+ All Categories
Home > Health & Medicine > หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

Date post: 02-Jul-2015
Category:
Upload: suradet-sriangkoon
View: 463 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
12
Transcript
Page 1: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
Page 2: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ
Page 3: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๑. อย่าปลงใจเชื่อ ตามที่ฟงัๆ กันมา ค าว่า การไดย้ินมาว่า คือการที่เราได้ยินว่าที่นั่นท าแบบนั้นที่นั่นท าแบบนี้

ประสบความส าเร็จแบบนั้น ประสบความส าเร็จแบบนี้ น่ันคือสิ่งที่เราได้ยิน

แต่การปฏิบัตอิาจเป็นอีกเรื่องหนึ่ง การพัฒนาคุณภาพแนวทางอีกหนึ่งอย่างที่

เราน ามาใช้คือการที่เราได้ยินว่าเพื่อนท าอะไรไดด้ีแล้วแสวงหามา ถอด

บทเรียน (มิใช่ Copy) จากสิ่งที่เพื่อนท าได้ดี มาปรับใช้เป็นของตนเอง แต่ทว่าการน ามาใช้อาจต้องทบทวนว่าสิ่งที่น ามานั้นเป็นบริบทของเราหรือไม่

เพราะหลายครั้งสิ่งที่เพื่อนเป็น กับส่ิงที่เราเป็น

นั้นไม่เหมือนกัน ท าให้การพัฒนาเป็นความทุกข์

และเป็นภาระในที่สุด

Page 4: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๒.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถอืสืบๆ กันมา สิ่งนี้เราเรียกว่าความคุ้นชินในการปฏิบัตคิรับ นั่นคือปฏิบัติกันมาอย่างไร ฉันก็จะปฏิบัติของฉันอย่างนั้น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง หรือปรับเปลี่ยนวิธีการ

ท างานเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีกว่า ย่อมจะเกิดแรงต้านของบคุลากรที่มีลักษณะ

แบบนี้ สิ่งนี้อาจต้องมีการพูดคยุร่วมกัน และบอกเล่าให้เห็นความส าคัญและ

ประโยชน์ของการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ว่าจะส่งผลดีอย่างไรให้กับผู้รับบริการ

และตัวของผู้ปฏิบัติเอง แต่การเปลี่ยนแปลงใดๆ ผมขอให้ยึดหลักอยู่ 4 ข้อคือ ง่าย มัน ดี มีสุข ถ้าท าได้ดั่งนี้ การเปลี่ยนแปลงก็จะเป็นที่ยอมรับของทุก

ฝ่ายครับ

Page 5: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๓.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ

เสียงลือ เสียงเล่าอ้างอันใดพี่เอย (ผมจ าได้เท่านี้ครับ) ค าเล่า ค าลือ จะเป็นพรายกระซิบหรือเทวดากระซิบก็แล้วแตว่่าจะเป็นทางร้ายหรือทางดี

บ่อยครั้งเรามักได้ยินเสียงค าเล่าลือว่าองค์กรเราเป็นแบบน้ัน เป็นแบบน้ี ถ้า

ดีเรากด็ีใจ แต่ถ้าเป็นทางไม่ดี แน่นอนว่าเราก็เสียใจ แต่อยากบอกว่า การ

พัฒนาคุณภาพไม่มีผิด และไม่มีถูก ทุกอย่างขึ้นอยู่กับบริบทของเราใน

ขณะน้ัน การพัฒนาของเราอาจดูแล้วไม่เข้าท่าในสายตาผู้อื่น แต่เข้าท่าใน

บริบทของเรา สิ่งนี้ไม่ผิด เพียงแต่การพัฒนานั้นสามารถตอบค าถามเหล่านี้

ได้หรือไม่ คือดีต่อองค์กร ดีต่อตวัเรา และดี

ต่อผูร้ับบริการ ถ้าครบ 3 ดี กพ็ัฒนา ต่อไปเถอะครับเพราะท่านเดินมาถูกทางแล้ว

ครับ

Page 6: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๔.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างต าราหรือคัมภีร ์ เอกสารหรอืต าราคือสิ่งที่เราใช้ในการศึกษา เพ่ือหาแง่มุมในการที่เราจะน าไปพัฒนา ซึ้งในเอกสารและต ารานั้นย่อมมีเน้ือหาที่คลอบคลุม และกิน

ความที่กว้างขวางสามารถน าไปปรับใช้ได้ทุกขนาดขององค์กร แต่ดว้ยขึ้นชื่อว่า

เป็นหนังสือหรือต าราที่ออกโดยส านักนั้น สถาบันน้ี เราจึงเชื่อว่านี่คือคัมภีร์

ศักดิ์สิทธิ์ที่ท าให้ส าเร็จสมความมุ่งหมาย จึงเชื่อในทุกสิ่งที่ต าราได้เขียนเอาไว้

แล้วน ามาสู่การปฏิบัติ บางสิ่งที่เรามีเราก็ปฏิบัติอย่างสบาย

ใจ ในสิ่งที่เราไม่มีก็พยายามหรือก่อตั้งขึ้นให้เหมือนกับที่

หนังสือบอก สุดท้ายมาในสิ่งที่เราไม่มีกลายเป็นภาระใน

ปฏิบัติ เพราะอะไร ก็เพราะเราไม่ได้มองบริบทของเรา

ว่าจ าเป็นแค่ไหนในการน ามาใช้ นั่นคือไม่ไดพ้ิจารณาก่อน

ก่อนที่จะน ามาปฏิบัติว่าคือฉันหรือไม่ ?

Page 7: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

ค าว่าตรรกะ ในที่นี้หมายถึงการคาดเดาครับ แน่นอนว่าการพัฒนาคุณภาพ

เราต้องยึดหลักข้อเท็จจริง หรือ Management by Fact ในการใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเราต้องให้การดูแลเรื่องสุขภาพ และ

โรคภัยไข้เจ็บของผู้รับบริการ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เรามาใช้จึงเป็นข้อมูลที่

มิใช่เกิดจากการคาดเดาเอาเอง ว่าเป็นแบบนั้นหรือเป็นแบบนี้ เพราะถ้าเราใช้

ข้อมูลที่เดาเอาเอง แล้วอะไรคือข้อเท็จจริงที่ผู้รับบริการจะได้รับ และอะไรจะ

เกิดขึ้นบ้าง ก็ยากที่จะคาดเดา ดังนั้นจึงต้องยึดด้วยข้อมูลที่เป็นจริง เพราะนั่น

จะท าให้เรารู้ว่าตอนนี้เราอยู่ส่วนใดของการพัฒนา

คุณภาพ

๕.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะตรรกะ

Page 8: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๖.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะอนมุาน

การอนุมานก็คือการคาดคะเนครับ ซึ้งก็คล้ายๆกับการคาดเดา

นั่นเอง เพียงแต่การคาดคะเนนัน้เรายังมีสิ่งที่น ามาคาดคะเนได้ ผิด

กับการคาดเดาคือไม่มีอะไรเลย แต่ไม่ว่าจะเป็นแบบใด ก็มใิช่

วิถีทางแห่งการพัฒนาคุณภาพ เพราะล้วนแต่มิได้อาศัย สิ่งที่เป็น

ความจริง มาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาครับ

Page 9: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๗.อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล

เราทุกคนมเีหตุผลในการตดัสินใจสิ่งใดๆดว้ยกันทั้งนั้นครับ ส่ิงนี้ก็ขึ้นอยู่กับ

ประสบการณ์และความรู้ที่ตนมีอยู่ จึงท าให้เกิดกรณีหลายต่อหลายครั้งว่าท าไม

จึงตัดสินใจแบบน้ีและอาจมีค าต่อว่า ต่อขานตามมาต่อการกระท าที่เกิดขึ้น จึง

เป็นที่มาของการพัฒนาคุณภาพ เพ่ือจัดวางระบบ และก าหนดแนวทางในการ

ปฏิบัติงานเพ่ือให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่ออะไรหรือครับ ก็เพ่ือมิให้เจ้าหน้าที่

หรือบุคลากรใช้เหตุผลของตนเองในการตัดสินใจ หรือใช้ให้น้อยที่สุด

เพราะการตดัสินใจด้วยเหตุผลนั้นย่อมมีความผิด

พลาดเกิดขึ้นได้ง่าย เพราะนั่นอาจมิใช่มาตรฐาน

หรือความปลอดภัยที่ผู้ป่วยไดร้ับที่แท้จริงครับ

Page 10: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๘.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้าได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว สิ่งนี้เราเรียกว่าความเชื่อมั่นในตนเองครับ การเช่ือมั่นในตนเองนั้นเป็นส่ิงที่

ดี เพราะนั่นจะท าให้เรามีความมั่นใจในสิ่งที่เราจะท า แต่ถ้ามีมากเกินไปก็จะ

กลายเป็นสิ่งที่ไม่ดี น่ันคือเราก็จะไม่ยอมรับฟังในสิ่งที่เราไม่ชอบใจ แต่จะรับ

ฟังแต่สิ่งที่ตนเองชอบ ซึ้งในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพ การรับฟังข้อคิดเห็น

จากผู้อื่น หรือแหล่งอื่นนั้นเป็นส่ิงส าคัญยิ่ง เพราะการพัฒนาจ าต้องอาศัยสิ่ง

ต่างๆจากภายนอกทั้งที่เรารู้แล้ว ไม่รู้ ชอบ และไม่ชอบมาปรับใช้และปรับ

เปลี่ยนกระบวนการการพัฒนาของเราให้ดียิ่งขึ้น การที่เรา

รับฟังแต่ในเรื่องที่ตนเองชอบหรือถูกใจ นั่นคือเรามีความ

เป็นตัวกขูองกู และทิฐิในตนเองครับ ลองเปิดใจและรับรู้

ในส่งที่ต่างไปจากตนเอง แล้วจะพบว่าโลกแห่งการ

พัฒนาคุณภาพมีอะไรมากกว่าที่เราคิดครับ

Page 11: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๙.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้

ข้อเสนอแนะคือสิ่งที่เรามักจะได้เสมอจากผู้เข้ามาเยี่ยมเราใช่ไหมครับ ว่า

ควรท าแบบนั้น ควรท าแบบนี้ ซึ้งข้อเสนอแนะนั้นเป็นสิ่งที่ดี เป็นแบบอย่างใน

การที่เราจะน าไปพัฒนาต่อ แต่อยากกล่าวกับผู้ที่ได้รับการเย่ียมว่า

ข้อเสนอแนะต่างๆที่เราได้รับมานั้น อย่าพึ่งเชื่อทั้งหมด ความหมายของผม

คือให้ย้อนกลับมาดูบริบทของเราว่า เราเป็นอย่างไร ส่ิงที่เราได้รับมานั้นเราจะ

มาปรับกับองค์กรเราได้อย่างไร มีอะไรบ้างที่เราสามารถปรับเข้ากับองค์กรเรา

ได้ และส่ิงไหนที่ยังปรับไม่ได้ซึ้งจะต้องใช้เวลา มิใช่น าสิ่งที่ผู้ให้ข้อเสนอน ามา

ปฏิบัติโดยไม่พิจารณาและทันที เพราะเมื่อเป็นแบบนั้นความทุกข์ย่อมเกิดกับ

ผู้ปฏิบัติ เพราะจะเกิดแรงกดดนัและความเครียด

จึงควรมีกรอบเวลาในการที่จะพัฒนาและปรับปรุง

ในส่วนที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม

Page 12: หลักกาลามสูตรกับการพัฒนาคุณภาพ

๑๐.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่าท่านเปน็ครูของเรา สิ่งนี้เราอาจได้ยินได้ฟังกันบ่อยๆ ว่า สรพ. ให้ท าแบบนั้น อาจารย์ท่านนี้ให้ท าแบบนี้ เราก็มักจะน าสิ่งที่อาจารย์บอกกับเรามา รวมทั้งเครื่องมือต่างๆที่

ออกมา น ามาพัฒนาองค์กรของเราอย่างเต็มรูปแบบ คือทุกอย่าง แท้จริงเรา

ต้องท าถึงขนาดนั้นหรือไม่ ค าตอบคือไม่ครับ ส่ิงที่จะเป็นเกณฑ์ที่จะบอกว่า

ต้องท าอะไรบ้างนั้นอยู่ที่บริบทของตัวเราเองวา่เป็นเช่นใด อาจารย์ท่านท าได้

แต่ชี้ทางให้เห็นว่าเราจะไปทางใด แต่ส่ิงที่เป็นเครื่องมือและสัมภาระต่างๆ

เราต้องเป็นผู้ก าหนดเองว่าจะน า

สิ่งใดติดตัวไป มิใช่อาจารย์ ดังนั้นแล้วทบทวน

บริบทของตนเองให้ดี ก่อนที่เดินหน้าต่อไปครับ


Recommended