+ All Categories
Home > Documents > ข าวสารว ิชาการ · 2016-08-09 · Storyline เป นการด...

ข าวสารว ิชาการ · 2016-08-09 · Storyline เป นการด...

Date post: 02-Mar-2020
Category:
Upload: others
View: 1 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
5
ขาวสารวิชาการ หนวยสงเสริมและพัฒนาวิชาการ งานบริการการศึกษา คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ประจําเดือนมิถุนายน 2553 การเรียนรูแบบบูรณาการ ดวย Storyline Approach ผูชวยศาสตราจารย ดร.จันทรชลี มาพุทธ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา การศึกษาเปนการเรียนรูของคนทุกคน และแตละคนจะมีความแตกตางกัน ดังนั้นรูปแบบและวิธีการที่จะใชสําหรับการจัด กิจกรรมการเรียนรูจึงตองพัฒนาใหเหมาะสมกับผูเรียน ความสนใจของผูสอนที่มีตอการบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนโดยเนน ผูเรียนเปนสําคัญไดแพรหลายในยุคปจจุบันและเปนประเด็นหลักในการปฏิรูปการเรียนรูเพื่อเตรียมคนรุนใหมใหมีความรูและความคิด สรางสรรคเพื่อใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 Storyline มาจากคําวา story และ line หมายถึง เสนทางของเรื่องราว หรือแนวทางของเรื่อง เปนการดําเนินเรื่องราวที่เรียงติดตอ เปนลําดับ การเรียนรูแบบบูรณาการดวย Storyline Approach เปนวิธีการที่ไดรับการคิดคนและพัฒนาขึ้นในประเทศสกอตแลนด โดยสตีฟ เบล (Steve Bell) และแซลลีฮารกเนส (Sallie Harkness) ซึ่งทั้งสองทานเรียกไดวาเปนผูใหกําเนิดการเรียนรูแบบนีและทั้งสองทานได รวมกันพัฒนาวิธีสอนนี้กับเพื ่อน (Jeff Creswell, 1997) Storyline เนนการเรียนการสอนที่เปนบูรณาการดวย Storyline Approach เปนวิธีสอนแบบบูรณาการ เนื้อหาหลักสูตรและ กระบวนการ โดยสามารถรวมวิชาสังคมศึกษา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ศิลปะ สิ่งแวดลอมและภาษาโดยสอนรวมกันภายใตหัวขอเรื่อง เดียวกัน เพราะในชีวิตประจําวันนั้น คนในสังคมอาจตองใชกระบวนการคิดที่หลากหลายจากหลายเนื้อหาสาระมาชวยแกปญหาการจัดการ เรียนรูแบบบูรณาการ หมายถึง การจัดการเรียนรูที่เชื่อมโยงเนื้อหาสาระกันเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่มีความหมาย มีความหลากหลายและสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได ผูเขียนจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบ Storyline Approach เปนบูรณาการแบบทีเรียกวา สหวิทยาการ (Interdisciplinary) เนื่องจากเปนการสรางหัวเรื่อง (Theme) ขึ้นมาแลวนําความรูจากวิชาตางๆ มาโยงสัมพันธกับ หัวขอเรื่องนั้น ซึ่งบางครั้งเราก็อาจจะเรียกวิธีบูรณาการแบบนี้วา สหวิทยาการแบบมีหัวขอ (Themetic Interdisciplinary Studies) หรือ การบูรณาการแบบที่เนนการนําไปใชเปนหลัก (Application-First Approach) การเรียนรูแบบบูรณาการดวย Storyline Approach เปนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ซึ่งมีความหลากหลายทั้งรูปแบบ ความยาก งาย ผูเรียนทุกคนสามารถแสดงความสามารถตามศักยภาพของตน เปดโอกาสใหผูเรียนไดพัฒนาวุฒิภาวะทางสังคม โดยรวมทํากิจกรรมทีหลากหลาย ลักษณะการเรียนมีหลายรูปแบบตั้งแตเรียนคนเดียว เรียนเปนคู เรียนเปนกลุมยอย หรือเรียนพรอมกันทั้งชั้น ซึ่งเปนวิธีการ สงเสริมการพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมที่พึงประสงคทางหนึ่ง หลักการของ “Storyline” 1. เนนผูเรียนเปนสําคัญ (Child Centred) แนวคิดของจอหน ดิวอี( John Dewey ) เชื่อวาเด็กตองมีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับการ เรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูแบบบูรณาการดวย Storyline Approach ผูสอนตองตระหนักคุณคาวาผูเรียนทุกคนตองมีประสบการณและ ทักษะเดิมของตนเอง ซึ่งจะเปนพื้นฐานสําคัญในการสรางความรูหรือประสบการณใหมของผูเรียนและผูเรียนเปนผูแสวงหาติดตามการ เรียนรูดวยตนเอง
Transcript
Page 1: ข าวสารว ิชาการ · 2016-08-09 · Storyline เป นการด ําเนินเรื่องหรือผูกเรื่องที่มีความต

ขาวสารวิชาการ

หนวยสงเสริมและพัฒนาวชิาการ งานบริการการศึกษา คณะเภสชัศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ประจําเดือนมิถนุายน 2553

การเรียนรูแบบบูรณาการ ดวย Storyline Approach

ผูชวยศาสตราจารย ดร.จันทรชลี มาพุทธ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

การศึกษาเปนการเรียนรูของคนทุกคน และแตละคนจะมีความแตกตางกัน ดังนั้นรูปแบบและวิธีการที่จะใชสําหรับการจัด

กิจกรรมการเรียนรูจึงตองพัฒนาใหเหมาะสมกับผูเรียน ความสนใจของผูสอนที่มีตอการบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญไดแพรหลายในยุคปจจุบันและเปนประเด็นหลักในการปฏิรูปการเรียนรูเพื่อเตรียมคนรุนใหมใหมีความรูและความคิดสรางสรรคเพื่อใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542

Storyline มาจากคําวา story และ line หมายถึง เสนทางของเรื่องราว หรือแนวทางของเรื่อง เปนการดําเนินเรื่องราวที่เรียงติดตอเปนลําดับ การเรียนรูแบบบูรณาการดวย Storyline Approach เปนวิธีการที่ไดรับการคิดคนและพัฒนาขึ้นในประเทศสกอตแลนด โดยสตีฟ เบล (Steve Bell) และแซลลี่ ฮารกเนส (Sallie Harkness) ซึ่งทั้งสองทานเรียกไดวาเปนผูใหกําเนิดการเรียนรูแบบนี้ และทั้งสองทานไดรวมกันพัฒนาวิธีสอนนี้กับเพื่อน (Jeff Creswell, 1997)

Storyline เนนการเรียนการสอนที่เปนบูรณาการดวย Storyline Approach เปนวิธีสอนแบบบูรณาการ เนื้อหาหลักสูตรและกระบวนการ โดยสามารถรวมวิชาสังคมศึกษา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ศิลปะ สิ่งแวดลอมและภาษาโดยสอนรวมกันภายใตหัวขอเรื่องเดียวกัน เพราะในชีวิตประจําวันนั้น คนในสังคมอาจตองใชกระบวนการคิดที่หลากหลายจากหลายเนื้อหาสาระมาชวยแกปญหาการจัดการ

เรียนรูแบบบูรณาการ หมายถึง การจัดการเรียนรูที่เช่ือมโยงเนื้อหาสาระกันเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่มีความหมาย มีความหลากหลายและสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได ผูเขียนจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบ Storyline Approach เปนบูรณาการแบบที่เรียกวา สหวิทยาการ (Interdisciplinary) เนื่องจากเปนการสรางหัวเรื่อง (Theme) ขึ้นมาแลวนําความรูจากวิชาตางๆ มาโยงสัมพันธกับหัวขอเรื่องนั้น ซึ่งบางครั้งเราก็อาจจะเรียกวิธีบูรณาการแบบนี้วา สหวิทยาการแบบมีหัวขอ (Themetic Interdisciplinary Studies) หรือการบูรณาการแบบที่เนนการนําไปใชเปนหลัก (Application-First Approach)

การเรียนรูแบบบูรณาการดวย Storyline Approach เปนการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ซึ่งมีความหลากหลายทั้งรูปแบบ ความยากงาย ผูเรียนทุกคนสามารถแสดงความสามารถตามศักยภาพของตน เปดโอกาสใหผูเรียนไดพัฒนาวุฒิภาวะทางสังคม โดยรวมทํากิจกรรมที่หลากหลาย ลักษณะการเรียนมีหลายรูปแบบตั้งแตเรียนคนเดียว เรียนเปนคู เรียนเปนกลุมยอย หรือเรียนพรอมกันทั้งช้ัน ซึ่งเปนวิธีการสงเสริมการพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมที่พึงประสงคทางหนึ่ง

หลักการของ “Storyline” 1. เนนผูเรียนเปนสําคัญ (Child Centred) แนวคิดของจอหน ดิวอี้ ( John Dewey ) เช่ือวาเด็กตองมีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับการ

เรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูแบบบูรณาการดวย Storyline Approach ผูสอนตองตระหนักคุณคาวาผูเรียนทุกคนตองมีประสบการณและทักษะเดิมของตนเอง ซึ่งจะเปนพื้นฐานสําคัญในการสรางความรูหรือประสบการณใหมของผูเรียนและผูเรียนเปนผูแสวงหาติดตามการเรียนรูดวยตนเอง

Page 2: ข าวสารว ิชาการ · 2016-08-09 · Storyline เป นการด ําเนินเรื่องหรือผูกเรื่องที่มีความต

2

2. เนนการปฏิบัติและการเสริมแรง การเรียนรูแบบบูรณาการดวย Storyline Approach ถือวาเปน Constructivist way of workingนั้นคือใหผูเรียนลงมือกระทํา หรือปฏิบัติดวยตนเอง เปนเรื่องการตัดสินใจ และการแกปญหา เปนการเรียนรูแบบ Active learning ซึ่งเปนกระบวนการที่จะชวยพัฒนาทางดานสติปญญา ทักษะและทัศนคติแกผูเรียน ผูเรียนที่เรียนดวย Storyline Approach จะไดประสบการณการทํางานซึ่งเปนการเสริมแรง โดยผูสอนใหความสําคัญในการทํางานเพื่อใหเกิดการเรียนรูอยางมีคุณคาและมีความหมาย

หลักการสราง Storyline เจฟ เครสเวล (Jeff Creswell, 1997) ไดเสนอหลักการในการสราง Storyline ไว 6 ประการ พอสรุปไดดังนี้ 1. ยึดหลักของการเลาเรื่อง Storyline จะมีองคประกอบตางๆ ที่ผสมผสานอยูดวยกันสามสวน คือ ตัวละคร ซึ่งอาจเปนคนหรือ

สัตว ดังนั้นกิจกรรมจึงควรเกี่ยวของกับคนหรือสัตว หรือเลาเรื่องในอดีตในรูปของตํานาน ความเชื่อ 2. ยึดหลักของการวางโครงเรื่องใหนาติดตาม เรื่องราวตองสนุกและนาสนใจ ผูเรียนตองสนุกที่จะไดเรียนรูตลอดเวลา 3. ยึดหลักวาผูสอนเปนผูกําหนดโครง สราง โดยนําเนื้อหาและจุดประสงคในหลักสูตรมาวางกรอบของเสนทางเดินเรื่อง โดย

ใหผูเรียนเปนผูลงมือทํากิจกรรมคนหารายละเอียดตางๆ และเรียนรูดวยตนเองเพื่อตอบคําถามหลักของผูสอน 4. ยึดหลักใหผูเรียนเปนเจาของเรื่องราว หรือประสบการณตางๆ Storyline ตองใหผูเรียนไดนําความรูหรือประสบการณเดิม

ของตนเองมาวิเคราะหเช่ือมโยง เพื่อตอบคําถามหลัก

องคประกอบสําคัญของ Storyline Storyline เปนการดําเนินเรื่องหรือผูกเรื่องที่มีความตอเนื่องกันประดุจดังเสนเชือก โดยมีการต้ังคําถามหลัก (Key Questions) เปน

ตัวเช่ือมการดําเนินเรื่อง องคประกอบสําคัญของเรื่องที่จะทําใหเกิดเปน Storyline นั้น มี 4 องคประกอบ ดังนี้ 1. การจัดฉาก (Setting the Scene) เปนการระบุเวลา สถานที่ สิ่งแวดลอม 2. มีตัวละคร (Character) ซึ่งเปนผูเกี่ยวของกับเรื่องราวในขอ 1 3. การดําเนินชีวิต (Way of Life) เปนการดําเนินชีวิตหรือเรื่องราวของตัวละครในขอ 2 4. มีเหตุการณสําคัญเกิดขึ้น หรือมีปญหาที่ตองแกไข (Events, incidents or real problems tobe solved) เปนหัวใจสําคัญของ

การเรียนรูแบบบูรณาการดวย Storyline Approach เพราะคําถามจะเปนตัวนําไปสูกิจกรรมที่หลากหลาย เปนการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนและเปนตัวเช่ือมโยงการดําเนินเรื่องใหตอเนื่องกันเปนลําดับภายในหัวขอเดียวกัน

5. ยึดหลักเกี่ยวกับการดําเนินเรื่อง การดําเนินเรื่องตองเปนเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกัน ผูเรียนตองใชความคิด/ประสบการณที่มีอยูเดิม เพิ่มประสบการณใหมจากการทํากิจกรรมตางๆ ไดเรียนรูสิ่งใหม ๆ

6. ยึดหลักโครงสราง ผูสอนตองใหผูเรียนสรางรูปแบบการสรางมโนทัศนของตนเองใหนักเรียนแสวงหาขอมูล การคนพบ เสนอขอคนพบและพิสูจนสิ่งที่เขาไดคิด ดวยกระบวนการเรียนรูจากกิจกรรมที่หลากหลาย

จากองคประกอบสําคัญของ Storyline ดังกลาวขางตน พอสรุปไดดังนี้ 1. ผูสอนควรตั้งคําถามวา เกิดเรื่องราวที่ไหน คือฉาก เปนการนําใหผูเรียนไดทราบวา เขากําลังจะมีประสบการณใหมๆ เกิดขึ้น

เปนการเริ่มนําเขาสูบทเรียน หรือเปดตัวเรื่องในฉากจะเปนการระบุสถานที่ เวลา สิ่งแวดลอม 2. เมื่อมีฉากแลวตองมีตัวละคร เชน คน หรือสัตว สิ่งตาง ๆ เขามาเกี่ยวของดวย วามีใครบาง ตัวละครที่ทําใหฉากหรือเหตุการณ

นั้น ๆ มีความเปนจริงมากขึ้น 3. การดําเนินชีวิต การดําเนินเรื่องของตัวละคร วาจะตองทํากิจกรรมใดบาง 4. จุดสําคัญของ Storyline จะตองมีคําถามวามีอะไรสําคัญที่เกิดขึ้นกับตัวละครบาง และแกปญหาอยางไรซึ่งองคประกอบนี้

เปรียบเสมือนเปนจุดสรุปของเรื่องราวทั้งหมด

Page 3: ข าวสารว ิชาการ · 2016-08-09 · Storyline เป นการด ําเนินเรื่องหรือผูกเรื่องที่มีความต

3

การดําเนินเร่ืองของ Storyline การดําเนินเรื่องราวของ Storyline คือ การจะทําใหเกิดการเรียนการสอนไดอยางไร ผูสอนจะเปนผูสรางหรือพัฒนาและผูเรียนเปน

ผูกระทําหรือปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง ดังที่สตีฟ เบล ( Steve Bell, 1998) ไดเสนอไวดังนี้ 1. มีเสนทางเดินเรื่อง (Topic Line) อยางมีเหตุผล มีการเรียงลําดับตามขั้นตอนที่ประกอบดวยองคประกอบทั้ง 4 ของ Storyline 2. มีคําถามหลัก (Key Questions) เปนตัวเช่ือมโยงแตละฉาก ซึ่งผูเรียนตองเก่ียวของในการทํากิจกรรมตางๆ 3. คําถามหลักแตละขอตองเก่ียวของกับแตละตอนหรือฉาก (Episode) 4. แตละฉากใน Storyline เปนสถานการณใหผูเรียนไดสืบคน แสวงหาคําตอบจากประสบการณตรง 5. ผูเรียนไดเรียนรูและบรรลุความสําเร็จตามความแตกตางของระดับศักยภาพของตนและทุกคนตองกลับมาตอบคําถามหลัก

เพื่อหาคําตอบในฉากอื่นๆ ตอไป

การวางแผนการจัดการเรียนรูแบบ Storyline มีขัน้ตอนดังนี้ 1. เตรียมหัวเรื่อง (Topic) ที่จะใชสอนชื่อหัวเรื่องนี้คือการสรางมโนทัศน (Concept) ที่ผูสอนตองการใหผูเรียน ไดเรียนรูหัวขอ

นั้นอาจไดมาจากหนังสือเรียนที่ใชอยู การเลือกหัวขอโดยผูสอนควรปฏิบัติ ดังนี้ 1.1 สอดคลองกับเนื้อหาหลักสูตร 1.2 ชวยขยายขอบเขตความรูใหผูเรียนมีโอกาสที่จะสรางองคความรูดวยตนเอง 1.3 หัวขอเรื่องนั้นๆ จะพัฒนาความรูทักษะ ทัศนคติ เพราะ Storyline เปนการสอนแบบบูรณาการ 1.4 หัวขอนั้นควรมีโครงสราง สําคัญที่เกี่ยวกับเนื้อหาสาระที่เปนความรู ซึ่งผูเรียนจะไดจากการเรียนรูดวยตนเอง เชน

บทบาทหนาที่ของสมาชิกในครอบครัว การดํารงชีวิต ความสัมพันธกันในสังคม ปญหา ผลกระทบ และแนวทางในการแกปญหา นอกจากเนื้อหาสาระที่เปนความรูแลว ผูเรียนจะไดพัฒนาทั้งสติปญญาและทักษะ เชน ทักษะทางดานภาษา ทักษะการคนหา และประเมินขอมูล ทักษะ กระบวนการคิดและทักษะดานสังคม

2. การวางแผนการสอน Storyline เตรียมการผูกเรื่องพรอมการดําเนินเรื่อง (Storyline) และแบงเขียนเปนฉากๆ โดยคํานึงถึง 4 องคประกอบ คือ ฉาก ตัวละคร การดําเนินชีวิตและเหตุการณสําคัญ เรื่องราวอาจเปนเรื่องจริงหรือจินตนาการ ผูสอนตองพัฒนา หัวขอ และเนื้อเรื่องใหทั้ง 2 อยางไป ดวยกันจะตองมี plot ความคิดพื้นฐานวาจะ ตองมีเหตุการณใดบาง แตตองคํานึงถึง 4 องคประกอบเปนสําคัญ โดยผูสอนจะตองเปนผูทําหนาที่ผูกเรื่องราวการดําเนินเรื่อง และผูเรียนเปนผูสรางรายละเอียด โดยการลงมือกระทํากิจกรรมตาง ๆ

3. ต้ังคําถามหลัก หรือคําถามสําคัญ (Key Questions) ซึ่งจะทําหนาที่เช่ือมโยงการดําเนินเรื่องในแตละฉากและเปนตัวกระตุน หรือเปดประเด็นใหผูเรียนไดคิดวิเคราะหและลงมือปฏิบัติซึ่งจะนําไปสูการเรียนรู กลาวไดวาคําถามหลักเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหเกิดกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียน ในแตละฉากลักษณะของคําถามหลักควรมีลักษณะ ดังนี้

3.1 กระตุนใหเกิดมโนทัศนของหัวขอหรือโครงเรื่องนั้น ๆ 3.2 คําตอบหรอืคําถามควรมีหลากหลาย โดยใหผูเรียนไดใชความคิดวิเคราะหและเสนอแนวคิดตางๆ 3.3 กระตุนใหผูเรียนสามารถใชทักษะ ความคิดหลากหลาย เชน การวิเคราะห การจินตนาการ การสรุปและการประเมิน 3.4 กระตุนใหผูเรียนหาคําตอบดวยการสืบคนหาขอมูลตางๆ 3.5 เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงทักษะหรือประสบการณการเรียนรูตาง ๆ ที่เขามี

4. จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดตอบคําถามหลัก เพื่อเปนการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน กิจกรรมที่จัดควรเปนกิจกรรมที่เนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติเอง โดยกิจกรรมที่จัดนั้นตองเปนกิจกรรมที่เสริมแรงหรือสรางแรงจูงใจ (Motivation) ใหผูเรียนมีบทบาทกระตือรือรนใฝรู (Active) มากกวาเปนผูรับจากครอูยางเดียว (Passive)

5. ลักษณะการจัดกิจกรรมในชั้นเรียนเปนการจัดใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนการสอนอาจจัดไดหลายรูปแบบ เชน กลุมยอย ทั้งช้ันรายบุคคลหรือรายคู เปนตน การจัดกิจกรรมตองคํานึงถึงชนิดหรือประเภทของกิจกรรม เวลาทํางาน ดูความเหมาะสมเรื่องความรู ความสามารถ Storyline จะเนนเรื่องของการรวมใจกนัทํางาน (Co-operative) และทํางานรวมกันเปนทีม (Teamwork)

Page 4: ข าวสารว ิชาการ · 2016-08-09 · Storyline เป นการด ําเนินเรื่องหรือผูกเรื่องที่มีความต

4

6. การประเมินผลจากคําถามหลักและจากกิจกรรม จัดโดยประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม พัฒนาการตางๆ ของผูเรียน และผลงานที่ผูเรียนไดทํา ขั้นการประเมินมีทั้งแบบเปนทางการและไมเปนทางการ และสามารถประเมินผลไดตลอด เพราะการเรียนรูทางสังคมของผูเรียนอาจเกิดขึ้นไดโดยผูสอนเองไมไดวางแผนไว

7. การกําหนดระยะเวลาสอน เปนหนาที่ของผูสอนที่ตองมีความยืดหยุนแลวแตหัวขอเรื่อง

บทบาทของผูสอน การเรียนรูแบบ Storyline ผูสอนเปนผูวางแผน มีแนวทางการดําเนินเรื่องโดยผูเรียนเปนผูเติมความรูหรือประสบการณใหเต็ม

ผูสอนตองเปนผูมีความคิดริเริ่มสรางสรรค เปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูบอกขอมูลเปนผูวางแผนการสอน และเปนผูแนะแนวทาง การเรียนรูแกผูเรียน คําถามหลักของผูสอนที่ใหผูเรียนตอบมิไดมาจากตํารา แตมาจากตัวผูเรียนเอง ดังนั้นคําถามหลัก จึงเปนเครื่องมือสําคัญของผูสอนที่ทําใหการเรียนแบบ Storyline สามารถดําเนินเรื่องไปได สตีฟ เบล ( Steve Bell, 1998) ไดเสนอคําถามที่สามารถใชเปนแนวทางสําหรับการกําหนดบทบาท ของผูสอนไวดังนี้

1. เริ่มตนการสอนจากสิ่งที่ผูเรียนรูมากอนหรือไม 2. ถามคําถามหลักและสรางบริบทการเรียนรู (Context) ของผูเรียนตลอดการดําเนินเรื่องหรือไม 3. จัดกิจกรรมที่หลากหลายหรือไม 4. กระตุนใหผูเรียนไดสรางแนวคิดของตนไวกอนหรือไม 5. เปดโอกาสใหผูเรียนไดพิสูจนแนวคิดหรือขอคนพบใหมๆ โดยการตั้งคําถามหรือใหมีการคนควาหาหลักฐานหรือไม 6. ใหความสําคัญในคุณคาของงานที่ผูเรียนไดทําหรอืไม 7. มีการจัดกลุมผูเรียนที่เนนการรวมมือในการเรียน และจัดกลุมผูเรียนที่เหมาะสมกับกิจกรรมหรือไม 8. ใชวิธีสอนหลากหลาย เพื่อชวยเสริมประสิทธิภาพและความสําเร็จของการสอนหรือไม 9. มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบหรือไม 10. ประเมินผลงานของผูเรียนที่เหมาะสม และเปนไปในทางสรางสรรคหรือไม 11. ใหผูปกครองไดมีสวนและรับทราบผลการเรียนรูของผูเรียนหรือไม บทบาทของผูเรียน ผูเรียนตองใชประสบการณหรือความรูเดิมที่เปนพื้นฐานสําคัญในการทําใหเกิดการเรียนรูใหม โดยผูเรียนตองตอบคําถามหลัก

ของผูสอน ดวยการไปคนหาคําตอบ (Discover) ผูเรียนตองใชทักษะการคิด การแสวงหาความรู เพื่อเติมเรื่องราวหรือประสบการณใหเต็มและตองพรอมที่จะพิสูจนขอคนพบหรือรูปแบบการสรางมโนทศัน

ประโยชนของการสอนดวย Storyline 1. เปนการสอนที่สนองตามตองการ 4 ประการของผูเรียน ไดแก

1.1 การสื่อสาร (Communication) เด็กทุกคนตองการพูดและการรับฟง Storyline เนนการปรึกษาหารือ พูดคุยรวมกันวางแผน รับฟงซึ่งกันและกันและเสนอความคิดเห็น

1.2 การสรางหรือการลงมือทําดวยตนเอง (Building/Construction) โดยธรรมชาติ เด็กทุกคนตองการสรางสิ่งตางๆ ตองการใชมือของตนเอง (Love to make things with hands) หรือสรางดวยปญญา การสราง (Construct) เปนการใชจินตนาการ การวางแผน จัดหาขอมูลสรางความรูใหมดวยตนเอง เปนการผลิตงานที่ไดจากความสามารถโดยมิไดเนนที่การจําขอมูล

1.3 การคิดและการลงมือปฏิบัติ (Thought and Action) โดยธรรมชาติเด็กทุกคน รูจักถามคําถามและตองการรับฟงคําตอบในสิ่งที่ตนอยากทราบ เทคนิควิธี Story line เปดโอกาสใหผูเรียนไดกระทํา ไดคิดอยางอิสระทุกขั้นตอนเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนแตละคนไดคนพบสืบคน ทาทายใหคิดสํารวจ และสรางจินตนาการผูเรียนจะไดฝกการแกปญหาและการตัดสินใจ

Page 5: ข าวสารว ิชาการ · 2016-08-09 · Storyline เป นการด ําเนินเรื่องหรือผูกเรื่องที่มีความต

5

1.4 ความตองการที่ยอมรับวา ตนเองมีคา สามารถแสดงความรูสึกได (Self-expression) โดยธรรมชาติเด็กทุกคนตองการมีความรูสึกวาตนเองมีคาไดรับการยกยองเกี่ยวกับงาน หรือความคิดเห็นของตน

2. เปนการสอนที่เปนแบบกระตือรือรน ใฝรู (Active learning) ผูเรียนสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได โดยผูเรียนเปนผูลงมือกระทําศึกษา คิดและปฏิบัติ เปนกระบวนการเรียนรูที่ทาทายความรูความสามารถของผูเรียน ผูเรียนไดเห็นผลงานของตนเอง ทําใหการเรียนรูมีคุณคาสําหรับผูเรียน

3. ผูเรียนไดพัฒนาศักยภาพของตนเอง ไมวาจะเปนเรื่องความคิด วิเคราะห ความคิดสรางสรรค การแกปญหา การตัดสินใจ หรือการสรางองคความรูดวยตนเอง

ขอมูลจาก http://www.edu.buu.ac.th


Recommended