดออน เบสออน [H+] = √ CoKa [OH-] = √ CoKa ( Co = ความเขมขนเดิม ) สูตร คา pH = - log[H+] และ pOH = - log[OH-] ถา [H+][OH-] = 10-14 จะไดวา pH + pOH = 14 เพื่อความสะดวก กําหนดคา [H+] = 1 x 10-pH mol/dm3 เชน 0.01 M = 1 x 10-2 M [H+] = A + 10-B mol/dm3 แลว pH = B – log A เชน [H+] = 2 x 10-3 mol/dm3 แลว pH = 3 – log 2

8. เปรียบเทียบกรด หรือเบสที่มี Co เทากัน จะไดวา กรดใด ๆ ที่ให [H+] มาก ความแรงของกรดจะมาก Ka จะมากแต pH จะต่ํา

และ [H+] หาไดจาก

1. = = 2. pH 3. √ CoKa 4. เปอรเซนตการแตกตัว : = 9. หาปริมาณความเขมขนหรือสาร โดยการไทเทรต 10. สารละลายบัฟเฟอร หมายถึงสารละลายผสมระหวาง

1. กรดออน + เกลือของกรดออน ( HA + AH ) 2. เบสออน + เกลือของเบสออน ( HOH + HA )

11. ไฮโดรไลซิสของเกลือ หมายถึง เกลือที่ละลายน้ําไดสารละลายมีฤทธิ์กรดหรือเบส เกลือที่ละลายน้ําไดดี หมายถึงเกลือของสารประกอบหมู I ( Li , Na , K ) , NH4

+ , NO3-

Page 39: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

39

12. เกลือที่ไมละลายน้ําหรือตกตะกอน หมายถึงเกลือของหมู IV : (CO3

2-) หมู V (PO43-)

หมู VI (O2-) , S2- , SO32- , OH- และ SO4

2- ของ Pb2+ , SO42- ของหมู II (ยกเวน MgSO4)

หมู VII ( Cl- , Br- , I- , ของ Ag+ , Hg22+ และ Pb2+

ตัวอยางขอสอบ 1. ขอแตกตางระหวาง HCl กับ HC2H3O2 คือ

1. สารแรกมี H นอยกวาสารที่สอง 2. สารที่สองแตกตัวให H+ มากกวาสารแรก 3. สารแรกแตกตัวไดมาก 4. สารที่สองแตกตัวไดมากกวา

หลัก HCl เปนกรดแก HC2H3O2 = CH3COOH เปนกรดออน ตอบ ขอ 3

2. ขอใดที่สารทุกตัวเปนกรดออน 1. HF HNO2 HCOOH HBr HCN 2. HCN HI H2S HCOOH HF 3. HBr HCN HF HI HNO2 4. HCOOH HNO2 H2S HCN H2SO3

หลัก ถามกรดออน ตามหากรดแก ไดแก หมู VII HCl HBr HI HClO4 ตอบ ขอ 4 3. ขอใดเปนคูเบสของกรดตอไปนี้ตามลําดับ HCO3

- H2PO4- HSO3

- 1. CO3

- HPO42- SO3

2- 2. H2CO3 HPO4

2- H2SO3 3. CO3

2- H3PO4 SO32-

4. H2CO3 HPO42- SO3

2- หลัก คูเบสของกรดใด ๆ จะมี H ลดลงเพราะเบสรับ H+ มา

ตอบ ขอ 1

4. pH ของสารละลายในขอใดต่ําสุด 1. HI เขมขน 1 x 10-2 mol/dm3

Page 40: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

40

2. HCOOH 0.5 M มี Ka = 1.8 x 10-4 3. CH3COOH 0.18 M มี Ka = 1.8 x 10-5 4. C6H5COOH 0.65 M มี Ka = 6.5 x 10-5 หลัก กรดใดที่มีคา Ka มากจะมี pH ตํ่าสุดหาไดจาก [H+] = √ CoKa ตอบ ขอ 2 5. สารละลาย HNO2 0.2 M 20 cm3 ( Ka = 5.0 x 10-4 ) จะมี pH แตกตาง จากสารละลาย CH3COOH 0.056 M 10 cm3 ( Ka = 1.8 x 10-5 ) อยูเทาใด

1. 0.25 2. 0.55 3. 1.00 4. 2.00 หลัก [H+] ของ HNO2 = √ 0.2 x 5 x 10-4 = 10-2 M [H+] ของ CH3COOH = √ 0.056 x 1.8 x 10-5 = 10-3 M ตอบ ขอ 3

6. เกลือทุกตัวในขอใดละลายน้ําแลว จะเปลี่ยนสีกระดาษลิทมัสจากสีน้ําเงินเปนสีแดง 1. NH4NO3 NaHSO4 2. NH4Cl HCOONa 3. NaHS CH3COONa 4. KNO2 NaHCO3 หลัก เกลือ + น้ํา ไดสารละลายมีฤทธิ์กรด เพราะเปลี่ยนกระดาษลิทมัสจากน้ําเงินเปนแดงตามหาอนุมูลของกรดแก ตอบ ขอ 1 7. ถาหยด phenolphalein ลงในสารละลาย A จะไดสีแดง ถาหยดลงในสารละลาย B จะไมมีสี แสดงวา 1. A เปนเบส B เปนกรด 2. pH ของสารละลาย A และสารละลาย B ไมเทากัน

3. A และ B ทําปฏิกิริยาสะเทินได 4. A เปนกรด B เปนเบส

หลัก อินดิเคเตอร เปนสารใชทดสอบ pH ของสารละลายเทานั้น ตอบ ขอ 2 8. เมื่อผสมสารละลายกรดอาซีติก 0.2 M จํานวน 10 cm3 กับสารละลาย NaOH 0.1 M 10 cm3 เขาดวยกัน สารที่

ไดจะมีสมบัติอยางไร 1. สารละลายบัฟเฟอรที่มี pH ตํ่ากวา 7 2. สารละลายบัฟเฟอรที่มี pH สูงกวา 7 3. สารละลายมี pH เทากับ 7 4. สารละลายที่ประกอบดวยเกลือ CH3COONa เพียงอยางเดี่ยว

หลัก กรดอะซิติก = CH3COOH เปนกรดออน NaOH เปนเบสแก CH3COOH + NaOH CH3COONa + H2O M 0.2 0.1 V 10 10

Page 41: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

41

ตอบ ขอ 1 9. เมื่อนําสารละลาย X มาเติมอินดิเคเตอรชนิดตาง ๆ ไดผลดังนี้

อินดิเคเตอร ชวง pH การเปลี่ยนแปลง สีของสารละลาย x ในอินดิเคเตอร ฟนอลฟทาลีน เมธิลเรด

โบรโมไธมอลบูล ฟนอลเรด

เมธิลออเลนจ

8.3 – 10.4 4.4 – 6.0 6.0 – 7.6 6.7 – 8.3 3.1 – 4.4

ไมมีสี – แดง แดง – เหลือง เหลือง – น้ําเงิน เหลือง - แดง แดง – เหลือง

ไมมีสี เหลือง เขียว สม

สีอะไร

สารละลาย X จะมี pH โดยประมาณเทาใด และถาหยดเมธิลออเรนจ 2 หยดลงในสารละลาย X ปริมาตร 10 cm3 จะไดสีอะไร

1. 7.6 – 8.3 สีแดง 2. 6.0 – 7.6 สีสม 3. 6.7 – 7.6 สีเหลือง 4. 6.7 – 8.3 สีเหลือง หลัก ดูการเปลี่ยนสีของสารละลายที่มี pH ตํ่าสุด ตอบ ขอ 2 10. การทดสอบสมบัติของสารละลายเขมขน 0.1 mol/dm3 ไดขอมูลดังนี้ สารละลาย ความสวางของหลอดไฟ ปฏิกิริยากับ Mg ปฏิกิริยากับ NaHCO3 การเปลี่ยนสีลิทมัส

A B C D

มากที่สุด มากที่สุด

สวางปานกลาง มากที่สุด

เกิดแกส H2 ไมเกิด ไมเกิด ไมเกิด

เกิดแกส ตะกอนขาว

ไมเกิดแกสและตะกอน ไมเกิดแกสและตะกอน

น้ําเงิน สีแดง แดง สีน้ําเงิน แดง สีน้ําเงิน

ไมเปลี่ยนสี สาร A B C และ D คืออะไรตามลําดับ

1. กรดไนตริก โซเดียมคลอไรด น้ําปูนใส โซเดียมอะซีเตต 2. กรดไฮโดรคลอริก น้ําปูนใส โซเดียมอะซีเตต โซเดียมคลอไรด 3. กรดซัลฟูริก โซเดียมอะซีเตต น้ําปูนใส โซเดียมคลอไรด 4. กรดไฮโดรคลอริก น้ําปูนใส โซเดียมอะซีเตต แอลกอฮอล

หลัก สารที่แตกตัวเปนไอออนมาก ๆ จะนําไฟฟาไดดี สาร A ที่กําหนดใหเปนกรดแก กรดแกทําปฏิกิริยากับ Mg ใหแกสและ NaHCO3 ใหแกส CO2 ตอบ ขอ 2

Page 42: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

42

11. นํา Na2S2O3 . 5 H2O มา 3.10 กรัม มาละลายน้ํา ทําเปนสารละลายไดปริมาตร 250 mL แลวผานแกส Cl2 ลงไปมาเกินพอจนเกิดปฏิกิริยาอยางสมบูรณ กําจัด Cl2(g) ที่เหลือโดยใช N2(g) แลวนําสารละลายนี้มา 25 mL ไปทดลองไดดังนี้

1.) ตองใช KOH(aq) เขมขน 1.0 M 12.5 cm3 จึงจะสะเทินพอดี 2.) ตองใช Ag(NO3)(aq) เขมขน 1.0 M 10.0 cm3 จึงจะทําใหเกิดตะกอนไดอยางสมบูรณ 3.) ตองใช BaCl2(aq) จํานวนหนึ่งจึงจะเกิดตะกอนสีขาวที่ไมละลายในกรดมีมวล 0.583 กรัม ใหเขียนสมการของปฏิกิริยา Na2S2O3 กับ Cl2(g) ไดผลิตภัณฑใดบาง อยางละเทาใด

12. สารละลายกรดอินทรียออนโมโนโปรติกจํานวนหนึ่งทําปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH 10.0 cm3 จะไดสารละลายที่มี pH = 4 เมื่อเติม NaOH(aq) ลงไปอีกจนมีปริมาตรรวมเปน 22.0 cm3 พบวาสารละลายเปนกลางพอดี สารละลายกรดนี้มีคา Ka เทากับเทาใด

8 ไฟฟาเคมี

ศึกษาเกี่ยวกับ

1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชัน ( Redox ) ตองทราบ 1. เลขออกซิเดชัน ( Oxidation number or state ) เรียกสั้น ๆ วา Ox No 2. สมการออกซิเดชัน รีดักชัน พรอมดุล

2. เซลกัลวานิค ตองทราบ 1. ปฏิกิริยาครึ่งเซลที่เกิดขึ้น ณ ขั้วแคโทด , ขั้วแอโนด 2. การคํานวณศักยไฟฟา

3. เซลอิเล็กโตรไลติก ตองทราบ 1. สมการที่เกิดขึ้น ณ ขั้วแคโทด ขั้วแอโนด 2. คํานวณปริมาณของธาตุที่ไดจากแยกธาตุออกจากสารประกอบ 4. เซลใชงาน 1. เซลสะสมแบบตะกั่ว 2. เซลถานไฟฉาย 3. เซลอัลคาไลท 4. เซลปรอท 5. เซลเงิน 6. เซลนิคแคท 7. เซลเชื้อเพลิง 8. เซลโพรเพน

เลขออกซิเดชัน Ox No หลัก - ธาตุเดี่ยวอยูคนเดียวมีคา Ox No = 0 - อยูกับธาตุอื่นไมบวกก็ลบขึ้นอยูกับคา En En ของโลหะ < En ของ H = 2.1 < En ของอโลหะ I , II , III IV , V , VI , VII ตัวอยาง 1 ) 2NaH + 2H2O 2NaOH + H2 H- H+ H0

Page 43: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

43

Mg(s) + CuSO4(aq) MgSO4 + Cu Mg0 Cu2+ Mg2+ Cu0 ตัวอยาง 2 ) 2MnO4

- + 3NO2- + H2O 2MnO2 + 3NO3

- + 2OH- Mn + 4(O-2) = -1 , Mn = +2 x 4 – 1 = +7 MnO2 = 0 , Mn = +2 x 2 = +4 ตัวอยาง 3 ) NH4

+ + H2O NH3 + H3O+ NH4

+ , N + 4H = +1 , N = -3 NH3 , N + 3H = 0 , N = -3

ศักยไฟฟามาตรฐานที่ควรจํา 1. F2(g) + 2e- 2F-(aq) E° = +2.87 V 2. 2H+(aq) + 2e- H2(g) E° = 0 V 3. Li+(aq) + e Li(s) E° = -3.05 V - คา E° ของ F2 หมู VII สูงสุด และ E° ของ Li หมู I ตํ่าสุด - ตัวรีดิวซ ไดแก โลหะกับไอออนลบ ตัวออกซิไดซ ไดแก อโลหะ กับ ไอออนบวก เซลลกัลเวนิก (Galvanic cell)

Pb(s) Pb2+(aq) + 2e- Oxidation

Anode ( - )

Ag+(aq) + e- Ag(s) Reduction Cathode

( + )

Page 44: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

44

เซลลอิเล็กโทรไลติก (Electrolytic cell)

Cu2+(aq) + 2e- Cu(s) Reduction Cathode

( - )

2I-(aq) I2(aq) + 2e- Oxidation

Anode ( + )

ตัวอยางขอสอบ 1. aKIO3 + bKI + cH2SO4 dKI3 + eK2SO4 + fH2O ขอใดผิด 1. 3a + 4c = 4e + f 2. c = e = f 3. a + b = 3d 4. a + b = d + e หลัก ปริมาณทุกธาตุในสารตั้งตน = ปริมาณทุกธาตุในผลิตภัณฑ พิจารณาจํานวน K กอน K : a + b = d + e I : a + b = 3d O : 3a + 4c = 4e + f H : 2c = 2f ตอบ ขอ 4 2. ปฏิกิริยาใดตอไปนี้เปนปฏิกิริยารีดอกซ 1. CO2(s) CO2(g) 2. CS2(l) + 3Cl2(g) CCl4(l) + S2Cl2(l) 3. CH3COOH + C2H5OH CH3COOC2H5 + H2O 4. CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) หลัก ถามปฏิกิริยา redox ตามหาธาตุเดี่ยว

Page 45: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

45

ตอบ ขอ 2 3. สมการใดทั้งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และรีดักชันเกิดขึ้นในโมเลกุลเดียวกัน 1. NH4Cl(aq) + AgNO3(aq) NH4NO3(aq) + AgCl(s) 2. 2Na(s) + 2H2O(l) 2NaOH(aq) + H2(g) 3. C2H5OH(l) + 3O2(g) 2CO2(g) + 3H2O(l) 4. 2KOH(aq) + Cl2(aq) KclO(aq) + KCl(aq) + H2O(l) หลัก ตามหาอะตอมของธาตุหนึ่งเกิดสารใหมได 2 สาร 2KOH + Cl2 KClO + KCl + H2O Cl0 Cl+1 Cl- ตอบ ขอ 4 ขอมูลตอไปนี้ ใชประกอบการตอบคําถามขอ 4 – 5

1. โซเดียมทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้ํา ในขณะที่สังกะสีไมทําปฏิกิริยากับน้ํา 2. แผนสังกะสีทําปฏิกิริยากับกรด HCl เจือจางเร็วกวาแผนเหล็ก 3. แทง คอปเปอร จุมลงในสารละลายซิลเวอรไนเตรทเกิดสีน้ําเงินติดแทงทองแดงและสารละลายเปนสีฟาออน 4. ใสผงเหล็กในสารละลายคอปเปอร (II) ซัลเฟต เกิดสีสมหุมผงเหล็ก

การเรียงลําดับธาตุตามคาวมสามารถเปนตัวรีดิวซจากมากไปหานอยเปนไปตามขอใด ก. Zn Na Fe Cu Ag ข. Ag Cu Fe Zn Na ค. Na Fe Zn Ag Cu ง. Na Zn Fe Cu Ag

หลัก ธาตุหมู I alkali เปนโลหะที่มีคา E ตํ่าสุดจึงใหอิเล็กตรอนงายคือเปนตัวรีดิวซดีที่สุด สวนธาตุ Ag Au Pt Cu ใหอิเล็กตรอนยากสุดและระหวางธาตุทั้งสี่นี้ Cu ใหอิเล็กตรอนงายสุด ตอบ ขอ ง 5. การสรางเซลไฟฟาเคมี เหล็ก - ทองแดง

ก. อิเล็กตรอนไหลจากเหล็กไปยังทองแดง ข. เหล็กเปนแคโทด ค. ตัวรีดิวซคือทองแดง ง. คาศักยไฟฟามาตรฐานครึ่งเซล Cu | Cu2+ นอยกวา Fe | Fe2+

หลัก จากขอ 4 ที่โจทยกําหนดให ใสผงเหล็กในสารละลาย คอปเปอร(II)ซัลเฟต เกิดสีสมหุมผงเหล็กหมายความวา Fe(s) + CuSO4 FeSO4 + Cu(s) หรือ Fe(s) + Cu2+(aq) Fe2+(aq) + Cu(s) หรือ Fe Fe2+ + 2e- , Cu2+ + 2e- Cu(s) ตอบ ขอ ก

Page 46: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

46

6. กําหนดคาศักยไฟฟามาตรฐานของครึ่งเซลที่ 25C ใหดังนี้ X+ + e- X E° = -0.22 V Y+ + e- Y E° = -0.18 V ผลการทดลองตอไปนี้ขอใดถูกตอง 1. เมื่อจุมโลหะ Y ลงในภาชนะบรรจุ XCl(aq) จะมีโลหะ X มาเกาะที่แทง Y 2. เมื่อจุมโลหะ X ลงในภาชนะบรรจุ YCl(aq) จะไมเห็นการเปลี่ยนแปลงใด ๆ 3. เมื่อจุมโลหะ Y ลงในภาชนะบรรจุ HCl(aq) จะมีแกส H2 เกิดขึ้น 4. เมื่อจุมโลหะ X ลงในภาชนะบรรจุ HCl(aq) จะไมเห็นการเปลี่ยนแปลง หลัก โจทยให E° ของครึ่งเซลเปนลบ แสดงวา โลหะ X , Y ทําปฏิกิริยากับ H+ ไดเพราะ E° ของ H+ = 0 V ตอบ ขอ 3 7. นํา 2 ครึ่งเซล Co| Co2+ กับ Cl2 | HCl , E° = 1.36 V มาตอกัน จะไดผลตางคาศักยไฟฟาเซลเปน +1.63 V ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นภายในเซลไฟฟาเคมีคือ ขอใด 1. Co + Cl2 2Cl- + Co2+ 2. Co + 2Cl- Cl2 + Co2+ 3. Co2+ + 2Cl- Co + Cl2 4. Co2+ + Cl 2Cl- + Co หลัก ตองรูวา Co เปนโลหะ และ โลหะ + อโลหะ เกิดปฏิกิริยาไดเพราะผลตางศักยไฟฟาเปน +1.63 V Co + Cl2 2Cl- + Co2+ 0 0 -1 +2 +เพิ่ม +ลด ตอบ ขอ 1 8. การชุบชอน Zn ดวย Ag โดยใช Na[Ag(CN)2](aq) เปนอิเล็กโตรไลตจะใชอะไรเปนแอโนด แคโทด 1. ชอน Zn เปนแอโนด Ag เปนแคโทด 2. ชอน Zn เปนแคโทด Ag เปนแอโนด 3. ชอน Zn เปนทั้งแอโนดและแคโทด 4. ชอนเงินเปนทั้งแอโนดและแคโทด

Page 47: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

47

ชุบดวย Ag ของที่จะชุบ

หลัก ในเซล

ตอบ ขอ 2 9. จากปฏิกิริยาของเซลไฟฟา 2Fe3+(aq) + Sn(s) 2Fe2+(aq) + Sn2+(aq) แผนภาพของเซล คือ 1. Pt | Fe3+ . Fe2+ | | Sn2+ | Sn 2. Sn | Sn2+ | | Fe2+ | Fe 3. Sn | Sn2+ | | Fe3+ | Fe 4. Sn | Sn2+ | | Fe3+ , Fe2+ | Pt หลัก จากแผนภาพ ขางหนา “ | |” ตองเปน anode หรือปฏิกิริยาออกซิเดชัน (ให e) ตอบ ขอ 4 10. การอุดฟนดวยโลหะผสม Ag-Hg และใชอะลูมิเนียมเปนครอบฟน อาจเกิดอาการเสียวฟน เนื่องจากมีกระแสไฟฟาเกิด

ขึ้น ทั้งนี้มีการเปลี่ยนแปลงของอะลูมิเนียนเปน Al3+ โดย O2 จากน้ําลาย ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเปนไปตามขอใด 1. Al + O2 + 4 H+ Al3+ + 2 H2O 2. 2Al + 3O2 + 12 H+ 2 Al3+ + 6 H2O 3. 3Al + O2 + 4 H+ 3 Al3+ + 2 H2O 4. 4Al + 3O2 + 12 H+ 4Al3+ + 2 H2O

ตอบ ขอ 2 11. การวิเคราะหปริมาณกรดออกซาลิก (H2C2O4) จะไทเทรตดวยสารละลาย KMnO4 ในกรด H2SO4 ดังสมการ

a H2C2O4 + b KMnO4 + c H+ d Mn2+ + eH2O + fCO2 ขอใดถูก 1. ที่จุดสมมูลจะเกิดแกส CO2 8 mol ตอ H2C2O4 1 mol 2. ในสมการที่ดุล สัดสวนของจํานวนโมลของ H2C2O4/ MnO4

- = 1:2 3. ถาตองการใหเกิด CO2 4.4 กรัมตองใช H2C2O4 อยางนอย 4.5 กรัม

Ag+ (CN)2]-

Page 48: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

48

4. ปฏิกิริยานี้กรด H2SO4 เปนตัวรีดิวซ MnO4- ใหได Mn2+

12. พิจารณาปฏิกิริยา ClO3- + I2 + H2O IO3- + H+ + Cl- (สมการยังไมดุล) จํานวนอิเล็กตรอนที่เกี่ยวของกับ

1 โมเลกุลของสารตั้งตนในครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันเปนเทาใด 1. มากกวา 2 แตไมเกิน 9 2. มากกวา 9 แตไมเกิน 12 3. มากกวา 12 แตไมเกิน 20 4. มากกวา 20

13. พิจารณาปฏิกิริยา Cr(OH)3 + ClO- + OH- CrO4

2- + Cl- + H2O (สมการยังไมดุล) จะตองใช NaOCl ก่ีกรัม เพื่อทําปฏิกิริยาพอดีกับ Cr(OH)3 1 mol 1. 74.5 2. 77.2 3. 111.8 4. 223.5

9 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 1. การถลุงแร ตองรูจักการเลื่อกแร การลางและการยางแร การถลุงและการทําแรใหบริสุทธิ์

1) เลือกแรท่ีเหมาะสม คือ แรที่มีปริมาณโลหะที่ตองการมากพอ และตองถลุงงายดวย ไดแก - เหล็ก Fe ใช แรฮีโมไทต (FeO3) - ทองแดง Cu ใช แรคาลโคไพไรท (CuFeS2) - ดีบุก Sn ใชแรแคสซิเทอไรต (SnO2) - พลวง Sb ใชแร 2 ชนิด คือ

1. แรสติปไนต Sb2S3 เรียกวาพลวงเงิน 2. แรสติปโคไนต Sb2O4nH2O เรียกวาพลวงทอง

- Zn – Cd ใชแร สฟาเลอไรต มีสาร ZnS - Ta – Nb ใชตะกรันดีบุก - Zr ใชแรเซอรคอน ZrSiO4 2) ลางและยางแร เพื่อกําจัดสารปนเปอนเชน หิน ดิน ทรายและยางแร เพื่อเปลี่ยนสารประกอบของโลหะที่

ตองการใหเปนออกไซด 3) ถลุงแร ในสารพิษ สวนมากจะเปนเตาเปาลมรอนเขาไป โดยมี ถานโคกเปนเชื้อเพลิงสวนประกอบของวัตถุ

ดิบที่ใชเผา เชน แรที่ลางและยางแลว + ถานโคก + เช้ือถลุง 4) นําไปทําใหบริสุทธ์ิ มี 2 วิธี

1.\แยกดวยกระแสไฟฟา 2. เผาเปนสวนๆ ดวยกระแสไฟฟา

2. อุตสาหกรรมเซรามิกส เซรามิกส คือ วัตถุและภาชนะตางๆ ที่ทําจากดิน หรือที่ไดจากดิน นําไปเปนรูปทรงตามตองการ และทําใหคงรุปโดยการเผา เชนเครื่องปนดินเผา แกว วัสดุทนไฟ เครื่องสุขภัณฑตางๆ วัตถุดิบจําพวกหิน แร ไดแก ดินขาว หินปู ดินเหนียว เฟลดสปารทัลด เซอรโคเนียมออกไซด โซเดียมซิลิเกต ซิงคออกไซด

Page 49: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

49

นอกจากนี้ ยังใชสารอนินทรียที่มีสมบัติทนความรอน ทนตอปฏิกิริยาเคมี และมีสมบัติทางไฟฟาเปนพิเศษ มาทําเซรามิกสและทําใหมีสีสรรสวยงาม จะใชสีเคลือบใหมีคุณภาพสูงขึ้น

ปจจุบัน ใชเซรามิกสเปนประโยชนในการทํา 1. ฉนวนไฟฟา 2. แผนและวงจรรวม (IC) 3. แผนซิลิคอนใชสรางเซลสุริยะ 4. ตัวถังรถยนต เพื่อใหมีน้ําหนักเบาและแข็งแรง ทนสารเคมี

3. อุตสาหกรรมการผลิตและการใชประโยชนจาก NaCl การผลิต NaCl มี 2 วิธี

1. ผลิตจากน้ําทะเล เรียกวา เกลือสมุทร 2. ผลิตจากดินปนเกลือ เรียกวา เกลือสินเธาว

NaCl ใชเปนวัตถุดิบในการผลิต NaOH และ Cl2 ดวยวิธี Electolysis หรือ “วิธีแยกธาตุดวยกระแสไฟฟา” 4. อุตสาหกรรมทําปุย ปุยมี 2 ประเภท

1) ปุยอินทรีย 2) ปุยอนินทรีย หรือ “ปุยวิทยาศาสตร”

ปุยอินทรียไดจากซากสิ่งมีชีวิต เชน ปุยหมัก ปุยคอก ไดจากมูลสัตว ปุยวิทยาศาสตร หรือ ปุยอนินทรีย มี 2 ชนิด คือ

1) ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต (NH4)2SO4 O

ปุยยูเรีย NH2 – C – NH2 วัตถุดิบของปุย (NH4)2SO4 คือ NH3 , H2SO4 วัตถุดิบของปุย Urea คือ NH3 , CO2

ปฏิกิริยา เตรียมปุย (NH4)2SO4 คือ 2NH3 + H2SO4 (NH4)2SO4 ปฏิกิริยา เตรียมปุย Urea คือ O CO2 + 2NH3 NH2 – C – NH2 + H2O ตัวอยางขอสอบ 1. จงเลือกขอที่เมื่อเติมลงในชองวางจะไดตารางขอมูลที่สมบูรณที่สุด

ธาตุ ช่ือแร ประโยชน พลวง (ก) ตัวพิมพโลหะ (ข) (ค) ชุบโลหะ โลหะผสม เซอรโคเนียม เซอรคอน (ง)

Page 50: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

50

(ก) (ข) (ค) (ง) 1. สติบไนต สังกะสี สฟาเลอไรต เซรามิกซทนไฟ 2. เฮมิมอรไฟต ดีบุก แคสสิเทอไรต อุปกรอิเล็กทรอนิกส 3. สติบิโคไนต สังกะสี เฮมิมอรไฟต เซลสุริยะ 4. สติบไนต แทนทาลัม ตะกรันดีบุก ช้ินสวนเครื่องยนตไอพนและจรวด

2. พิจารณาคุณภาพน้ําทิ้งกอนปรับปรุงคุณภาพและมาตรการปรับปรุงคุณภาพน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม A-C ดังตอ

ไปนี้ โรงงาน BOD DO pH มาตรการปรับปรุงคุณภาพน้ําทิ้ง

A 1 5 7.5 ไมจําเปนตองปรับปรุง B 10 2 6 เติมออกซิเจน C 200 1 12 เติมออกซิเจนและปรับ pH

จงระบุวามาตรการปรับปรุงคุณภาพน้ําทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรมใดยังไมเหมาะสม และตองทําอยางไรจึงจะเพียงพอ

โรงงานที่ยังปรับปรุงไมเหมาะสม สิ่งที่ตองทําเพิ่มเติม 1. B ปรับ pH 2. A เติมออกซิเจน 3. C กําจัดสารอินทรีย 4. A เพิ่ม BOD

3. ในการเตรียมปุย (NH4)2SO4 ยูเรีย มีสารเคมี ที่เปนสารตั้งตนที่สําคัญ คือ CO , CO2 , NH3 , H2 ใหพิจารณาวา สาร

ใดตอไปนี้ไมใชผลิตภัณฑที่ไดจากกาซธรรมชาติเปนสารตั้งตน 1. N2 2. CO 3. CO2 4. NH3

4. การผลิตปุยยูเรีย และ (NH4)2SO4 ใชหลักการทางวิทยาศาสตรในขั้นตอนใด 1. การแยก H2 ออกจาก CO2 2. การกลั่นลําดับสวนอากาศเหลว 3. การใช N: เปนตัวเรงปฏิกิริยาระหวาง CH4(g) กับไอน้ํา 4. ถูกทั้ง 1, 2, และ 3

5. โซดาแอช เปนสารเคมี มีสูตรอยางไร 1. Na2O 2. NaHCO3 3. Na2CO3 4. NaOH

Page 51: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

51

เรียกวา Cyclo …….

6. สารละลายของโซดาแอช ควรมีสมบัติอยางไร 1. มีฤทธิ์กรด 2. มีฤทธิ์เบส 3. มีฤทธิ์กลาง 4. ขอมูลมีไมเพียงพอ

10 เคมีอินทรีย

สารประกอบของ C มี 2 ประเภท 1. C + H เรียกวา สารประกอบไฮโดรคารบอน มี 2 ชนิด

1. Aliphatic 2. Aromatic

2. C + หมู ฟงกชัน ไดแก Alcohol Ether ester กรดอินทรีย Aldehyde Ketone amine และ amide

Aliphatic compound เปนสารประกอบระหวาง C กับ H โดย C ตอ C ไดดังนี้ C – C – C – C เสนตรง C – C – C ก่ิง C – C C C – C C ตอ C มีพันธะตอกันไดดังนี้ C – C พันธะเดี่ยว มีความยาวพันธะมากที่สุด พลังงานพันธะต่ําสุด ≈ 300 kJ C = C พันธะคู มีความยาวพันธะปานกลาง พลังงานพันธะปานกลาง ≈ 600 kJ C ≡ C พันธะสาม มีความยาวสั้นที่สุด พลังงานพันธะมากสุด ≈ 900 kJ สารประกอบ Aliphatic ไดแก Alkane = 2+ alkene -2 = alkyne CnH2n+2 CnH2n CnH2n-2

(CH2)n ( C – C – C ) C = C – C C≡ C – C ( 1 ) ( 2 ) ( 3 ) และ C ตอ C เปนวงเชน

C CC

CC C

CC

CC

C

Page 52: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

52

การทดสอบดวย Br2/CCl4 ชนิดของไฮโดรคารบอน การเผาไหม ในที่มืด ในที่สวาง

การทดสอบดวย KMnO4

แอลเคน (HBr(g)) แอลคีน แอลไคน แอโรมาติก *

* + ผงเหล็ก Fe(s) สามารถเกิดปฏิกิริยาแทนที่ได ( HBr(g)) สมบัติทางกายภาพของสารประกอบ aliphatic 1. C1 – C4 เปนกาซ C5 – C13 เปนของเหลว C14 เปนของแข็ง 2. จุดเดือด จุดหลอมเหลว 2.1 จํานวน C ตอ C มาก จะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวมาก เชน CH4(-161°C) CH3OH(65°C) HCOOH(101°C) C2H6(-88°C) C2H5OH(78°C) CH3COOH(118°C) bp (°C) จํานวน C

2.2 C ตอ C มีก่ิงมาก จุดเดือดจุดหลอมเหลวจะต่ํา เชน

C – C – C -11.7°C C – C – C – C -0.5°C C

C C – C – C 9°C C – C – C – C 28°C C – C – C – C – C 36°C C C

2.3 ถาจํานวน C เทากัน จะพบวา จุดเดือด จุดหลอมเหลว มีดังนี้ C2H4 –103°C < C2H6 –88°C < C2H2 –83°C

Cn

Page 53: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

53

ไอโซเมอรของสารประกอบไฮโดรคารบอน มีดังนี้ จํานวนไอโซเมอร alkane alkene alkyne

C4 C5 C6

2 3 5

3 5 7

2 3 13

หมายเหตุ อัลคีนเปนไอโซเมอรกับไซโคลอัลเคน ได สมบัติทางเคมีการเผาไหม ไฮโดรคารบอนทําปฏิกิริยากับ O2 อยางสมบูรณจะได CO2 กับ H2O ดังสมการ CxHy + O2 xCO2 + y/2 H2O O ( สารตั้งตน ) = O ( ผลิตภัณฑ ) = (2X + y/2)1/2 = X + y/4 การเผาสารไฮโดรคารบอนทั้ง 3 ชนิดคือ alkane ( อิ่มตัว ) alkene และ alkyne เปนสารไมอิ่มตัวพบวา ธาตุ O จะรวมกับ H เกิด H2O กอนจน H หมดแลว ‘O’ จึงจะรวมกับ C เปน CO2 ( ขณะ ‘O’ รวมกับ H อาจเกิด O รวมกับ C ให CO ได ) ดังนั้น ในการเผาสารตอนแรก ๆ จะเกิดเขมาได ดังนั้น สารอิ่มตัวกับสารไมอิ่มตัวจะแตกตางกัน คือ

1. การเกิดเขมา ( สารไมอิ่มตัว ) 2. การใชพลังงานมากในการเผาสารไมอิ่มตัว

ตัวอยางขอสอบ

1. ขอความใดตอไปนี้ ถูกตองยกเวน 1. ไฮโดรคารบอน เปนกาซ 2. ไฮโดรคารบอนมีพันธะโคเวเลนต 3. ไฮโดรคารบอนสันดาปไดดี 4. สารประกอบไอโดรคารบอนเปนสารอินทรียที่มีในธรรมชาติ

ตอบ ขอ 1 เพราะวา สารประกอบไฮโดรคารบอน มีทั้ง 3 สถานะ

2. สารอินทรีย เมื่อนําไปเผาผลที่ไดไมถูกตอง 1. C3H8 เผาแลวไมใหเขมา แต C3H6 ให 2. C3H8 เผาแลวใหเขมา แต C3H6 ไมให 3. C4H8 เผาแลวใหเขมา แต C4H10 ไมให 4. C2H2 เผาแลวใหเขมา แต C2H6 ไมให

หลัก C3H8 = CnH2n+2 เปน C – C เปนสารอิ่มตัว เผาไมใหเขมา ตอบ ขอ 2

Page 54: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

54

3. สารอินทรียอิ่มตัวชนิดหนึ่งประกอบดวยธาตุ 3 ธาตุ จากการวิเคราะหพบวามีคารบอนและไฮโดรเจนเปน 35.29 % และ 5.88 % ตามลําดับ ที่เหลือเปนธาตุเฮโลเจน สูตรเอมพิริกัลและสูตรโมเลกุลที่เปนไปไดของสารนี้เปนไปตามขอใด

สูตรเอมพิริกัล สูตรโมเลกุล 1) C4H8Br C4H8Br 2) C4H8Br C8H16Br2 3) C4H8I C4H8I 4) C4H8I C8H16I2

4. สารไฮโดรคารบอนใด เมื่อเผาไหมสมบูรณจะใชปริมาตรของออกซิเจนเปนสองเทาของปริมาตรของน้ําที่ได

1. C4H8 2. C6H8 3. C8H8 4. C10H8

หลัก C6H8 + O2 6CO2 + 4H2O 8O2 = 16(O) 12(O) + 4(O) จะเปน C6H8 + 8O2 6CO2 + 4H2O ตอบ ขอ 2 5. สาร A สูตรโมเลกุล C8H14 พิจารณาสารประกอบตอไปนี้

ก. ไชโคลแอลเคน ข. ไชโคลแอลเคน 2 วงติมกัน ค. ไชโคลแอลคีน ง. วงของไชโคลแอนเคน และไชโคลแอลคีนติดกัน จ. สารประกอบแอลไคน ฉ. สารประกอบอโรมาติก

สาร A อาจเปนสารประกอบใดไดบาง 1. ฉ. เทานั้น 2. ก. ง. และ จ. 3. ก. ข. และ จ. 4. ข. ค. และ จ. หลัก A มีสูตร C8H14 มีสูตรทั่วไป CnH2n-2 แสดงวา ตองเปน alkyne หรือ cycloalkene ตอบ ขอ 4 (2.) ไฮโดรคารบอนทําปฏิกิริยากับสารละลาย Br2/CCl4 สําหรับสารอิ่มตัว (alkane) จะเกิดปฏิกิริยาแทนที่ไมใชรวมตัว

โดยมีแสงชวยจึงจะเกิดปฏิกิริยา และไดผลิตภัณฑ 2 ชนิด เชน

Page 55: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

55

Mr 22.4

2.5 1

แสง

C6H14 + Br2 C6H13Br + HCl ไฮโดรคารบอนชนิดสารไมอิ่มตัว (alkene และ alkyne ) จะเกิดปฏิกิริยารวมตัว ไมใชแทนที่จะเกิดไดทั้งในที่มืด สวางหรือไมกําหนด เชน C6H10 + Br2 C6H12 + Br C6H14 C≡ C – C C = C – C ( C – C ) หรือ ( Cyclohexene ) สวนสาร Aromatic เชน C6H6 เบนซีน C10H8 แนพทาลีน จะเกิดปฏิกิริยาแทนที่ โดยมีคะตะไลทชวย ( เหมือน alkyne ) แตการเผาไหมจะใหเขมา ( เหมือน alkene , alkyne ) (3.) สารไมอิ่มตัว เชน alkene เกิดปฏิกิริยากับสารละลาย KMnO4 หรือฟอกสีสารละลาย KMnO4 ได glycol (มีหมู OH ตอกับ Carbon 2 หมู) 6. สารอินทรียมี 2 ชนิดคือ A และ B เปนกาซประกอบดวย C 85.7% และ H 14.3% และปริมาตรของกาซ 1 ลิตร

ที่ STP มีมวล 2.5 กรัม ถากาซ A ฟอกสีสารละลายดางทับทิมได สวน B ไมฟอกสีดางทับทิม กาซ A และ B จะมีพันธะในโมเลกุลตามลําดับดังนี้ 1. C = C และ C ≡ C 2. C - C และ C = C 3. C ≡ C และ C = C 4. C = C และ C - C

หลัก พันธะเดี่ยวเปนวง จะเปนไอโซเมอรกับเสนตรงพันธะคู A ฟอกสี KMnO4 ได แสดงวา A เปนสารไมอิ่มตัว B ไมฟอกสี KMnO4 แสดงวา B เปนสารอิ่มตัว หรือพิจารณาจาก กาซทั้ง 2 1 ลิตร ที่ STP = (2.5) g 22.4 ลิตร = (Mr) g (Mr = มวลโมเลกุล)

∴ = , Mr = 22.4 x 2.5 = 56 = C4H8 C – C –

(เสนตรง) C – C – C = C – C – C – (เปนวง) ( C ≡ C ) (C – C) ตอบ ขอ 4

Page 56: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

56

7. สารประกอบ C6H13Br เกิดไอโซเมอรได 3 ไอโซเมอร ไฮโดรคารบอนของสารประกอบนี้มีโมเลกุลเปน C6H14 จะมีสูตรโครงสรางดังขอใด

CH3 CH2

C(CH3)3CH3 CH

CH(CH3)2

CH3

(H3C)2HC (CH2)2 CH3 CH3 CH2

CH

CH2

CH3

CH3

1) 2)

3) 4)

8. (ขอ 31 ENT’48/1) ไฮโดรคารบอน Y มีสูตรโมเลกุล C6H14 เมื่อทําปฏิกิริยากับกาซคลอรีนในที่มีแสงใหผลิตภัณฑ

C6H13Cl ขอใดเปนโครงสรางของ Y ที่ทําใหไดผลิตภัณฑซึ่งเปนไอโซเมอรกันจํานวนมากที่สุด

1. 2.

3.4.

9. สาร A ทําปฏิกิริยากับสารละลาย KMnO4 ไดสารประกอบ B ซึ่งมีสูตร C7H14O2 สาร A ควรเปนสารใดตอไปนี้

1. C7H16 2. C7H12 3. C7H10 4. C7H14

หลัก เพราะวา A + KMnO4(aq) C7H14O2 ไกลคอล มี OH 2 หมู

ตอบ ขอ 2

10. เบนซีน 1 mol ทําปฏิกิริยาพอดีกับไฮโดเจน 2 mol ไดสารประกอบ X ซึ่งทําปฏิกิริยากับ Br2/CCl4 ไดทั้งที่มืดและสวาง เมื่อนําสาร X มาออกซิไดซดวยสารละลาย KMnO4 จะไดสารประกอบที่มีสูตร C6H12O2 สารประกอบ X มีก่ีไอโซเมอร 1. 1 2. 3 3. 5 4. 6

หลัก เบนซีนมีสูตร C6H6 เมื่อ C6H6 + 2H2 C6H10(X) C6H10 + KMnO4 C6H12O2

(X) (glycol) แสดงวา X เปน Cyclohexene + KMnO4 ( X )

OH

OH

Page 57: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

57

ตอบ ขอ 1

สารประกอบที่มีหมูฟงกชัน 1. แอลกอฮอล R’ OH 2. อีเทอร R – O – R’ O 3. กรดอินทรีย R – C –OH 4. เอสเทอร RCOOR’ O O 5. อัลดีไฮด R – C – H 6. คีโตน R – C – R’ O 7. อมีน R – NH2 8. อะไมด R – C – NH2

สรุป 1. ความเปนกรด : กรดอินทรีย >> แอลกอฮอล (กรดอินทรียทดสอบไดดวยลิตมัส) การทดสอบความเปนกรด

สารทดสอบ Na(s) (ดู H2(g)) NaOH (aq) NaHCO3 (aq) (ดู CO2(g)) แอลกอฮอล กรดอินทรีย เอสเทอร

2. การละลายน้ํา (พันธะไฮโดรเจน) : กรดอินทรีย > แอลกอฮอล > เอมีน แอลดีไฮด คีโตน เอสเทอร>>> HC

สารประกอบ CH3COOH CH3CH2OH CH3CHO HCOOCH3 CH3OCH3 CH3CH3 จุดเดือด (° C) 118 78.5 21.0 31.5 -24.9 - 88.6

3. สารที่มีฤทธิ์เปนเบส : เอมีน 4. ปฏิกิริยาเอสเทอริฟเคชัน (esterification): กรดอินทรีย + แอลกอฮอล เอสเทอร + น้ํา

(ปฏิกิริยายอนกลับเรียก “ไฮโดรไลซิส (hydrolysis)”)

R C OH

O

R C OR'

O

H2O R'OHH+

5. ปฏิกิริยาการเตรียมเอไมด : กรดอินทรีย + เอมีน เอไมด + น้ํา (ปฏิกิริยายอนกลับเรียก

“ไฮโดรไลซิส”)

R C

O

OH R'NH2 R C

O

NHR' H2O ตัวอยางขอสอบ 1. สารคูใดมีสมบัติทางเคมีและกายภาพคลายคลึงกันมากที่สุด

Page 58: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

58

1 ) CH3CH2CH2CH2CH2CH3 และ

CH3CH2CH2CH2C CH2 ) และ

3 ) CH3CH2OCH2CH3 และ CH3CH2CHCH3

OH

4 ) CH3 C

O

OCH2CH3 และ CH3CH2CH2 C OH

O

2. (ขอ 34 ENT’48/1) พิวเทรสซินเปนสารที่พบในปลาซึ่งทําใหปลามีกลิ่นคาว มีสูตรโครงสรางแบบยอคือ

NH2(CH2)4NH2 ในการรับประทานปลาดิบนิยมบีบมะนาว ซึ่งมีกรดซิตริกเพื่อลดคาวปลา สารที่เกิดจากปฏิกิริยาระหวางพิวเทรสซินและกรดซิตริกมีโครงสรางตามขอใด

HOOC CH2 C

OH

CH2COOH

COOH กรดซิตริก

1. 2.

3. 4.

HOOC CH2 C

OH

CH2COOH

COO- H3N+CH2CH2CH2CH2NH2

HOOC CH2 C

NHCH2CH2CH2CH2NH2

CH2COOH

COOH

HOOC CH2 CO- H3N+CH2CH2CH2CH2NH2

CH2COOH

COOH

HOOC CH2 C

OH

CH2COONHCH2CH2CH2CH2NH2

COOH 3. สาร X และ Y มีสูตรโมเลกุล C5H8O2 เหมือนกัน ทําการทดสอบไดผลดังตาราง

รีเอเจนต สาร โลหะ Na NaHCO3(aq) Br2/CCl4 สารละลายเบเนดิกต X ไมเกิด ไมเกิด ฟอกสีอยางรวดเร็ว ไมเกิด Y ไมเกิด ไมเกิด ไมเกิด เกิดตะกอนสีแดงอิฐ

ขอใดควรเปนสูตรโครงสรางของสาร X และสาร Y ตามลําดับ OH

O

O CHO

O OMeO

O

O

OMe O O

O OMe O CHO

1)

2)

3)

4)

Page 59: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

59

4. จากกราฟเปรียบเทียบการละลายน้ําและจุดเดือดของสารอินทรีย a b และ c นาจะเปนสารใดตามลําดับ

a b c

1) CH3CH2CH2CH2OH, CH3CH2CH2CHO, CH3CH2CH2COOH 2) CH3CH2CH2COOH, CH3CH2CH2CH2OH, CH3CH2CH2CHO 3) CH3(CH2)3OH, CH3(CH2)4OH, CH3(CH2)5OH 4) CH3(CH2)5OH, CH3(CH2)4OH, CH3(CH2)4OH

5. พิจารณาสมบัติของสาร A, B, C และ D ดังตอไปนี้

สาร จุดเดือด (° C)

การละลาย ในน้ํา การเผาไหม

การทําปฏิกิริยา กับ Na

การเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัส

การทําปฏิกิริยากับสารละลาย Br2 ในที่สวาง

A 77 ละลายไดดี ติดไฟ มีเขมา ไมเกิดปฏิกิริยา ไมเปลี่ยนสี ไมเปลี่ยนสี B 78 ละลายไดดี ติดไฟ ไมมีเขมา เกิดปฏิกิริยา ไมเปลี่ยนสี ไมเปลี่ยนสี C 83 ไมละลาย ติดไฟ มีเขมา ไมเกิดปฏิกิริยา ไมเปลี่ยนสี เปลี่ยนเปนไมมีสี D 118 ละลายไดดี ไมติดไฟ เกิดปฏิกิริยา เปลี่ยนสีจากน้ําเงินเปนแดง ไมเปลี่ยนสี

สาร A, B, C และ D อาจเปนสารใดตามลําดับ 1. เอทานอล เอทิลแอซีเตต ไซโคลเฮกซีน กรดแอซีติก 2. เอทานอล เอทิลแอซีเตต กรดแอซีติก ไซโคลเฮกซีน 3. เอทิลแอซีเตต เอทานอล กรดแอซีติก ไซโคลเฮกซีน 4. เอทิลแอซีเตต เอทานอล ไซโคลเฮกซีน กรดแอซีติก 6. (ขอ 35 ENT’48/1) พิจารณาขอมูลตอไปนี้

สารที่ใชทดสอบและผลของปฏิกิริยา สาร การละลายน้ําและการ

นําไฟฟา โลหะโซเดียม NaHCO3 Br2 ในที่สวาง Br2 ในที่มืด ก ละลายได นําไฟฟา เกิดฟองกาซ เกิดฟองกาซ ฟอกสี ฟอกสี ข ละลายได ไมนําไฟฟา เกิดฟองกาซ ไมเกิดฟองกาซ ไมฟอกสี ไมฟอกสี ค ไมละลาย ไมนําไฟฟา ไมเกิดฟองกาซ ไมเกิดฟองกาซ ฟอกสี ฟอกสี

ขอใดเปนสารประกอบ ก ข และค ตามลําดับ

จุดเดือด

อุณหภูมิ (oC)

การละลายน้ํา

การละลาย (g/100 cm3)

Page 60: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

60

1.

2.

3.

4.

CH2 CHCOOH CH3CH2CH2OH CH2 CH CH CH2

CH3CH2COOH CH2 CHCH2OH CH3CH2CH2CH3

CH3CH2CH2OH CH3CH2COOH CH2CH3

CH2 CHCOOH CH3CH2CH2COOH CH CH2

7. (ขอ 33 ENT’48/1) ฟนอลฟทาลีนเปนอินดิเคเตอรที่ใชกันแพรหลาย มีสูตรโครงสรางดังนี้

O

HO

OH

O

นําสารละลายฟนอลฟทาลีนไปตมกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดที่มากเกินพอ ผลิตภัณฑที่ไดมีโครงสรางแบบใด

1. 2.

3. 4.

ONa

HO

OH

O

HO

OH

O

OH H

HO

OH

O

OH ONa

HO

OH

O

ONa

8. สาร X มีสูตรโมเลกุล C9H10O3 ทําปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH แลวแยกสวนที่เปนเกลือมาทําใหเปนกรดดวย

สารละลาย HCl ไดสาร y ซึ่งเปนของแข็ง สาร y 1 โมลทําปฏิกิริยาพอดีกับ Na 2 โมล ให H2 1โมล และถาทําปฏิกิริยากับ NaHCO3 1 โมล จะให CO2 1 โมล เชนกัน สาร X คืออะไร

Page 61: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

61

C

O

OCH2CH3

OH

C

O

OCH3

OCH3

C

O

OH

OCH2CH3

C

O

OCH2CH2CH3

1. 2.

3. 4.

หลัก 1) สาร x + NaOH y(s) 2) y(s) + 2Na H2 3) y(s) + NaHCO3 CO3 จาก (1) แสดงวา x อาจเปน กรดอินทรียและ ester จาก (2) แสดงวา y อาจเปน กรดอินทรียหรือ alcohol จาก (3) แสดงวา y เปนกรด ดังนั้น y มีทั้งหมู - OH และ - COOH ตอบ ขอ 1 9. ของผสมชนิดหนึ่งประกอบดวยสาร ก., ข. และ ค. (มีสูตรโครงสรางดังแสดง) ละลายอยูในอีเทอร

สาร ก. สาร ข. สาร ค.

CH3COOH OH

นําสารละลายอีเทอรนี้ไปสกัดดวยตัวทําละลายดังตาราง ผลการสกัดในขอใดถูกตอง

สิ่งที่ไดจากการสกัด ตัวทําละลาย ช้ันอีเทอร ช้ันน้ํา 1) 10 % NaHCO3 ข. และ ค. ก. 2) NaCl อิ่มตัว ก. และ ค. ข. 3) 10 % NaOH ก. และ ข. ค. 4) น้ํา ข. ก. และ ค.

Page 62: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

62

10 ผลิตภัณฑปโตรเคมี 1. น้ํามันเบนซินที่มีคาออกเทนเทากับ 90 หมายความวา น้ํามันนั้นมีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับเชื้อเพลิงที่มีองค

ประกอบอยางไร 1. ไอโซออกเทน 90 % และเฮปเทน 10% โดยมวล 2. เอปเทน 90% และไอโซออกเทน 10% โดยมวล 3. ไอโซออกเทน 90% และเตตระเอธิลเลด 10% โดยมวล 4. เอปเทน 90% และ เตตระเอธิลเลด 10% โดยมวล

หลัก คาออกเทน = 90% หมายถึง น้ํามันที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับ น้ํามันที่ประกอบดวย ไอโซออกเทน = 90% + เฮปเทน = 10% ตอบ ขอ 1

(เชน Nylon, Polyester)

พอลิเมอไรเซชัน มอนอเมอร (สารบริสุทธิ์)

แกสเชื้อเพลิง (ของผสม)

แบบเติม แบบควบแนน แกสธรรมชาติ น้ํามันดิบ

ปโตรเลียม

ผลิตภัณฑปโตรเคม ี

พอลิเมอร

แยกโดยการกลั่นลําดับสวน (เชน PE , PP , PVC)

ผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่น (จาก bp ตํ่า สูง) แกส <แนฟทาเบา<แนฟทาหนัก(เบนซีน)<น้ํามักกาด<ดีเซล <หลอล่ืน<น้ํามันเตา<ยางมะตอย

กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ํามัน - ขนาดโมเลกุลเล็กลง : การแตกตัว - ขนาดโมเลกุลเทาเดิม : รีฟอรมิง - ขนาดโมเลกุลใหญขึ้น : แอลคิเลชัน , โอลิโกเมอไรเซชัน

การวัดคุณภาพน้ํามัน - เบนซิน คาออกเทน (C8) : isooctane = 100, heptane = 0 - ดีเซล คาซีเทน (C16) : cetane = 100, α - methylnaphthalene = 0

ชนิดของพอลิเมอร : - Thermoplastic หลอมใหมได

โครงสรางเปนโซตรง/โซก่ิง - Thermosetting หลอมใหมไมได

โครงสรางเปนรางแห

Page 63: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

63

2. การทําน้ํามันดิบใหบริสุทธิ์ในอุตสาหกรรมปโตรเคมีใชหลักเกณฑทางเคมีแบบใด 1. ความแตกตางของความสามารถในการละลายในตัวทําละลายขององคประกอบตาง ๆ ในน้ํามันดิบ 2. ความแตกตางของน้ําหนักโมเลกุลขององคประกอบตาง ๆ ในน้ํามันดิบ 3. ความแตกตางของความวองไวตอปฏิกิริยาเคมี 4. ความแตกตางของจุดเดือด

หลัก น้ํามันดิบ ( ปโตรเลียม ) มีสวนผสมเปนของเหลว ตอบ ขอ 4 3. (Ent’48 ขอ 37) ปฏิกิริยาใดตอไปนี้เปนปฏิกิริยารีฟอรมิงสําหรับปรับปรุงคุณภาพน้ํามัน

1.

2.

3.

4.

CH3CH CH2 CH3CH(CH3)2H2SO4

CH3CHCH2CHCH3

CH3 CH3

CH3(CH2)4CH3

catalystheat

catalystCH3CH3 CH2 CH2 CH3CH CH2

CH3(CH2)3CH CH2

H2/Pt

4. ตัวอยางของพอลิเมอรในขอใดถูกทั้งหมด

โคพอลิเมอร ฮอโมพอลิเมอร พอลิเมอรธรรมชาติ

1 2 3 4

เอนไซม เจลลติน สําลี

ยางพารา

ไนลอน พีวีซี

พอลิไอโซปรีน พอลิเอทิลีน

ไหม มุก นุน ฝาย

หลัก เอนไซม เปนโปรตีนชนิดหนึ่ง ดังนั้นมอนอเมอรของมันคือ กรดอะมิโน สําลี มีมอนอเมอร คือ กลูโคส ยางพารา มีมอนอเมอร คือ ไฮโซปรีน ตอบ ขอ 1 5. ขอความเกี่ยวกับพอลิเมอรซึ่งมีโครงสรางดังนี้

C

O

C O CH2CH2 O

O

n ก) เปนโคพอลิเมอรแบบเสน

Page 64: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

64

ข) จัดอยูในกลุมพอลีเอสเทอร

ค) สามารถสังเคราะหไดจากการควบแนนของเอทิลีนกับกรดเทเรพทาลิก ( COOH HOOC ) ขอใดถูก 1) ก. และ ข. เทานั้น 2) ข. และ ค. เทานั้น 3) ก. และ ค. เทานั้น 4) ก., ข. และ ค. 6. (Ent’48 ขอ 39)

n

O

O

OO

n

n Cln

A B

C D ขอใดถูก

พอลิเมอร ชนิด ปฏิกิริยาการเกิด 1. A โฮโมพอลิเมอร การควบแนน 2. B โคพอลิเมอร การเติม 3. C โคพอลิเมอร การเติม 4. D โฮโมพอลิเมอร การควบแนน

7. ซิลิโคนเปนพอลิเมอรสังเคราะหที่มีขนาดโมเลกุลใหญ มีโครงสรางและสมบัติที่แตกตางกัน ตามวัตถุประสงคของ

การใชงาน ถาซิลิโคนชนิดหนึ่งมีโครงสรางดังนี้

Si

CH3

O Si O Si

CH3 CH3

O

O

Si

CH3 CH3

O Si O Si OOSi

CH3 CH3CH3

CH3 CH3 CH3 CH3 ซิลิโคนชนิดนี้สามารถจัดจําแนกเปนประเภทใด ก) โฮโมพอลเเมอร ข) โคพอลิเมอร ค) พอลิเมอรแบบโซตรง ง) พอลิเมอรแบบโซก่ิง จ) พอลิเมอรแบบรางแห 1. ก และ ค 2. ก และ ง 3. ข และ ง 4. ข และ จ ตอบ ขอ 4

Page 65: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

65

: ไตรกลีเซอไรด (เอสเทอร)

:กรดอินทรียที่มีหมู แอลคิลยาว ๆ

กรดอะมิโน(amino acids)

: ลดพลังงาน กอกัมมันต

-มอนอแซ็คคาไรด -โอลิโกแซ็คคาไรด

ไดแซ็คคาไรด อื่น ๆ (3 – 10 หนวย)

11 สารชีวโมเลกุล

สารชีวโมเลกุล (biomolecules) NaOH ไขมันและน้ํามัน กรดไขมัน โปรตีน เอนไซม คารโบไฮเดรต (Fats & Oils) (Fatty acids) (Proteins) (Enzymes) (Carbohydrates) กลีเซอรอล + สบู Esterifcation NaOH

กลีเซอรอล 1 โมเลกุล เกลือโซเดียมของ +กรดไขมัน 3 โมเลกุล กรดไขมัน = สบู -พอลีแซ็คคาไรด

รีเอเจนตที่ใช รีเอเจนตที่ใช ทดสอบ : ทดสอบ : (ไบยูเรต) -เบเนดิกต CuSO4 + NaOH -สารละลาย ไอโอดีน

(ทดสอบแปง)

ตัวอยางขอสอบ *** การทดสอบชีวโมเลกุลตางๆ ***

ชนิดของชีวโมเลกุล รีเอเจนต สิ่งที่สังเกตเห็น ความไมอ่ิมตัวของไขมัน/น้ํามัน Br2 หรือ I2 (ทดสอบพันธะคู) การฟอกจางสี เพปไตด/โปรตีน (+ เอไมด) CuSO4 (aq) + NaOH สารละลายเปลี่ยนจากสีฟาเปนสีมวง

น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว (+ แอลดีไฮด, α-ไฮดรอกซีคีโตน)

สารละลาย Benedict (มี Cu2+ อยูดวย) เกิดตะกอนสีแดงอิฐ (Cu2O)

แปง ***** สารละลายไอโอดีน สารละลายเปลี่ยนเปนสีน้ําเงินเขม

ไดเพปไตด ไตรเพปไตด พอลีเพปไตด โปรตีน

เบเนดิกต = CuSO4 + Na2CO3 + Sodium Citrate

OH

OH

OH

CHOO

n

mCHOO

CHOO

o

O

O

O

C

C

C

O

O

O

o

m

n

3 H2O

ธาตุปริมาณนอยที่จําเปนสําหรับชีวิตพืชและสัตว ธาตุที่เปนองคประกอบสวนใหญของสิ่งมีชีวิต ธาตุปริมาณนอยที่อาจเปนที่ตองการสําหรับสิ่งมีชีวิตบางชนิด

Page 66: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

66

1. ขอมูลที่เกี่ยวของกับไขมันตอไปนี้ ขอใดไมถูกตอง 1. เมื่อไฮโดรไลซกรดไขมันจะได กลีเซอรอล ไขมัน และน้ํา 2. กรดไขมันไมอิ่มตัวหมายถึงกรดไขมันที่มีพันธะคูอยูในโมเลกุล 3. สบูที่ไดจากการทําปฏิกิริยาสะปอนนิฟเคชัน ( saponification ) ของกรดไขมันก็คือเกลือโซเดียมของกรดไข

มันนั่นเอง 4. ขอ 1. และ 3.

หลัก ไฮโดรไลซิสไขมัน จะได กลีเซอรอล เตรียมสบูจากไขมัน ตอบ ขอ 4 2. สารในขอใดที่ไมใชกรดอะมิโนจากโปรตีน

1) HOOC CH CH2

CH2HNCH2

H2N C

O

CH2 CH NH2

COOH

2)

3) H2N CH CH2

COOH

CH2 COOH

4) H2N CH2 CH2 CH2 CH2 CH CH2 NH2

COOH

3. ปฏิกิริยาในขอใดจัดวาเปนปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของสารประเภทคารโบไฮเดรต 1. กลูโคส + กาแลกโตส + น้ํา แลกโตส 2. ไกลโคเจน + น้ํา แปง 3. กลูโคส + ฟรุกโตส ซูโครส + น้ํา 4. แปง + น้ํา ไกลโคเจน + กลูโคส หลัก ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสเปนปฏิกิริยา ที่สาร + น้ําแลวใหสารใหม โมเลกุลเล็กลง ตอบ ขอ 4 4. ขอใดมีสารที่เกี่ยวของและสอดคลองกับสารละลายตอไปนี้ครบทุกสาร

สารละลายเบเนดิกต สารละลาย CuSO4 ในเบส สารละลายไอโอดีน สารละลาย NaOH

1. 1. ซุปไกสกัด รังนกนางแอน มันสําปะหลัง น้ํามันงา 2. 2. น้ําผึ้ง สารละลายไขดาว น้ําบุกสกัด ไขปลาวาฬ 3. 3. น้ําเชื่อม นมถั่วเหลือง เจลาติน กะทิ 4. 4. กลูโคส อัลบูมิน เซลลูโลส น้ํามันปลา

Page 67: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

67

CuSO4 NaOH

สารละลาย เบเนดิกต

สารละลาย I2

หลัก สารละลายที่กําหนดใหใชเปนสารใชทดสอบ ตอบ ขอ 2 5. จากสารประกอบซึ่งมีสูตรตอไปนี้

O O O O CH2 – C – NH2

NH2 – CH2 – C – NH – CH – C – NH – CH – C – NH – CH – C – OH CH3 CH2– CH2– COOH O ขอใดใหขอมูลไมถูกตอง

1. เปนสารประกอบเพปไทดที่มีกรดอะมิโนแตกตางกัน 4 ชนิด 2. เปนสารประกอบเพปไทดที่ประกอบดวยกรดอะมิโน 5 โมเลกุล 3. เปนสารประกอบเพปไทดที่ละลายในสารละลายเบสไดดีกวาในสารละลายกรด 4. มีขอที่ใหขอมูลไมถูกตองมากกวาหนึ่งขอ

หลัก ตองรูเรื่อง Polypeptide ประกอบดวย พันธะ Peptide ตอบ ขอ 2 6. เอนไซมเปนสารประเภทโปรตีนที่สามารถเรงปฏิกิริยาไดโดย

1. ชวยลดพลังงานของสารตั้งตน 2. ทําใหสารตั้งตนเขาชนกันในทิศทางที่เหมาะสม 3. ชวยเพิ่มอุณหภูมิของระบบใหสูงขึ้น 4. ชวยปองกันไมใหโปรตีนแปลงสภาพ ( Denaturation )

หลัก ตองรูวา Enzyne ทําหนาที่ Catalyst ตอบ ขอ 2 7. ในการทดลองเพื่อทดสอบสาร A , B และ C ไดผลดังนี้

สาร A ไดสารสีมวงน้ําเงิน สาร B ไดตะกอนสีแดงอิฐ สาร C ไมเปลี่ยนแปลง

Page 68: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

68

สาร A , B และ C นาจะเปนสารใดตามลําดับ 1. โปรตีน แปง น้ําตาลทราย 2. กรดอะมิโน น้ําตาลทราย ไขขาว 3. น้ํานมถั่วเหลือง กลูโคส น้ําตาลทราย 4. ไขขาว อะเชตาลดีไฮด แปง หลัก สาร A เปนโปรตีน สาร B เปนคารโบไฮเดรต สาร C ไมใชแปง O ( สาร B เปน คารโบไฮเดรตที่มีหมู – C – H หรือ CH2 – C = O อยู ) O OH กลูโคสมีหมู C – H (aldehyde) ตอบ ขอ 3 8. พิจารณากรดไขมันตอไปนี้

ก. CH3(CH2)3 – CH = CH – (CH2)7COOH ข. CH3(CH2)16COOH ค. CH3(CH2)7CH = CH – (CH2)7COOH ง. CH3(CH2)4CH = CH - CH2 – CH = CH – (CH2)7COOH

กรดไขมันขอใดที่รวมกับ glycerol แลวใหไขมันที่มีสถานะเปนของเหลว(น้ํามัน)ที่อุณหภูมิหอง 1. ข 2. ก , ค เทานั้น 3. ง เทานั้น 4. ก , ค และ ง หลัก น้ํามันเปนของเหลวเปนสารประกอบ ester ระหวางกรดไขมันที่ไมอิ่มตัวกับ glycerol ตอบ ขอ 4 9. กําหนดโครงสรางของกรดอัลฟาอะมิโน ดังตอไปนี้

ไกลซีน = H2N – CH2 – COOH อะลานีน = H2N – CH – COOH

CH3 เวลีน = H2N – CH – COOH CH CH3 CH3 ในการสังเคราะหไตรเปปไทด วิธีหนึ่ง มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 เวลีนทําปฏิกิริยากับเรซินที่มีหมูฟงกชันเปนคารบอกซิล ขั้นที่ 2 เรซินที่ไดจากขั้นที่ 1 ทําปฏิกิริยากับอะลานัน ขั้นที่ 3 เรซินที่ไดจากขั้นที่ 2 ทําปฏิกิริยากับไกลซีน ขั้นที่ 4 เรซินที่ไดจากขั้นที่ 3 ทําปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสจําเพาะที่ เพื่อแยกเรซินออกจากไตรเปปไทด

Page 69: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

69

ไตรเปปไทดที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะหดวยวิธีขางตน ควรมีสูตรโครงสรางอยางไร HOOC CH2 HNOC CH HNOC CH NH2

CH3 CHH3C CH3

1.

H2N CH2 CONH CH CONH CH COOH

CH3 CHH3C CH3

2.

3. HOOC CH HNOC CH HNOC CH NH2

CH3 CH3CHH3C CH3

H2N CH CONH CH CONH CH COOH

CH3 CH3CHH3C CH3

4.

หลักการ การสังเคราะหบนวัฏภาคของแข็ง (solid phase synthesis) ขั้นที่ 1

COOH H2N CH

CHH3C CH3

COOH C COOH

CH3H3C

CH

CHNH

O

ขั้นที่ 2

C COOH

CH3H3C

CH

CHNH

O

H2N CH COOH

CH3

C C

CH3H3C

CH

CHNH

O

COOH CHNH

O

CH3

ขั้นที่ 3

H2N CH2 COOH C C

CH3H3C

CH

CHNH

O

COOH CHNH

O

CH3

C C

CH3H3C

CH

CHNH

O

C CHNH

O

CH3

COOH CH2NH

O

ขั้นที่ 4

C C

CH3H3C

CH

CHNH

O

C CHNH

O

CH3

COOH CH2NH

Ohydrolysis

C

CH3H3C

CH

CHH2N C CHNH

O

CH3

COOH CH2NH

O

10. (Ent’48/1 ขอ 38) สตัลลิมัยซินเปนสารแอนติไบโอติกและตานไวรัส ไดจากเชื้อสเตร็บโตมัยซิน มีโครงสรางดังรูป

N

CH3 O

N

H

N

CH3 O

N

H

C

NH

NH2

HCONH

CH3

H

N

ON

ขอใดเปนผลิตภัณฑที่ไดจากปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของสตัลลิมัยซิน

Page 70: เคมีเรื่องอตอม

เอกสารประกอบการสอนโครงการ“สรุปเขม โคงสุดทาย…ปลายทางเอ็นทรานซ” หนา วิชาเคม ี รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและ รศ. ดร. บัญชา พูลโภคา

เอกสารประกอบการบรรยายนี้ เปนลิขสิทธ์ิของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเทานั้น

70

1.

CH3

N CONH2HCONH2 CH3CH2 C

NH

NH2

H2NCH2CH2 C

NH

NH2 HCOOH

CH3

N COOH

H2N

2. 3

3

33.

CH3

N

HCONH

HCONHCH2CH2 C

NH

NH2

HOOCCH2CH2 C

NH

NH2

CH3

N

HCONH

NH24. 3


Recommended