+ All Categories
Home > Documents > บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข...

บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข...

Date post: 01-Sep-2021
Category:
Upload: others
View: 2 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
41
บทที15 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 15.1 สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ผูวิจัยไดนําผลการวิจัยทั้งหมดมาสรุป โดยลําดับตามประเด็นที่ไดกําหนดเปน วัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้คือ 1) รูปแบบของธุรกิจการใหบริการผูสูงอายุที่มีอยูในปจจุบัน 2) ความตองการของผูสูงอายุตอการไดรับการบริการในดานตางๆ 3) การพัฒนารูปแบบธุรกิจการที่ทันสมัย มีคุณคาสําหรับผูสูงอายุ 4) ปญหา ขอจํากัด และปจจัยแหงความสําเร็จของธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ 5) นําเสนอกลยุทธการพัฒนานวัตกรรมธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ 15.1.1 รูปแบบของธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุที่มีอยูในปจจุบัน ในประเด็นนีผูวิจัยไดใชวิธีสืบหาแหลงประกอบการธุรกิจสวนหนึ่ง และ ศึกษาขอมูลทุติยภูมิโดยการทบทวนวรรณกรรมสวนหนึ่ง พบวาในปจจุบันนี้มีการใหบริการผูสูงอายุ ในประเทศไทยทั้งที่เปน รูปแบบธุรกิจ กึ่งสงเคราะห และการสงเคราะห สรุปไดดังนี้คือ การใหบริการผูสูงอายุของภาครัฐ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย มีกรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ เปนหนวยงานหลักที่จัดสวัสดิการใหแกผูสูงอายุ รายละเอียดของสวัสดิการบางอยาง ที่จัดใหผูสูงอายุ ไดแก 1) สถานสงเคราะหคนชรา เปนบริการประเภทแรกที่กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ จัดใหแกผูสูงอายุ ที่ประสบปญหาความทุกขยากเดือดรอน โดยเปนบริการใน 354
Transcript
Page 1: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

บทที่ 15

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

15.1 สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ผูวิจัยไดนําผลการวิจัยทั้งหมดมาสรุป โดยลําดับตามประเด็นที่ไดกําหนดเปนวัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้คือ

1) รูปแบบของธุรกิจการใหบริการผูสูงอายุที่มีอยูในปจจุบัน 2) ความตองการของผูสูงอายุตอการไดรับการบริการในดานตางๆ 3) การพัฒนารูปแบบธุรกิจการที่ทันสมัย มีคุณคาสําหรับผูสูงอายุ 4) ปญหา ขอจํากัด และปจจัยแหงความสําเร็จของธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ 5) นําเสนอกลยุทธการพัฒนานวัตกรรมธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ

15.1.1 รูปแบบของธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุที่มีอยูในปจจุบัน ในประเด็นนี้ ผูวิจัยไดใชวิธีสืบหาแหลงประกอบการธุรกิจสวนหนึ่ง และศึกษาขอมูลทุติยภูมิโดยการทบทวนวรรณกรรมสวนหนึ่ง พบวาในปจจุบันนี้มีการใหบริการผูสูงอายุในประเทศไทยทั้งที่เปน รูปแบบธุรกิจ กึ่งสงเคราะห และการสงเคราะห สรุปไดดังนี้คือ การใหบริการผูสูงอายุของภาครัฐ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย มีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เปนหนวยงานหลักที่จัดสวัสดิการใหแกผูสูงอายุ รายละเอียดของสวัสดิการบางอยางที่จัดใหผูสูงอายุ ไดแก

1) สถานสงเคราะหคนชรา เปนบริการประเภทแรกที่กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จัดใหแกผูสูงอายุ ที่ประสบปญหาความทุกขยากเดือดรอน โดยเปนบริการใน

354

Page 2: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

ลักษณะบานพัก ปจจุบันมีสถานสงเคราะหคนชราอยูหลายแหงแตแบงประเภทได 3 ประเภทไดแก 1) ประเภทสามัญ ผูสูงอายุไมตองเสียคาใชจาย 2) ประเภทหอพัก ผูสูงอายุตองเสียคาใชจายเปนรายเดือน และ 3) ประเภทพิเศษ ผูสูงอายุสามารถปลูกบานอยูเองตามแบบแปลนที่กําหนดในที่ดินของสถานสงเคราะห ปจจุบันมีสถานสงเคราะหคนชรา รวมทั้งสิ้นจํานวน 17 แหงคือ 1) สถานสงเคราะหคนชราบานบางแค (กรุงเทพมหานคร) 2) สถานสงเคราะหคนชราบานบางแค 2 (กรุงเทพมหานคร) 3) สถานสงเคราะหคนชราบานจันทบุรี (จันทบุรี) 4) สถานสงเคราะหคนชราบานบางละมุง (ชลบุรี) 5) สถานสงเคราะหคนชราบานนครปฐม (นครปฐม) 6) สถานสงเคราะหคนชราเฉลิมราชกุมารี หลวงพอเปนอุปถัมภ (นครปฐม) 7) สถานสงเคราะหคนชราวาสนะเวศม ในพระสังฆราชูปถัมภ (พระนครศรีอยุธยา) 8) สถานสงเคราะหคนชราบานธรรมปกรณ (เชียงใหม) 9) สถานสงเคราะหคนชราวัยทองนิเวศน (เชียงใหม) 10) สถานสงเคราะหคนชราบานเขาบอแกว (นครสวรรค) 11) สถานสงเคราะหคนชราบานธรรมปกรณ โพธิ์กลาง (นครราชสีมา) 12)สถานสงเคราะหคนชราบานธรรมปกรณ วัดมวง (นครราชสีมา) 13) สถานสงเคราะหคนชราบานมหาสารคาม (มหาสารคาม) 14) สถานสงเคราะหคนชราบานอูทอง-พนังตัก (ชุมพร ) 15 ) สถานสงเคราะหคนชราบานศรีตรัง (ตรัง) 16) สถานสงเคราะหคนชราบานภูเก็ต (ภูเก็ต) และ 17) สถานสงเคราะหคนชราบานทักษิณ (ยะลา) 2) ศูนยบริการผูสูงอายุ เปนบริการที่จัดใหกับผูสูงอายุทั่วไปที่มีความตองการการรับบริการจากรัฐโดยไมเขาอยูในสถานสงเคราะห และเพื่อสงเสริมใหผูสูงอายุดํารงชีวิตอยูกับครอบครัวไดอยางมีความสุข ปจจุบันมีศูนยบริการผูสูงอายุ รวมทั้งสิ้นจํานวน 14 แหงคือ 1) ศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุดินแดง (กรุงเทพมหานคร) 2) ศูนยบริการผูสูงอายุบางแค (กรุงเทพมหานคร) 3) ศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุบานบางแค 2 (กรุงเทพมหานคร) 4) ศูนยบริการผูสูงอายุทิพยสุคนธ (กรุงเทพมหานคร) 5) ศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุบางละมุง (ชลบุรี) 6) ศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุลพบุรี (ลพบุรี) 7) ศูนยบริการผูสูงอายุเชียงใหม (เชียงใหม) 8) ศูนยบริการผูสูงอายุปยะมาลย (เชียงใหม) 9) ศูนยบริการผูสูงอายุวัยทอง (เชียงใหม) 10) ศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุศรีสุคต (พิษณุโลก) 11) ศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุขอนแกน (ขอนแกน) 12) ศูนยบริการผูสูงอายุธรรมปกรณโพธิ์กลาง (นครราชสีมา) 13) ศูนยบริการผูสูงอายุธรรมปกรณ วัดมวง (นครราชสีมา) และ 14) ศูนยบริการผูสูงอายุทักษิณ (ยะละ)

355

Page 3: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

การใหบริการผูสูงอายุขององคการเพื่อการกุศล

เปนโครงการที่จัดตั้งขึ้นโดยองคการการกุศลโดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือสังคม เชน โครงการ “สวางคนิเวศ” ซึ่งเปนอาคารที่พักสําหรับผูสูงอายุ ที่สภากาชาดไทยจัดสรางขึ้นที่อําเภอบางปู จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อถวายเปนพระราชกุศลในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผูอํานวยการสภากาชาดไทย ทรงเจริญพระ ชนมพรรษา 40 พรรษา นอกจากนี้ยังพบวามีสถานใหบริการผูสูงอายุ ที่เปนของมูลนิธิคณะนักบุญคามิลโลแหงประเทศไทย ซึ่งขณะนี้มีอยู 3 ศูนย ไดแก 1) ศูนยสงเคราะหผูสูงอายุยากไรและนวกสถาน คามิลเลียนโซเชียลเซ็นเตอร ปราจีนบุรี 2) บานพักผูสูงอายุและบานอบรมนักบวช คามิลเลียน โซเชียล เซ็นเตอร สามพราน นครปฐม (1977) และ 3) บานพักผูสูงอายุ คามิลเลียน โซเชียล เซ็นเตอร จันทบุรี (1999) บานพักผูสูงอายุคามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร เปนหนวยงานหนึ่งของมูลนิธิคณะนักบุญคามิลโลแหงประเทศไทย ดําเนินงานโดยนักบวชคามิลเลียน ซึ่งมีจิตตารมณในการดูแลรับใชผูปวยและผูสูงอายุทั่วไป โดยยึดถือแบบอยางจิตตารมณของทานนักบุญคามิลโล เด แลลลิส ผูต้ังคณะนักบวชคามิลเลียน ทานไดอุทิศชีวิตของทานในการดูแลรักษาผูเจ็บปวยผูสูงอายุทั่งทานรางกายและจิตใจ ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยมีโอกาสเขาไปศึกษาใน บานพักผูสูงอายุ คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร จันทบุรี ซึ่งเปนบานพักผูสูงอายุแหงที่สองในจํานวนสามแหงของ มูลนิธินักบุญคามิลโลแหงประเทศไทย ซึ่งก็มีจุดประสงคอยางเดียวกันคือ ดูแลชวยเหลือปรนนิบัติรับใชผูปวย ผูสูงอายุ ดวยเมตตาจิตตามแนวทางและจิตตารมณของนักบุญคามิลโลองคอุปถัมภผูปวย ผูซึ่งถือวา “ผูปวยเปนดังแกวตาดวงใจของพระเจา จึงตองเอาใจใสใหเกียรติอยูเสมอ” การใหบริการผูสูงอายุและผูปวย จึงยึดมั่นในคําสอนของทานนักบุญที่ไดชี้แนะไววา “มนุษยจะมีชีวิตอยูในโลกนี้ไมได ถาวิญญาณไมรวมอยูกับรางกาย ดังนั้นการประกอบเมตตากิจ จึงจําเปนตองรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทั้งทางดานรางกายและวิญญาณอยางแยกไมได” ดวยเหตุนี้ งานอภิบาลในบานพักผูสูงอายุแหงนี้ นักบวชและเจาหนาที่จึงมุงเนนการอภิบาลในรูปแบบองครวม โดยพยายามดูแลเอาใจใสผูสูงอายุในดานหรือมิติตางๆ ของความเปนมนุษยทั้งหมดคือ ดานรางกาย ดานจิตใจ ดานสังคม และ ดานจิตวิญญาณ โดยมีสโลแกนวา "บริการดุจญาติมิตรสรางเสริมชีวิตเพื่อผูสูงวัย"

356

Page 4: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

3) การใหบริการของภาคเอกชน

รูปแบบของการใหบริการผูสูงอายุ แบงออกไดเปน 3 ประเภทคือ ประเภทที่ 1 การใหบริการดานสุขภาพสําหรับผูสูงอายุ (Health Care Service) จัดเปนประเภทของการใหบริการในรูปแบบธุรกิจที่มีมากที่สุดในขณะนี้ โดยมีการใหบริการที่แยกไดเปน 3 แบบตามลักษณะของสถานใหบริการ คือ 1) การใหบริการดูแลผูสูงอายุที่อยูภายในโรงพยาบาล (Nursing Care in Hospital) เปนสวนของโรงพยาบาลบางแหง ที่จัดใหมีเพิ่มข้ึนสําหรับดูแลผูสูงอายุที่สวนใหญอยูในสภาพออนแอ พอชวยเหลือตัวเองไดบาง หรือชวยเหลือตัวเองไมได หรืออยูในระยะพักฟน ซึ่งถือเปนชวงที่ไมใชการรักษา โดยการใหบริการดานอาหาร การใหอาหารทางสายยาง การจายยา การทําความสะอาดรางกาย การพาเดินออกกําลังกาย การพลิกตัวในผูสูงอายุที่พลิกตัวเองไมได และการสังเกตสุขภาพพื้นฐานทั่วไปดวยการวัดความดันโลหิต เปนตน การใหบริการแบบนี้ถือวาเปนการใชพื้นที่วางของโรงพยาบาลที่ยังวางอยูใหเปนประโยชน หรือที่เรียกวา By Product หากผูสูงอายุเกิดเจ็บไขไดปวย ก็จะทําการโยกยาย (Off) จากสวนของการดูแลนี้ไปอยูในสวนของโรงพยาบาล เพื่อทําการรักษาจนหายแลวจึงยายกลับเขามาในสวนของการดูแลอีกครั้ง ตัวอยางเชน โรงพยาบาลวิภา-ราม โรงพยาบาลปยะเวท เปนตน 2) การใหบริการดูแลผูสูงอายุในสถานดูแลที่ไมใชโรงพยาบาล (Nursing Home) เปนสถานรับดูแลคนสูงอายุและคนปวย โดยอยูภายใตการควบคุมดูแลของกระทรวงสาธารณสุข แตเนื่องจากยังไมมีกฎหมายมารองรับสถานดูแลผูสูงอายุประเภทนี้โดยเฉพาะ จึงอาศัยกฎหมายพยาบาลโรคเรื้อรังเขามาประกอบ ลักษณะของสถานดูแลผูสูงอายุเหลานี้ จะมีขนาดที่แตกตางกันตามแตพื้นที่อาคาร ซึ่งบางแหงก็ดัดแปลงจากบานเรือนที่เคยเปนที่อยูอาศัย สามารถรองรับผูสูงอายุไดประมาณ 5-15 คน จึงพบวามีสถานดูแลผูสูงอายุแบบนี้เกิดขึ้นในหมูบานทั่วไปจํานวนมาก แตมีจํานวนนอยที่เจาของลงทุนสรางเปนอาคารขึ้นมาใหม ทําใหสามารถรองรับผูสูงอายุไดมากกวา โดยประมาณ 30-60 คน โดยใหบริการดูแลผูสูงอายุที่สวนใหญ

357

Page 5: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

อยูในสภาพออนแอ พอชวยเหลือตัวเองไดบาง หรือชวยเหลือตัวเองไมได หรืออยูในระยะพักฟน ซึ่งถือเปนชวงที่ไมใชการรักษา โดยการใหบริการดานอาหาร การใหอาหารทางสายยาง การจายยา การทําความสะอาดรางกาย การพาเดินออกกําลังกาย การพลิกตัวในผูสูงอายุที่พลิกตัวเองไมได และบางแหงก็มีผูสูงอายุที่ยังชวยเหลือตัวเองไดมาอยูอาศัยใชบริการดวย ผูที่ทําหนาที่ดูแลผูสูงอายุคือ พยาบาลวิชาชีพ ผูชวยพยาบาล และผูดูแล แตไมตองมีแพทยประจําเพราะถือวาไมไดมีการรักษา แตสถานดูแลเหลานี้จะมีแพทยที่พรอมติดตอขอคําปรึกษา และมีโรงพยาบาลประจําที่สามารถขอความชวยเหลือหรือสงผูสูงอายุที่เจ็บปวยไปไดทันทีที่ตองการ ตัวอยางเชน นวศรีเนอรสซ่ิงโฮม บานเรือนแกว เปนตน 3) การใหบริการดูแลผูสูงอายุในรูปแบบของโรงพยาบาล (Geriatric Care Hospital) เปนโรงพยาบาลเฉพาะทางดานผูสูงอายุ ที่มีขนาดใหญกวา Nursing Home ทั่วไป โดยอาจรองรับผูสูงอายุไดต้ังแต 30-150 คน โดยใหบริการรักษาผูสูงอายุทั่วไป และรับดูแลผูสูงผูสูงอายุที่ใหญอยูในสภาพออนแอ พอชวยเหลือตัวเองไดบาง หรือชวยเหลือตัวเองไมได หรืออยูในระยะพักฟน ซึ่งถือเปนชวงที่ไมใชการรักษา โดยการใหบริการดานอาหาร การใหอาหารทางสายยาง การจายยา การทําความสะอาดรางกาย การพาเดินออกกําลังกาย การพลิกตัวในผูสูงอายุที่พลิกตัวเองไมได และบางแหงก็มีผูสูงอายุที่ยังชวยเหลือตัวเองไดมาอยูอาศัยใชบริการดวย เนื่องจากเปนสถานที่ใหบริการแบบโรงพยาบาล จึงตองมีแพทยประจํา และมีผูที่ทําหนาที่ดูแลผูสูงอายุคือ พยาบาลวิชาชีพ ผูชวยพยาบาล และผูดูแล ตัวอยางเชน โรงพยาบาลโกลเดนเยียส โรงพยาบาลกลวยน้ําไท 2 เปนตน ประเภทที่ 2 การใหบริการดานที่พักอาศัยพรอมบริการดานสุขภาพสําหรับผูสูงอายุ (Residential and Health Care Service) จัดเปนประเภทของการใหบริการในรูปแบบธุรกิจ ในรูปแบบโครงการที่พักอาศัยดวยการวางหลักการใหบานพักสําหรับผูสูงวัย ที่ความเหมาะสมทางกายภาพ การใหบริการดานการแพทยแกผูสูงอายุอยางครบวงจร ซึ่งเทาที่พบในประเทศไทยในขณะนี้ มีโครงการที่เร่ิมบุกเบิกอยางเปนรูปธรรมแลวคือ โครงการ บางไทร ฮอสปเฮาส ซึ่งตั้งอยูที่ อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีนายแพทยบุญชัย อิศราพิสิษฐ เปนประธานกรรมการบริหาร รูปแบบของโครงการ เนนการออกแบบใหเปนบานพักอาศัยที่มีความเหมาะสมสาํหรับผูสูงอายุ เพื่อการพักผอนที่สะดวกสบาย ปลอดภัย และสามารถทําเปนบานพักฟน

358

Page 6: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

เพื่อการรักษาตัวเหมือนกับเปนโรงพยาบาลสวนตัวในยามที่เจ็บปวย โดยมีนายแพทยและพยาบาลมาใหการบริการรักษาถึงบานพัก โดยมีความแตกตางจากบานจัดสรรทั่วๆ ไปคือ มีระบบสัญญาณฉุกเฉินเพื่อเรียกแพทยและพยาบาล (Nurse Call) ติดไวตามจุดตางๆ ในบานพัก 3 จุด คือ ในหองน้ํา หองนอน และหองนั่งเลน มีระบบโทรศัพทภายในเพื่อติดตอมายังคลับเฮาส ในกรณีที่ตองการบริการตางๆ ตัวบานไดรับการออกแบบใหสามารเข็นรถผูปวยผานหองนอน หองน้ํา หองนั่งเลน และเขาออกตัวบานไดอยางสะดวก ภายในหองน้ํามีราวจับเพื่อพยุงตัวและกันลื่น บานแตละหลังเปนบานชั้นเดียว ไมมีร้ัวถาวรระหวางบาน แตทําเปนแนวไมพุมไมดอกเพื่อความสวยงามของภูมิทัศน และสามารถมองเห็นและสรางความสัมพันธกับเพื่อนบานกันไดอยางอบอุน ในสวนของคลับเฮาส ออกแบบใหมีสวนบริการตางๆ เชน ศูนยการแพทยสหคลินิกบางไทร ฮอสปเฮาส ซึ่งเปนศูนยการแพทยของโครงการในสวนการดูแลในภาวะฉุกเฉิน มีแพทยเวรตลอด 24 ชั่วโมง มีศูนยสปา (SPA) ทางการแพทย หองอาหารครัวสุขภาพ และหองประชุมขนาดใหญ และในขณะนี้ กําลังดําเนินการขยายโครงการเปน เวลเนส ซิต้ี หรือเมืองสุขภาพดี ซึ่งจะประกอบดวย โครงการ 5 โครงการไดแก 1) โครงการหมูบานบางไทรฮอสปเฮาส 2) โครงการหมูบานเวลเนสโฮม 3) โครงการโรงพยาบาลบางไทรฮอสปเฮาส 4) โครงการเวลเนสเนอรสเซอร่ี และ 5) โครงการบริษัท ดอกเตอรเซลล จํากัด ประเภทที่ 3 การใหบริการในลักษณะการพํานักระยะยาว (Long-stay) จัดเปนประเภทของการใหบริการในรูปแบบธุรกิจ ในรูปแบบโครงการที่สรางขึ้นโดยมีวัตถุประสงค เปนที่พํานักอาศัยระยะยาว หรือที่เรียกวา ลองสเตย (Long-stay) กลุมลูกคาที่มาใชบริการสวนมากจะเปนชาวตางชาติที่เขามาทํางาน ทําธุรกิจ หรือมาพักรักษาตัวในประเทศไทย และตองการหาที่อยูที่สะดวกสบาย เพื่อพักอาศัยเปนเวลาที่คอนขางยาวนานกวาการเขามาเพื่อทองเที่ยวธรรมดา และลูกคาที่เขามาในลักษณะนี้จะมีผูสูงอายุเขามาดวย ซึ่งสวนหนึ่งเขามาเพื่อการรักษาสุขภาพ และสวนหนึ่งเขามาเพื่อหนีอากาศหนาวเย็นในประเทศของตน ตัวอยางเชน โครงการ ศรีปทุม-ลองสเตย รีสอรท สปอรตคลับ ซึ่งตั้งอยูที่ อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี จัดเปนโครงการตัวอยางและโครงการนํารองของธุรกิจลองสเตย ที่ภาครัฐเร่ิมหันมาใหความสนใจ ลูกคาที่ เขามาเชาพักระยะยาวมีชาวตางประเทศทั้งญี่ ปุน เกาหลี โดยเฉพาะกลุมลูกคาผูสูงอายุจากสแกนดิเนเวีย หรือชาวยุโรปจะหนีอากาศหนาวเขามาพักในโครงการจํานวนมากในชวงประมาณธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ ซึ่งเปนชวงที่หนาวจริงๆ ของเขา

359

Page 7: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

และสวนหนึ่งก็ถือโอกาสเขามาตรวจรักษาสุขภาพดวย เพราะคาใชจายในดานนี้ของไทยเรายงันบัวาถูกมากเมื่อเทียบกับประเทศของเขา สวนลูกคาคนไทยสวนใหญจะใหคุณพอ คุณแม คุณยาย ฯลฯ มาเชาพัก เสาร อาทิตยก็มาเยี่ยมเยือน หรือมาคางคืนดวย ผูสูงอายุที่มาพักอาศัยจะไดรับการดูแล เปนเพื่อนพูดคุย และคอยบริการ เชน รับซื้อขาวของเครื่องใช นอกจากนั้นในสวนของรีสอรทจะมีลูกคาทั้งที่เปนกลุมขาราชการและพนักงาน บริษัทเอกชน ที่ตองการใชพื้นที่จัดสัมมนา จัดกิจกรรม รับนองใหม หรือทีมกีฬามาเชาพักเพื่อทําการฝกซอมหรือเก็บตัว ขณะนี้ชื่อเสียงของโครงการก็เร่ิมเปนที่รูจักของลูกคาในวงกวางมากขึ้น และกําลังเรงพัฒนาสภาพแวดลอมโครงการ อาคารที่พัก และศูนยกีฬา ใหกาวไปสูความเปนลองสเตยและศูนยกีฬาเพื่อสุขภาพที่สมบูรณแบบในอนาคตอันใกล

360

Page 8: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

15.1.2 ความตองการของผูสูงอายุตอการไดรับการบริการในดานตางๆ ในประเด็นนี้ ผูวิจัยพบวาความสุขและความตองการของผูสูงอายุที่ไดจากการสัมภาษณมีความสอดคลองกับขอมูลทุติยภูมิซึ่งเปนผลการวิจัยสวนหนึ่งของ ปติพีร รวมเมฆ ที่ทําการวิจัย ชุดวงจรชีวิตครอบครัวไทย เมื่อตนป 2549 ดังนี้ 1) ความสุขในชีวิต คือ ครอบครัวและลูกหลาน คือการไดอยูพรอมหนาพรอมตาในครอบครัว มีลูกกตัญู มีลูกหลานรักและเขาใจใกลชิดคอยดูแลและทํากจิกรรมรวมกัน ลูกหลานเปนคนดปีระสบความสําเร็จในหนาที่การงานมีความเปนอยูที่ดี ลูกอยูในสังคมที่ดี ลูกๆ รักใครกลมเกลียวกนั ซึ่งสอดคลองกับ ศรีเรือน แกวกังวาน (2549) ที่กลาววา ในสังคมไทยมักจะสอนใหบุตรหลานหรอืเด็กเคารพตอผูใหญ ใหเกียรติแกคนรุนปูยาตายาย การดูแลชวยเหลือผูสูงอายุเปนสิง่ที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งบตุรหลาน และญาติผูใดเพกิเฉยละเลยการกระทาํนี้อาจไดรับคําตําหนิจากสังคม การดูแลชวยเหลือดังกลาวนี้จะทาํใหผูสูงอายุเกิดความมัน่คงทางจิตใจ เพิ่มความสนใจ และความสบายใจใหผูสูงอายุมากขึ้น ซึง่จะทําใหมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อันเปนสวนสําคญัใหผูสูงอายยุืนอีกดวย นอกจากนี้ ความสุขในชีวิตของผูสูงอายุไทย คือ ความสบายใจ ความสงบสุข การไดสวดมนตไหวพระ การไดใชชีวิตอยางสงบสุข ปราศจากปญหาความกังวลใจ การรูจักปลอยวาง การมีสังคมและเพื่อน การมีเงินพอที่จะใชจายไดตามใจตนเอง การมีสุขภาพที่แข็งแรง การเสียสละ การไดชวยเหลือสังคม การไดทําความดี และการไมเปนหนี้ 2) ความตองการในแตละชวงวัยของผูสูงอายุ ผูวิจัยพบวาสิ่งที่คนสูงอายุตองการนั้น จะขึ้นอยูกับผูสูงอายุแตละคนแตละวัยที่ไมเหมือนกัน ดังนี้ สําหรับผูสูงอายุที่ยังแข็งแรงชวยเหลือตัวเองไดดี ในชวงตนๆ ที่เพิ่งเกษียณ เชน อายุ ประมาณ 60-65 ป ซึ่งเปนชวงที่เขายังแข็งแรง สามารถชวยเหลือตัวเองไดนั้น เขาคงไมคิดที่จะใหใครชวย และก็คงมีความคิดที่จะทําอะไรตออะไรเหมือนคนวัยปกติที่ยังไมสูงอายุทั่วไป เชนคิดวาจะไปเที่ยวกับสามีตามลําพังสองคน ไปทํากิจกรรมตัวเองชอบที่อยากทํา แตไมไดทํา เพราะในชวงวัยทํางานนั้นก็เปนชวงที่ตองสรางครอบครัวหาเลี้ยงครอบครัว จนไมมีเวลาเปนของตัวเองเทาที่ควร ยังอยากทําอะไรที่เปนประโยชนแกสังคม คนที่ชอบทางธรรมะก็อยากจะใชเวลาหลังอายุ 60 ป ทําทางดานธรรมะอยางเดียวเลย ถาเปนนักวิชาการก็อยากจะทําประโยชนใหสังคม เชน อยาก

361

Page 9: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

ไปเปนวิทยากรบรรยาย อยากไปชวยสอนเด็กๆ เชนสอนภาษาไทยสอนภาษาอังกฤษตามที่แตแตละอยากจะทํา บางคนที่ชอบทองเที่ยวก็จะคิดไปทองเที่ยว อยากทําสิ่งที่เขาชอบ คนทีไ่มเคยไดทาํในสิง่ที่อยากจะทําในชวงวัยทํางาน ก็คิดวาเมื่อเกษียณแลวจะเริ่มตนชีวิตดวยการทําสิ่งที่อยากทําใหหายอยากไปเลย เชน เลนดนตรีที่เคยชอบแตเมื่อกอนไมเคยมีเวลาที่จะไดเลน อยากหาทางรวมกลุมเพื่อนฝูงที่สนิทกันเพื่อทํากิจกรรมอะไรสักอยางเพื่อเปนการหาโอกาสพบปะสังสรรคสนุกสนานกับเพื่อน ผูสูงอายุชอบคุยกันเลาเรื่องราวในอดีตสูกันฟง คนสูงอายุที่ยังชวยเหลือตัวเองไดนี้ คงไมมีใครที่ตองการพึ่งพาใครหรือรบกวนใคร เพราะเขาคิดวาเขาก็ยังไมแก สอดคลองกับที่ พีระศักดิ์ กรินทนาคะ (2535: 5) ไดกลาวไวในงานวิจัยวา คนสูงอายุที่ยังอยูในระดับสูงอายุออนๆ (Young Old) คือ เปนคนสูงอายุที่ยังเปนหนุม สามารถใชชีวิตเชนชายหนุมหญิงสาวในสังคมไดตามปกติ มีสภาพจิตใจที่สนุกสนานกับชีวิต ยังมีผลงานการวิจัยของ ปติพีร รวมเมฆ (2549) ที่ทําการวิจัยในเรื่องกิจกรรมของผูสูงอายุในกลุมตัวอยาง พบวาวัยสูงอายุเปนชวงที่ปลอดภาระทั้งเรื่องงานและการดูแลบุตร จึงมีเวลาวางคอนขางมากกิจกรรมการทองเที่ยวจึงเปนกิจกรรมหนึ่งที่กลุมตัวอยางใหความสนใจ พบวากลุมตัวอยางจํานวนหนึ่ง จะนิยมไปทองเที่ยวทั้งในประเทศและตางประเทศโดยไปกับเพื่อนหรือลูกหลาน ไปออกกําลังกาย ไปทําบุญในวันสําคัญทางศาสนา ไป Shopping หรือทําอาหารรับประทานกันเองในบาน ชวงหลานปดเทอมก็ไปเที่ยวดวยกันกับลูกหลาน บางคนก็บอกวาชวนลูกหลานสวดมนตเวลาที่ไดอยูดวยกัน ดังนั้นจึงสรุปไดวา การบริการที่คนสูงอายุในชวงที่ยังชวยเหลือตัวเองไดตองการนั้นคือ การบริการในสวนที่เปนกิจกรรมสันทนาการตางๆ ที่ทําใหเขามีชีวิตชีวาไดสนุกสนาน (Enjoy) กับชีวิต ตองจัดใหเขาไดมีสังคม มีความรูสึกอบอุนของการเปนครอบครัว ในขณะเดียวกันก็ตองคํานึงความเปนสวนตัวความเปนอิสระของชีวิต (Independent) ใหรูสึกมีชีวิตที่ผอนคลาย (Relax) เชน บางคนที่ชอบการเตนรําลีลาศก็อยากเตนรําลีลาศ ตองการออกกําลังกาย ตองการปลูกตนไมดอกไม ตองการสรรหาอาหารอรอยๆ ตองการดูหนังฟงเพลง รองเพลง อานหนังสือ ความเปนอิสระ ไปทองเที่ยว ไปทําบุญ และเนื่องจากเพิ่งผานพนวัยทํางานมาไมนานก็ยังรูสึกวาตัวเองยังทํางานไดอยูจึงอยากทํางาน ถาใครมองวาเขายังมีคุณคาเขาก็จะมีความสุข คือขอใหมีอะไรทําเชนการไปบรรยาย หรือไดชวยเหลือสังคมก็มีความสุข สําหรับคนสูงอายุที่อยูในชวงชวยเหลือตัวเองไดบางไมไดบาง หมายถึงเปนชวงที่เขาเริ่มมีสุขภาพที่ออนแอลงมากแลว กิจกรรมตางๆ ก็เร่ิมลดนอยลง เพราะบางชวงก็ตองหยุดพักรักษาสุขภาพ การเดินเหินไปไหนมาไหนก็คงไมคลองแคลวเหมือนเดิม มีปญหาเรื่องสุขภาพ

362

Page 10: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

มากขึ้นเพราะเดี๋ยวเจ็บนั่นเจ็บนี่ ดังนั้นการบริการที่ตองการในชวงนี้คือ การบริการดานสุขภาพการตรวจรักษาสุขภาพ การไดรับการดูแลในขณะเจ็บปวย การชวยเหลือทํางานบานซึ่งเมื่อกอนยังสามารถทําเองได คนในชวงนี้ก็จะเริ่มรูสึกวาตัวเองคงจะแกแลว คนสูงอายุในชวงนี้ยังเรียกวา เปนคนสูงอายุปกติหรือระดับกลาง (Middle Old) คือ คนชราที่ยังคงสามารถชวยเหลือตนเองได แตบางครั้งบางคราวอาจตองไดรับการชวยเหลือจากผูอ่ืน ซึ่งการถดถอยของสภาพรางกาย ทําใหตัวผูสูงอายุเร่ิมตองอยูกับตัวเองมากขึ้นเนื่องจากการทํากิจกรรมนอกสถานที่จะเริ่มลดนอยลง เร่ิมเหงา นอกจากไมสบายตัวแลวก็ยังไมสบายใจ และทําใหเร่ิมคิดมากขึ้น อาจมีอารมณแปรปรวนได เพราะไมคอยไดออกไปสังสรรคกับเพื่อน บางคนอาจหงุดหงิดงาย แตก็เปนชวงที่ทําใหผูสูงอายุมีโอกาสพักผอนมากขึ้น ดังนั้นจึงสรุปไดวา การบริการที่ผูสูงอายุในชวงวัยนี้ตองการ คือการรักษาใหหายจากเจ็บปวย การชวยเหลือดูแลเปนบางครั้ง การชวยเหลืองานบานในสวนที่เปนงานหนักหรือทั้งหมด และเนื่องจากความเหงาที่เพิ่มมากขึ้น ส่ิงที่ผูสูงอายุชวงนี้ตองการมากขึ้นคือ อาหารทางใจ ตองการเพื่อนแกเหงา ตองการใหลูกหลานเขาหาเพราะไปหาลูกหลานไมคอยไหว บางครั้งอาจตองการการบริการดานจิตเวช ตองการการบีบนวดเพื่อนผอนคลาย ผูสูงอายุในชวงนี้จะมีความตองการทางดานจิตใจ (Mind) มากขึ้นกวาชวงแรก สําหรับคนสูงอายุที่อยูในชวงที่ชวยเหลือตัวเองไมไดแลว คือเปนชวงที่เขาชรามากจริงๆ (Old-Old) สภาพทางรางกายชราภาพมาก เมื่อมีอาการเจ็บปวยก็หายยาก อยูในสภาพที่เหมือนยอนกลับไปเปนเด็กอีกครั้ง อาหารก็ตองเลือกเฉพาะที่รับประทานได บางคนอาจรับประทานดวยวิธีปกติไมไดจึงตองใชวิธีใหอาหารทางสายยาง ควบคุมการถายหนักเบาไมได เปนชวงที่เขาตองการความชวยเหลือจากผูอ่ืนทั้งทางตรงและทางออม การเสื่อมสภาพทางรางกายจะทาํใหมีลักษณะการหลงลืม หูตึง ออนแอมากชวยเหลือตนเองไมได การเดินเหินแทบจะทําดวยตนเองไมได จึงตองการคนชวยเหลือตลอดเวลา ซึ่งทุกคนลวนตองมาถึงจุดนี้ของชีวิต เปนชวงที่ผูสูงอายุจะรูสึกวาตัวเองถดถอยมากๆ ถาทําใจไมไดก็จะรูสึกทอแท หมออาลัยตายอยาก และบางครั้งถึงขั้นอยากตาย ดังนั้นจึงสรุปไดวา การบริการที่ผูสูงอายุในชวงวัยนี้ตองการ คือการดูแล (Nursing Care) ชวยเหลืออยางใกลชิด ทั้งเรื่องการใหอาหาร จายยา การชวนคุย อานหนังสือหรือรองเพลงใหฟงเพื่อไมใหผูสูงอายุเหงา การดูแลทางจิตใจเปนเรื่องสําคัญมาก จึงควรใชทางศาสนา

363

Page 11: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

มาชวยเพื่อทําใหผูสูงอายุสบายใจ ผูสูงอายุในชวงนี้ไมตองการพื้นที่มากเพราะอาจไมไดเดินเหินไปไหน จึงไมตองการพื้นที่ใหญโตแตตองคํานึงอากาศที่ถายเทไดดีไมรอนไมหนาว อาหารการกินที่สะอาด เพื่อปองกันการติดเชื้อ สิ่งที่ผูสูงอายุในชวงนี้ คงไมใชดานวัตถุ (Material) แตผูสูงอายุตองการความรัก (Love) ทางดานจิตใจ (Mind) มากกวา ตองการความรักความผูกพัน เอื้ออาทรมากกวา และจากการศึกษา พบวาสิ่งที่สําคัญที่สุดอยางหนึ่งที่สามารถใหบริการแกผูสูงอายุไดในทุกชวงคือ การใหบริการทางดานจิตใจ ทางดานศาสนา ธรรมะ เพราะทําใหผูสูงอายุผอนคลาย เกิดปญญา เกิดความเขาใจในกาย และสังขาร ดังที่นายแพทย ชูฤทธิ์ เต็งไตรสรณ ไดบรรยายในการประชุมวิชาการ ที่กรมพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2547 ซึ่งทานไดอธิบายในประเด็น “กายกับจิตสัมพันธกันเชนไร” ไววา ชีวิตคนเราประกอบไปดวยกายกับใจ ดังนั้นชีวิตที่ดียอมตองอยูในสภาพที่ดีทั้งรางกายและจิตใจ รางกายของคนเราเมื่อเกิดโรคภัยไขเจ็บข้ึนยอมมีเหตุที่มาของโรคนั้นๆ สาเหตุอาจเนื่องมาจากตัวเชื้อโรค สภาพแวดลอมเปนพิษ สภาพจิตใจที่สับสน ออนแอ ฯลฯ สวนจิตใจที่เปนโรค คือ จิตใจที่เปนทุกข หดหู หงอยเหงา วาเหว โศกเศรา เพราะจิตครุนคิดปรุงแตงกอทุกขไปตางตางนานา รางกายที่มีทุกข จะทําใหเกิดความทุกขเพิ่มมากขึ้น และใจที่ทุกขเพิ่มข้ึนนี้ก็จะสงผลกลับไปทําใหสภาพรางกายทรุดโทรมลงไปอีก และรางกายที่ทรุดโทรมก็สงผลตอเนื่องใหจิตใจทรุดลงสืบเนื่องไปอีก เมื่อผูปวยเกิดความทุกขใจข้ึนมา นอกจากจะเกิดผลตอตัวผูปวยเองแลว ยังสงผลตอเนื่องใหใจของญาติที่อยูใกลชิดเกิดความทุกขตามไปดวย เมื่อญาติเกิดความทุกขใจ ก็มีผลยอนกลับไปทําใหใจของผูปวยพลอยทุกขเพิ่มข้ึนไปอีกเชนกัน ดังนั้น ถาหากเราสามารถฝกใจใหลดความทุกขลงได ยอมจะสงผลทําใหสภาพรางกายดีข้ึน เมื่อรางกายดีข้ึนก็สงผลใหสภาพจิตใจดีข้ึนเชนกัน ผูวิจัยขอสนับสนุนการใหบริการเสริมสรางทางดานจิตใจ โดยอาศัยดานศาสนา เพื่อใหเกิดปญญา เพราะในศาสนาพุทธนั้นถือวา อวิชชาคือตัวไมรู บางคนไมรูไมยอมรับความจริงวาคนเรามันตองเกิด แก เจ็บ ตาย ทุกคน ความไมรูก็คืออวิชชา นั่นเอง แตทําอยางไรถึงจะรู ถารูแลวก็ไมหนักใจ ถาไมรูมันก็หนักใจ ตองทําใหรูวาสุขภาพมันก็เปนตามธรรมชาติ เหงาก็เปนเร่ืองของจิตใจ ถาเราสามารถทําใหผูสูงอายุเตรียมรางกาย และจิตใจพรอมแลว คนสูงอายุก็จะไมหนักใจ และการใหความสุขแกผูสูงอายุนั้นคงไมใชใหแตความสุขดานปรุงแตงเทานั้น แตตองใหความสุขที่แทจริง คือความรู ความเปนสัจธรรม จึงควรนําเรื่องธรรมะเขาไปไวในธุรกิจบริการผูสูงอายุดวย เพื่อใหผูสูงอายุไดเขาใจธรรมะ เมื่อเขาใจแลว เมื่อนั้นคือความสงบใจ เมื่อสงบใจ แลว

364

Page 12: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

ไมวาจะอยูที่ไหนๆ สงบหมด ก็เปนความสุขที่แทจริง คือการหลุดพนจากการหวง และถือวาเปนการใหบริการสําหรับผูสูงอายุ ที่สามารถใหไดครบทุกดาน ทั้งดาน กาย จิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ (ปญญา)

365

Page 13: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

15.1.3 การพัฒนานวัตกรรมธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ ในประเด็นนี้ ผูวิจัยไดใชวิธีการศึกษาจากขอเสนอแนะของนักวิชาการ นักวิจัย นักธุรกิจ ผูสูงอายุ ญาติของผูสูงอายุ ผูดูแล ตลอดจนการสังเกตสถานประกอบการที่เกี่ยวของกับการใหบริการผูสูงอายุ และศึกษาขอมูลทุติยภูมิโดยการทบทวนวรรณกรรมสวนหนึ่ง พบวาการใหการบริการเพื่อตอบสนองความตองการในดานบริการสําหรับผู สูงอายุ ควรประกอบดวยสิ่งตางๆ ดังนี้คือ 1) อาคารสันทนาการ (Clubhouse) เปนสถานที่ใหบริการแกผูสูงอายุที่อยูภายในโครงการ และผูสูงอายุที่มาจากภายนอก ซึ่งกลุมลูกคาผูสูงอายุจากภายนอกเหลานั้น จะมีสวนชวยทําใหโครงการคึกคักมีชีวิตชีวา (Alive) และยังทําใหผูสูงอายุที่อยูภายในโครงการไดมีโอกาสพบเพื่อนใหม มีสังคม (Social) ที่กวางขวางขึ้น ตําแหนงที่ต้ังคลับเฮาส ตองคํานึงถึงความสะดวกในการเดินทางของผูสูงอายุที่อยูภายในโครงการ และผูสูงอายุที่เปนบุคคลภายนอก กิจกรรมภายในคลับเฮาส ตองไมกอใหเกิดมลภาวะทําลายความสงบ หรือความเปนสวนตัว (Private) ของผูสูงอายุที่อาศัยอยูภายในโครงการ พื้นที่ในสวนของคลับเฮาสจะตองจัดแบงเปนสัดสวนเพื่อกิจกรรมตางๆ อยางเหมาะสม เชน 1) หองพยาบาล (Nursing Room) 2) หองอาหาร (Canteen or Food Center) 3) หองบริการนวดเพื่อสุขภาพ (SPA) 4) หองสมุด (Library) พรอมมุมกาแฟและเครื่องดื่ม (Coffee Corner) 5) หองแสดงของสะสม (Collection Room) 6) หองดูหนังฟงเพลง (Home theatre Room) 7) หองรองเพลง (Music Karaoke Room) 8) หองนั่งเลน (Rest Room) 9) หองเลนเกม (Game Room) 10) หองประชุม (Conference Room) 11) หองรับรองแขก (Guest Room) 12) หองทําครัว (Kitchen) 13) หองออกกําลังกาย (Exercise Room) 14) หองเตนรําลีลาศ (Dancing Room) 15) สระวายน้ํา (Swimming Pool) 16) หองพระ (Meditation Room) 17) หองธุรการ (Service Room) และมี 18) ศาลาปฏิบัติธรรม เปนตน และควรมีพื้นที่สวนของกิจกรรมกลางแจง (Opened-air) เชน แปลงผักสวนครัว สวนไมดอก ลานสันทนาการ มีบึงหรือทะเลสาบสําหรับพายเรือ เปนตน

366

Page 14: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

2) กิจกรรมตางๆ (Activities) การจัดกิจกรรมตางๆ มีวัตถุประสงคเพื่อเปนการพบปะสังสรรคและเอื้ออาทรตอกัน มาแลกเปลี่ยนเรียนรู มาดูแลซึ่งกันและกัน เพราะผูสูงอายุถาอยูเฉยๆ สมองไมทํางาน หรือรางกายไม Exercise สุขภาพจะไมดี ตองใหมีสุขภาวะทั้ง 4 ดาน คือ กาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตัวอยางลักษณะกิจกรรมที่ควรมี ไดแก 1) จัดนําเที่ยว 2) การจัดกิจกรรมประจําเทศกาล ตางๆ 3) จัดเทศกาลดนตรี 4) กิจกรรมเพื่อสังคม 5) กิจกรรมฝกฝนกลามเนื้อ 6) จัดสัมมนาเลาประสบการณ 7) เรียนภาษา 8) ตั้งวงไพลับสมอง 9) จัดงานลีลาศ 10) การออกกําลังกายเบาๆ 11) สอนทําอาหาร หัตถกรรม 12) กิจกรรมทางศาสนา 13) ฝกสมาธิ ฝกโยคะ ฝกพลังจักรวาล 14) ฝกสัตวเลี้ยง 15) งานชางตางๆ 16) ปลูกผักสวนครัว ปลูกดอกไม เปนตน 3) การบริการในดานตางๆ (Service) ภายในโครงการควรมีการใหบริการในดานตางๆ เชน ใหบริการทางการแพทย บริการตรวจสุขภาพ การปฐมพยาบาล มีระบบการสงตอผูปวย บริการนวดเพื่อสุขภาพ (SPA Massage) นอนนวดตัว นวดหนา นวดศีรษะ บริการรถรับสง (Transportation) อํานวยความสะดวกใหกับผูสูงอายุ บริการหาคูหาเพื่อน (Match making) เขาอาจตองคูตองการเพื่อน บริการนําสงโรงพยาบาลฉุกเฉิน ดวยเฮลิคอปเตอร การใหบริการอื่นๆ เชน ปรึกษาปญหาตางๆ ปญหาทางดานจิตใจ ดานการเงิน การจัดการมรดก บริการดานการจัดพิธีการทางศาสนาเมื่อเสียชีวิต เปนตน

4) ศูนยรวมบริการ (Mall) ควรจัดพื้นที่เปนหนวย (Module) ยอยๆ และใหผูสูงอายุมีสวนรวมในการใหบริการ โดยมีบริการดานตางๆ เชน สอนภาษาจีน ภาษาญี่ปุน ภาษาอังกฤษ สอนทําอาหาร ไทย จีน ฝร่ัง สอนทําขนมตางๆ สอนเลนดนตรี ขิม ซอ ไวโอลิน เปยโน รับจัดดอกไม มี Work Shop สําหรับผูชอบงานชาง บริการรับจัดงานแตงงาน จัดหาคูหาเพื่อน (Matching) ใหผูสูงอายุ มีบริการคลังสมอง (Job Matching) หางานใหผูสูงอายุ รานสัตวเลี้ยงสวยงาม สุนัข ปลา นก รานขายของหัตถกรรมของที่ระลึก (Gift shop, Souvenir shop) สอนหัตถกรรมงานฝมือ รานขายหนังสือ บริการซักรีดเสื้อผา เปนตน

367

Page 15: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

5) ที่อยูอาศัย (Residential Area)

เปนบริเวณที่อยูอาศัยอยูในพื้นที่แยกออกจากสวนอื่นเพื่อความสงบ มีบรรยากาศของสิ่งแวดลอมที่เปนธรรมชาติ โดยมีรูปแบบเปนบานเดี่ยว หรืออาคาร ใหเลือกตามความชอบของผูสูงอายุ โดยเนนโครงสรางการออกแบบที่เอื้ออํานวยความสะดวก และความปลอดภัยสําหรับผูสูงอายุ ในสวนของที่พักอาศัยนี้ สามารถทําไดในรูปแบบตางๆ กันตามความตองการ และกําลังทรัพยของกลุมลูกคาเปาหมาย ซึ่งอาจทําเปนรูปแบบเดียวกันทั้งหมด หรือทําหลายรูปแบบรวมอยูในโครงการเดียวกัน แตไมควรใหมีการเหลื่อมลํ้ากันมากเกินไปในเรื่องของฐานะ เพราะอาจเกิดเปนปญหาตอการบริหารโครงการในภายหนาได การออกแบบจะตองคํานึงถึงสภาพรางกายของผูสูงอายุ วาเปนผูที่มีสภาพรางกายที่ถดถอยกวาตอนยังหนุมสาว คนสูงอายุมักมีปญหาเรื่องสายตา ปญหาการเคลื่อนไหวเดินทางที่เชื่องชา มีความมั่นคงในการทรงตัวลดนอยลง ผูสูงอายุสวนใหญที่มีอายุ 70 กวาขึ้นไปนั้น การเดินทางจะไมคอยสะดวก และควรสรางบรรยากาศของความเปนครอบครัวที่อบอุน

6) โรงเรียนฝกสอนผูดูแล (Nurse Aid Training School) เนื่องจากการบริการผูสูงอายุ มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองใชคนดูแลที่มีความรู คนดูแลจึงตองผานการฝกอบรมมากอน การผลิตผูดูแลจึงสามารถเปนธุรกิจหรือสวนหนึ่งของธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องได (Related Business) ซึ่งขอดีของการผลิตคนดูแลเองคือ สรางคนใหมีคุณสมบัติตามที่ตองการได คัดคนที่มีคุณภาพไดมากกวา และยังสามารถสงคนดูแลไปใหศูนยดูแลตางๆ ไดอีกดวย ในกรณีที่สถานประกอบการ จํานวนลูกคายังไมพรอม และอาจมองเห็นวาไมใชธุรกิจหลัก (Core Business) ก็ควรใชวิธีการ Outsource ไปกอน 7) โรงเรียนอนุบาล (Nursery) สําหรับใหลูกเอาหลานมาสงไวในตอนเชา พอถึงตอนเย็นก็มารับกลับบาน ปูยาตายาย ก็มาดูไดดวย ทําใหลูกไดไปมาหาสูพอแมผูสูงอายุ และหลานๆ ก็ไดใกลชิดปูยา ตายาย

368

Page 16: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

8) อาคารดูแลผูปวย (Nursing Home) เปนอาคารสําหรับบริบาลผูปวย แบงออกเปนสัดสวนสําหรับผูปวยที่ตองการการดูแลระยะสั้น (Short-term Care) และ ผูปวยที่ตองการการดูแลระยะยาว (Long-term Care) Nursing Care บริการดูแลคนปวยภายในศูนยตลอด 24 ชั่วโมง โดยมีการใหบริการอื่นๆ ดวยเชน Home-care Center เปนศูนยจัดสงคนไปดูแลตามบานพัก หรือหองพักของผูสูงอายุ เพื่อเปนเพื่อน เปนคนดูแลผูปวย งานบาน ทําอาหาร บริการบําบัดแบบ สัตวเลี้ยงบําบัด (Pet therapy) หรือบริการบําบัดแบบ ธาราบําบัด (Hydro Therapy) เปนตน ในการดูแลผูปวยนั้นโดยปกติอาจใชวิธีสงคนไปดูแลที่บาน (Home Care) หรือใหคนปวยมาอยูที่อาคารดูแลคนปวย (Nursing Home) ซึ่งมักมีคําถามวาแบบไหนดีกวากัน ผูวิจัยจึงไดเปรียบเทียบขอดีขอเสียของทั้งสองแบบไวในตาราง ดังนี้ ตารางที ่17 เปรียบเทยีบการดูแลตามบาน (Home Care) และการดูแลในสถานดูแล (Nursing Home)

เปรียบเทียบ ดูแลตามบาน (Home Care) ดูแลในสถานดูแล (Nursing Home)

ขอดี รูสึกอบอุนทีย่งัอยูกับครอบครัว ลูกหลานไมตองไปเยี่ยมนอกบาน คาใชจายอาจถูกกวา

มีคนดูแลหลายคน มีคนตรวจ (Round) อยางสม่ําเสมอ เกิดเหตุฉุกเฉนิก็ชวยเหลือไดดีกวา ไมตองเปนภาระของเจาบาน

ขอเสีย คนดูแลทําไดอยางจาํกัด คนดูแลก็เปนภาระของเจาบาน คนดูแลจะเหนื่อยกวา

ขาดความอบอุนแบบครอบครัว ลูกหลานตองเดินทางไปเยีย่มนอกบาน คาใชจายอาจสูงกวา

Nursing Home และที่อยูอาศัยทั้งหมดนี้ ควรอยูในพื้นที่โครงการเดียวกัน ถามีความจําเปนผูสูงอายุก็ยายจากที่อยูอาศัยไปยัง Nursing Home ไดเลย แตก็ควรแยกโซน (Zone) ออกจากกันอยางชัดเจน เพราะผูสูงอายุจะรูสึกวา Nursing Home ก็เหมือนโรงพยาบาล การแยกออกจากกันอยางชัดเจนจะทําใหบรรยากาศของที่อยูอาศัยดีกวามาก

369

Page 17: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

9) การดูแลระยะสุดทาย (Hospice) Hospice คือการดูแลผูปวยในระยะสุดทาย ซึ่งหมายความวาเมื่อแพทยลงความเห็นแลววาคนไขนั้นคงไมมีโอกาสรอดแลว และกําลังจะตาย ซึ่งในระยะนี้ แพทยจะหยดุการใหยาที่ใชรักษาหรือเพื่อยื้อยืดเวลา แตอาจใหยาระงับอาการเจ็บปวดเพื่อไมใหผูปวยทรมาน ผูปวยในระยะนี้อาจรูสึกตัวหรือไมรูสึกตัว ส่ิงสุดทายที่ทําใหผูปวยคือ การแยกผูปวยออกจากผูปวยอื่น เปดโอกาสใหไดอยูกับครอบครัวลูกหลานอยางใกลชิดเปนครั้งสุดทาย หรือ นิมนตพระสงฆมาเทศนใหฟง เพื่อทําใหคนปวยทําใจ ปลง และผอนคลาย ในตางประเทศถือวาเรื่อง Hospice เปนเรื่องธรรมดา และเปนสิ่งที่ดีสําหรับการทําใหผูปวยเปนระยะสุดทายเทาที่จะทําได แตผูวิจัยพบวาคานิยมของคนไทยยังไมยอมรับในสวนนี้ เพราะคนไทยและสถานรับดูแลคนสูงอายุสวนมากของไทย จะพยายามสงผูปวยไปยังโรงพยาบาลทันที เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียชีวิตในสถานดูแลของตน ทั้งนี้ดวยเกรงวาจะทําใหผูปวยอื่นเสียขวัญ และเนื่องจากสวนมากมีสถานที่ไมเพียงพอ จึงไมสามารถแยกสวนของ Hospice ออกไปได และคนไทยยังมีความรูสึกวา เร่ืองความตายเปนเรื่องที่ไมเปนมงคล เปนเรื่องเศราโศก ผูประกอบการตางๆ จึงจําเปนตองหลีกเลี่ยงในสวนนี้ เพื่อคงไวซึ่งภาพลักษณของความสุขเทานั้น ผูวิจัยขอเสนอวา การทํา Hospice นั้นสามารถทําไดโดยแยกสวนออกไปตางหาก โดยแยกเปนหองที่มิดชิดจากสายตาของผูที่ผานไปมา สวนของ Hospice สามารถอาศัยตัวตึกของ Nursing Home โดยใหสวนของ Hospice อยูชั้นลางสุด และแยกไปอยูอีกสวนมุมหนึ่งของตัวอาคาร และอยูในมุมรถใหญแลนเขาไปได และตองออกแบบสวนของอาคารตรงนี้ใหสามารถประกอบพิธีกรรมตางๆ ไดอยางไมเอิกเกริกจนเปนที่สังเกตของคนทั่วไป และใหมีประตูเขาออกของพิธีการตางๆ ที่ตองเคลื่อนยายศพของผูเสียชีวิตใหส้ันที่สุดเทาที่จะทําได 10) เทคโนโลยี (Technology) โครงการควรมีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใหบริการดานความสะดวก และเพื่อความปลอดภัยของผูสูงอายุที่อยูในโครงการ เชน 1) ระบบสํารองพลังงาน (Emergency Power) 2) ระบบกลองวงจรปด (CCTV-Closed Circuit Television) 3) ระบบแจงเหตุฉุกเฉิน (Emergency Call) 4) ระบบโทรศัพท (Telephone) 5) ระบบวิดีโอคอนเฟอรเรนซ (Video Conference) 6) อุปกรณติดตามตัวผูสูงอายุ (Sensor) เปนตน

370

Page 18: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

11) ลักษณะสิทธิการเขาอยูอาศัย (Proprietary Right) การใชสิทธิ์เขาอยูอาศัยในโครงการที่สรางขึ้นสําหรับผูสูงอายุนั้น ตองกําหนดใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการในระยะยาว รูปแบบที่เหมาะสมนั้นจะขึ้นอยูกับ ระดับของกลุมลูกคาเปาหมาย และ เงินทุนของผูประกอบการ ซึ่งสิทธิการเขาอยูอาศัยนี้มีรูปแบบใหเลือกใช จะคลายกับธุรกิจอสังหาริมทรัพยทั่วๆ ไป คือ 1) การซื้อ ขอดีคือเจาของโครงการจะไดเงินเร็ว แตทําใหโครงการยากที่จะคงรูปแบบหลักการในระยะยาว 2) การเซง ขอดีคือผูซื้อไมตองใชเงินมากและรักษารูปแบบไดงาย แตอาจมีปญหาเรื่องการพยากรณอายุขัยของผูเซง 3) การเชา ขอดีคือผูเชาไมตองลงทุนมาก แตอาจมีปญหาเรื่องตองซอมบํารุงบอยเมื่อเปล่ียนผูเชา และไมควรใหเชาระยะสั้นเกินไป ดังนั้น ถาหากโครงการมีความจําเปนตองทําแบบผสม ก็ควรตองแยกเปนโซน (Zone) สวนที่จะขายออกจากโซนสวนที่จะใหเซงหรือเชา เพื่อรักษาภูมิทัศนและรูปแบบของโครงการไวใหไดในระยะยาว และควรวางแผน และมีขอกําหนดตางๆ ใหเหมาะสมกับรูปแบบ และกลุมลูกคาเปาหมาย 12) รูปแบบการเงิน (Financial Model) ผูประกอบการจะตองคํานึงถึง รูปแบบการใหบริการ การรักษาความตอเนื่องของโครงการ (Maintain) อายุขัยของลูกคา แลการกําหนดรูปแบบการ ซื้อ เซง หรือเชา ใหเหมาะสมและสอดคลองกัน ใหมีความเปนไปได และเกิดประโยชนสูงสุดแกทุกฝาย ตัวอยางรูปแบบการเงินสําหรับลูกคามีดังนี้คือ 1) ใชเงินสด 2) ขายบานเกา แลวซื้อ เซงกรรมสิทธิ์ บานใหม 3) สิทธิการอยูแบบหมุนเวียน (Time-sharing) 4) มูลคาสวนเหลือ (Residual Value) 5) การจายเงินดาวน (Down Payment) การศึกษาในประเด็นการดแูลผูสูงอายุในครอบครัวของสังคมยุคใหมพบวา ผูใหขอมูลสําคัญสวนใหญเชื่อวา แมวาคานิยมและวัฒนธรรมของคนไทย และคนจนีในไทยจะยงัคงยึดมั่นในความกตัญูที่ตองเลี้ยงดูพอแม และไมคอยกลาคิดถงึการสงพอแมไปใหผูอ่ืนดูแล แตแนวโนมการดูแลผูสูงอายุในประเทศไทยกก็ําลังจะเปลี่ยนไป โดยจะตองพึง่พาการดูแลโดยสถานดูแลมากขึ้น หรืออาจมีการใชบริการดูแลตามบานมากขึ้น ทั้งนี้เพราะสภาพเศรษฐกิจที่เปลีย่นแปลงไป แนวโนมการเปนครอบครัวเดี่ยวมมีากขึ้น ทําใหวยัแรงงานตองออกไปทํางานนอกบาน จึงขาดคนดูแลในครอบครัว ประกอบกับการหาคนใชมาอยูตามบานกน็ับวันจะหาไดยากยิ่งขึน้ และยัง

371

Page 19: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

กลายเปนภาระของครอบครัวในการดูแลคนใชอีกสวนหนึ่งดวย และยงัมีปญหาเรื่องหาคนที่ไววางใจไดยาก การอาศัยสถานบรกิารดูแลผูสูงอายุจึงนาจะมมีากขึ้น โดยทําหนาที่รับเปนภาระในการดแูลผูสูงอายุแทนลูกหลาน สวนการเลือกใชบริการดูแลตามบานหรือสงไปตามศูนยดูแลคงขึ้นอยูกับความพรอม ความเหมาะสม และความจาํเปน โดยตองคํานงึถงึความรักความอบอุน ความสะดวกของลูกหลาน ความปลอดภยัของผูสูงอาย ุและคาใชจาย เปนเกณฑในการเปรียบเทียบ และจากการศึกษาในประเดน็ คานยิมในวัฒนธรรมในการปฏิบัติตอบุพการีของสังคมไทย พบวา ผูใหขอมลูสําคัญเชื่อวา ผูสูงอายุไทยยงัยึดติดผกูพันกับลูกหลานอยากจะอยูกบัลูกหลาน และในขณะเดียวกันก็มีความยึดติดกับถิ่นทีอ่ยู มีความเกรงใจลูกหลาน ไมคอยอยากใชเงิน และมักเกบ็เงินเอาไวใหลูกหลาน การที่จะใหผูสูงอายุยินยอมยายที่อยูนัน้ ตองใหผูสูงอายุเตม็ใจ ตองกระทําแบบคอยเปนคอยไป โดยแสดงใหผูสูงอายุเหน็วา ไมไดถูกทอดทิง้ และยังคงไดรับความรักความอบอุนจากลูกหลาน การดูแลผูสูงอายุไมวาจะดูแลที่บานหรือทีใ่ด ก็ตองใหเกิดความสุขทั้งผูไดรับการดูแล และผูทีท่ําหนาที่ดูแล ความจาํเปนบางอยางอาจทาํใหตองมีการดูแลผูสูงอายนุอกบาน จึงเปนเรื่องที่ทกุฝายตองปรับเปลี่ยนคานิยม และตองอาศัยการมองในแงดีไวดวย ซึง่คานยิมและวัฒนธรรมอยูที่การปลกูฝง จงึตองปลูกฝงคานิยมในเรื่องการดูแลเลี้ยงดูพอแมและบุพการีดวยความกตัญทูี่มาจากใจจรงิ ไมใชการใชเงินหรือการทําเพียงเพื่อเงนิอยางเดียว เพราะเงินทดแทนความกตัญูไมได และควรรักษาวฒันธรรมที่ดีของคนไทยในเรื่องความกตัญูดวยการเปนตัวอยางที่ดีใหลูกหลาน โดยการปฏิบัติอยางกตัญูตอพอแม ปูยาตายายใหลูกหลานเห็น ดังนัน้การพัฒนาและดําเนนิธุรกิจบริการสาํหรับผูสูงอายภุายใตรมเงาของวัฒนธรรมไทยนัน้ จงึเปนเรือ่งที่มีความละเอียดออน ตองสามารถชี้ชดัถึงวัตถุประสงคและประโยชน โดยไมฝนความรูสึกของลูกหลานไทย และควรคํานึงถึงความเอื้ออาทร ที่สามารถเสรมิรับกับขนบธรรมเนยีมและวัฒนธรรมไทยไดอยางกลมกลืน

372

Page 20: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

15.1.4 ปญหา อุปสรรค ขอจํากัด และปจจัยแหงความสําเร็จของ ธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ

จากการวิจัยพบวา ปญหา และขอจํากัดตางๆ ที่เกิดขึ้นในธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ มีดังนี้คือ

1) ปญหาในการคาดการณอายุขัยของผูสูงอายุ คือไมมีใครทราบวาคนสูงอายุจะอยูนานสักเทาใด ถาเราอยูใน

Business Model ที่คิดวาเขาจะอยูอีก 20 ป แลวเราทํา Business Model สําหรับ 20 ป แตถาคนสูงอายุอยูไดถึง 30 ป เชนอยูจากอายุ 60 ถึง 90 ป โครงการนี้ก็จะลําบาก เพราะสวนหนึ่งของโครงการนี้จะตอง Recycle แทนที่จะ Recycle ภายใน 30 ปได 1 คร้ังครึ่ง ซึ่งถือวาเปน Turnover Time ซึ่งเรื่องนี้คงแกลําบาก เพราะถาเขามีอายุมากมากแลวจะใหเขายายออกไปในตอนนัน้คงทาํไดยาก Financial Planning จึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด ถา Planning ผิดคงลําบาก

2) ปญหาการเงินและกําลังซ้ือของลูกคา เพราะตนทุนในการบริการคอนขางสูง จึงทําใหคาบริการสูงตามไป

ดวย ธุรกิจแบบนี้จึงคอนขางเหมาะสําหรับกลุมลูกคาที่มีกําลังซื้อ และไมวาลูกคาจะเปนระดับใดก็ตาม การดําเนินธุรกิจก็จะตองเตรียมแผนการเงิน (Financial Plan) สําหรับเปนทางเลือกใหลูกคา นอกจากนี้ การทําธุรกิจแบบนี้หากทํากับลูกคาระดับกลาง จะทําใหไดกําไรคอนขางนอย ระยะคืนทุนของธุรกิจยอมยาวขึ้น ผูประกอบการเองจึงตองมีแผนการเงินในการดําเนินกิจการดวย

3) ปญหาตนทุนที่เพิ่มขึ้น เมื่อใดที่โครงการประสบความสําเร็จ หมูบานแถวนั้นก็เจริญ เมืองก็

เจริญ ก็จะสรางปญหาใหมข้ึนมาคือที่ดินจะแพงขึ้น ผูที่พัฒนาที่ดินก็มีตนทุนสูงขึ้น พอถึงเวลาสรางใหมก็สรางปญหาใหกับคนสูงอายุอีก ถาจะยายไปทําที่ใหมก็เปนปญหาใหมอีก

4) ปญหาเรื่องคน จากการศึกษาสถานประกอบการดูแลผูสูงอายุหลายแหงพบวา

เร่ืองคนเปนเรื่องที่มีปญหาคอนขางมาก เนื่องจากงานบริการผูสูงอายุเปนงานที่ตองการคนทํางานที่มีใจรักผูสูงอายุ เพราะโดยธรรมชาติของผูสูงอายุแลว คือคนที่มีสุขภาพออนแอ ข้ีใจนอย บางคนอารมณฉุนเฉียวงาย ประกอบกับวัฒนธรรมไทย สอนใหเด็กตองกตัญู และเคารพนับถือผูสูงอายุ

373

Page 21: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

อยูแลว ทําใหคนดูแลตองไดรับความกดดัน คอนขางมาก สังเกตไดจาก การเขาออกของพนักงานดูแลผูสูงอายุจะมีคอนขางสูงในแตละแหง การหาคนเขามาฝกเองจึงอาจตองเสียเวลามาก แมวาการฝกใหดูแลจะสามารถทําไดในเวลาเพียงไมกี่เดือนก็ตาม แตสถานดูแลก็นิยมการจางคนมาจากโรงเรียนที่สอนการดูแลโดยตรงมาเลย หรือใชวิธีการ Outsource แลวนํามาฝกในรายละเอียดเพิ่มเติมตามความตองการของแตละศูนย ผูวิจัยเชื่อวาปญหาเรื่องคนนี้นาจะแกไขใหบรรเทาลงไดดวยวิธีการบริหารจัดการ (Management) งานบุคลากร (Human Resource) โดยใชกระบวนการคัดเลือกคนที่มีพื้นฐานจิตใจที่ออนโยน อดทน และสามารถรับสภาพกับผูสูงอายุได มาฝกอบรมใหเปนคนดูแล เพราะคนที่จะทํางานในดานนี้ไดนั้น ไมใชแคเพียงไดรับการอบรมแลวก็จะทํางานได แตตองเปนคนที่มีใจรักงานแบบนี้ดวยจึงจะทําไดนาน ดังนั้นกี่คัดเลือกคนจึงมีความสําคัญมากกวาและตองมากอนการฝกอบรม และเนื่องจากเปนงานที่คอนขางหนัก จึงควรสงเสริมใหผูดูแลมีรายไดพิเศษที่สูงขึ้น ดวยการอบรมเพิ่มข้ึนใหเปนหลายๆ ดาน แลวจางในราคาที่สูงกวาทั่วไป และจัดหาที่พักราคาถูกใหอยูอยางสุขสบาย เพื่อเปนแรงจูงใจในการทํางาน และสรางบรรยากาศในที่ทํางานใหมีความอบอุน

5) ปญหาที่เกิดจากตัวผูสูงอายุเอง เชนการหลงลืมเนื่องจากความเสื่อมของรางกาย และอาจมีอาการ

ทางจิตเวชในบางคน จึงควรมีจิตแพทยคอยใหความชวยเหลือ

6) ปญหาจากญาติของผูสูงอายุ เทาที่พบคือเปนปญหาที่เกิดจากญาติ ตองการใหดูแล พอแมของ

ตัวเองใหดีกวาที่เห็น เพราะคาดหวังไวสูงกวาที่ไดรับจากสถานบริการ ซึ่งปญหานี้คงแกไขไดดวยการสื่อสาร และพยายามสรางความไววางใจ และความเชื่อมั่น (Assurance) และเพิ่มการเอาใจใส (Empathy) ในการดูแล และใชหลักของความยืดหยุน (Flexibility) ในการแกไขปญหาตางๆ

7) ปญหาคนตางระดับ ถาไมแยกกลุมเปาหมาย แตมีกลุมลูกคาที่แตกตางกันมากมาอยู

ดวยกัน จะทําใหเกิดปญหาขอขัดแยงระหวางกลุม และทําใหการบริหารงานลําบาก จึงควรเลือกกลุมคนที่อยูในระดับเดียวกันมาอยูดวยกัน

374

Page 22: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

8) ความเชื่อถือความมั่นใจ ธุรกิจประเภทนี้อยูภายใตความเชื่อถือของลูกคาวาตองเปนการ

ดําเนินการโดยแพทย ทั้งๆ ที่ในความเปนจริงแลว ผูบริหารโครงการจําเปนตองเปนแพทยแตอยางใด อยางไรก็ตาม ธุรกิจประเภทนี้ตองการดานการแพทยเปนที่แนนอน ดังนั้น การทําธุรกิจนี้ จึงตองมีการเปนพันธมิตร (Alliance) กับโรงพยาบาล เพื่อใหลูกคามั่นใจวา ในกรณีฉุกเฉิน โครงการจะแกไขปญหาไดอยางไร และมีความมั่นใจไดเพียงใด

9) ปญหาขอกฎหมาย โดยเฉพาะในสวนของ Nursing Home ซึ่งยังไมมีกฎหมายรองรับ

แตอาศัยกฎหมายของสถานพยาบาลโรคเรื้อรังมาใช จึงทําใหผูประกอบการทําธุรกิจดวยความไมชัดเจน เพราะกติกาของกฎหมายที่นํามาใช ไมเหมาะสมกับสถานดูแลแบบ Nursing Home

10) ปญหาในการคงไวซ่ึงรูปแบบธุรกิจ เพราะธุรกิจแบบนี้ มีผูสูงอายุเปนลูกคา และเมื่อเวลาผานพนไป

ระยะหนึ่ง ผูสูงอายุสวนหนึ่งอาจลมหายตายจากไป ผูที่สืบทอดในสินทรัพย อาจเปนคนรุนใหมที่ยังไมใชผูสูงอายุ หรืออาจเปลี่ยนเปนคนอีกกลุมหนึ่งไป การทําโครงการจึงตองวางแผนระยะยาวในการสานตอเพื่อรักษา (Maintain) รูปแบบของธุรกิจไว

11) ปญหาการบํารุงรักษา บานหลังไหนก็ตามจะตอง Maintain อยางดี เชนการทาสี ซอมแซม

ถาไมบํารุงดูแลอยางดี อีก 30 ปก็กลายเปนสลัม งบประมาณสวนหนึ่งของการพัฒนานั้นตองตั้งไวสําหรับการบํารุงรักษา (Renovate) ซึ่งเรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญไมใชซื้อขายกันครั้งเดียวแลวก็ทิ้งไปเลย เพราะคนแกไมสามารถที่จะซอมแซมเองได

12) ไมไดมีกําไรมากอยางที่บางคนคิด ในสวนของธุรกิจ Nursing Home สําหรับลูกคาระดับกลางนั้นไมได

มีกําไรมาก หรืออาจมีนอยดวยซ้ําไป เพราะวาตองใชคนเยอะมีคาใชจายสูง คาแรงงาน คาน้ําคาไฟ คาภาษีปาย คาภาษีโรงเรือน เปนตน จึงเปนธุรกิจที่มีระยะเวลาคืนทุนคอนขางยาว

375

Page 23: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

จากการวิจัยพบวา ปจจัยแหงความสําเร็จ ในธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ มีดังนี้คือ

1) เขาใจความตองการของผูสูงอายุ ตองเขาใจความตองการของผูสูงอายุแตละชวงวัยเปนอยางดี ตอง

ศึกษาความตองการของลูกคากลุมเปาหมาย ตองดูวาเขาตองการอะไรบาง ตองทําการวิจัยในแตละกลุมเพราะพฤติกรรมอาจไมเหมือนกัน และปจจัยทางดานสังคมของแตละคนก็ไมเหมือนกัน ความสนิทใกลชิดของคนในครอบครัว ของลูกหลานอาจไมเหมือนกัน

2) สรางนวัตกรรมใหมๆ ในการใหบริการ คนสูงอายุเบื่องายหงุดหงิดงาย ตองพยายามลดความหงุดหงิดของ

คนสูงอายุลง โดยมีการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ (Innovation) มีเร่ืองของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสังคม ตองปรับไป ความคิดลูกคามีการเปลี่ยน ตองมีการแขงขันในดานตางๆ “และตองคอยตรวจสอบวารูปแบบที่ถูกปรับปรุงแลวนั้นมันตอบสนองเขาไดในเปอรเซ็นตที่ใกลเคียงกับความตองการเขาไหม มีสวนขาดไหม ถามีสวนขาดแลวเจาของไมเรงปรับปรุงใหมันเติมเต็ม มีคนอื่นมาแขงใหม ถาเขาทําดีกวา ลูกคาก็ไปที่อ่ืน”

3) มีความเขาใจในรูปแบบธุรกิจ – มีแผนการเงินที่ดี ตองเขาใจรูปแบบธุรกิจ (Business Model) คือตองรูวาลูกคา

เปาหมายเปนใคร และจะเอาเงินมาจากไหน คือตองทํา Financial Plan ใหลูกคา ซึ่งจะทําใหลูกคาซื้อไดโดยไมเกิดปญหาการเงินในภายหลัง การวางแผนการเงินดีจะทําใหเงินหมุนเวียนในกิจการดีไมมีปญหาในการดําเนินกิจการ

4) มีแผนการตลาดดี การตลาดถือวาเปนเรื่องสําคัญที่สุดโดยถือเปนหัวใจของธุรกิจ

โดยเฉพาะอยางยิ่งที่คนไทยมีคานิยมในวัฒนธรรมที่ตองเลี้ยงดูพอแม จึงตองสื่อสารดานความเชื่อของวัฒนธรรมไทย เร่ืองของความกตัญู ตองสามารถ PR ใหคานิยมการดูแลผูสูงอายุเปน Positive ใหไดกอน ดังนั้น ตองโฆษณาใหดีๆ เยี่ยมๆ ใหเขารูและเขาใจวามีอะไรบาง และการตลาดในเรื่องนี้ตองไมลืมที่จะมองกลุมเปาหมายใหมของสังคม ตองมองไป Trend ยาวๆ ซึ่งมีคนเริ่มอยู

376

Page 24: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

แบบ ไมมีลูกชายหรือลูกสาว (กลุม DINK: Double Income No Kid) ที่สําคัญคือ ประชาสัมพันธใหถึงกลุมเปาหมาย และทําใหเกิดวิธีการบอกตอแบบปากตอปาก (word-of-Mount)

5) ทําเลที่ต้ัง Location ตองเลือกทําเลที่เหมาะสมกับกลุมลูกคาเปาหมาย ที่ทํา

ใหลูกคาสะดวก ไมหางไกลลูกหลานมากจนเกินไป อยูไมไกลโรงพยาบาลมากนัก ทําเลเยี่ยมที่ไปมาเยี่ยมเยือนสะดวกตองใกลชุมชน บรรยากาศดี ส่ิงแวดลอมดี

6) ราคาที่เหมาะสม ราคาตองพอเหมาะสม ไมแพงมากจนเกินไป แมตนทุนในการ

ใหบริการดูแลผูสูงอายุอยางดีนั้นคอนขางสูงมาก ก็ควรตั้งราคาใหเหมาะสมกับฐานะของกลุมลูกคา

7) ระดับของลูกคา เนื่องจากตนทุนในการใหบริการที่คอนขางสูง ผูใหขอมูลสําคัญสวน

ใหญจึงเชื่อวา กลุมลูกคาเปาหมายจึงควรเปนกลุม High–end ที่มีฐานะการเงินดี หากเปนกลุมระดับลางลงไปก็ตองดูที่กําลังซื้อ และที่สําคัญคือ โครงการควรเลือกกลุมคนที่อยูในระดับเดียวกันหรือมีความแตกตางกันไมมากมาอยูดวยกัน เพื่อปองกันปญหาขอขัดแยงระหวางกลุม ซึ่งจะทําใหการบริหารงานลําบาก

8) การบริการที่ยอดเยี่ยม บริการเยี่ยมๆ (Service) ตองทําใหลูกคามีความสุข (Enjoy) ตองมี

การ Entertain อยางดีเพื่อใหเขาใชชีวิตไดอยางมีความสุขจริงๆ ตองมีความจริงใจตอลูกคา มีความรู (Knowledge) ตองมีความสามารถในการใหบริการ

9) สรางความเชื่อมั่น ตองทําใหผูสูงอายุเกิดความเชื่อมั่นตอผูประกอบการ เพราะวามัน

ยังเปนรูปแบบที่ไมมีใครทํามากอน เพราะฉะนั้นผูประกอบการแรกๆ ตองนําเสนอความคิด ใหเปนที่เชื่อถือของลูกคา ตองมีแพทย มีนักจิตวิทยา และคนบริหารตองมีนโยบาย

377

Page 25: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

10) เปนพันธมิตรธุรกิจที่เกี่ยวของ ตองเปนเครือขาย (Network) กับโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียง คน

ยอมรับได และตองเปนพันธมิตร (Alliance) กับธุรกิจตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกัน

11) ผูบริหารตองเปนคนที่อยูกับผูสูงอายุได ผูที่จะบริหารธุรกิจแบบนี้ไดนั้นควรเปนผูที่สามารถที่จะอยูกับคน

สูงอายุได กลาวคือตองยอมรับคนสูงอายุไดและควรจะเปนคนที่สามารถทําใหการอยูกับคนสูงอายุนั้นเปนความสุขได

12) ใหความรักความเอื้ออาทร ผูสูงอายุทุกระดับชั้นนอกจากมีความตองการความสุขสบายตาม

อัตภาพแลวยังตองการความรักความเอื้ออาทรดวย การสรางสิ่งตางๆ จึงตองคํานึงถึงการใชงาน และสรางบรรยากาศที่อบอุนแบบครอบครัว

13) มีระบบงานที่ดี ตองมีการวางระบบที่ดีภายในองคกร (Organization) ทั้งของผูปวย

และของพนักงาน ระบบการทํางาน ระบบเทคโนโลยี ระบบจัดหาคน (Supply Chain) ระบบการฝกอบรม (Training) ระบบการแพทยอยางที่คาดหมายไดตลอด 24 ชั่วโมง จัดการบริหารองคกรโดยใชหลักงายๆ ไมซับซอน (Simple Make It Easy)

14) การบริหารจัดการดี ตองมีระบบการจัดการงานบุคคลที่ดี เพราะเรื่องระบบและเรื่อง

บุคลากรมีความสําคัญมาก เพราะการบริการเปนเรื่องที่ตองทําโดยคน จึงตองใหความสําคัญกับการบริหารจัดการเพื่อเนนสรางความเปนระเบียบของคน

15) มีคุณธรรม จริยธรรม ในเรื่องบริการที่จะใหผูสูงอายุ ตองมีจริยธรรม คุณธรรม (Ethics)

คือมีคุณธรรมจริยธรรมในทุกจุด ใหการบริการเพียงพอ ไมใชการบริการแบบเกินความจําเปน ไมเบียดเบียน เอาเปรียบผูสูงอายุ และไมเบียดเบียนทุกๆ ฝายที่เกี่ยวของ

378

Page 26: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

16) ควร Survey กอนเสมอ กอนที่จะดําเนินการลงทุนจริงทุกครั้ ง ควรทําการสํารวจใน

รายละเอียดความตองการของกลุมเปาหมายกอน เพราะผูสูงอายุแตละกลุม แตละทองที่ อาจมีความตองการและความจําเปนที่แตกตางกัน และตองเขาใจวาเมื่อเวลาเปลี่ยนไป ความตองการและความจําเปนอาจเปลี่ยนไปดวย

379

Page 27: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

15.1.5 นําเสนอกลยุทธการพัฒนานวัตกรรมธุรกิจบริการสําหรับ ผูสูงอายุ จากผลการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดสรางรูปแบบของนวัตกรรมธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุข้ึนมา ซึ่งมีชื่อเรียกวา P A R A D I S E model และ รูปแบบกลยุทธสูความสําเร็จของธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ ซึ่งมีชื่อเรียกวา F I N A L E – H O M E model P A R A D I S E model มีความหมายถึงธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ ที่มีลักษณะเปนที่อยูอาศัยที่มีความสวยงามและมีความสุขที่สุด ซึ่งอักษรแตละตัวมีความหมายเชิงกลยุทธ ดังนี้คือ

P = Physical Health A = Activity Complex for Happiness R = Relaxation with Nature A = Alive and Freshness D = Dynamic Community I = Independent and Private Living S = Social Getting Together E = Environmental Excellence

P Physical Health หมายถึงสวนประกอบทางกายภาพของโครงการอันประกอบดวย ลักษณะสถานที่ โครงสรางอาคาร ระบบสาธารณูปโภคตางๆ ที่เนนเพื่อสุขภาพ และอํานวยความสุขสบาย และมีความปลอดภัยตอผูสูงอายุ

A Activity Complex for Happiness หมายถึงการมีกิจกรรมตางๆ ในโครงการที่หลากหลายเพื่อความสนุกสนาน และความสุขของชีวิต อันประกอบไปดวยกิจกรรมในรมและกลางแจงมากมาย R Relaxation with Nature หมายถึงความเปนสถานที่อยูอาศัย ที่ใหความรูสึกผอนคลายประกอบดวย การออกแบบทางดานภูมิทัศนและอาคารสถานที่ใหเปนธรรมชาติ มี ตนไม ดอกไม สัตวสวยงามตางๆ ที่อยูอยางธรรมชาติ

380

Page 28: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

A Alive and Fresh หมายถึงความเปนสถานที่อยูอาศัยที่ใหความรูสึกมีชีวิตชีวา การสรางบรรยากาศที่มีสี สรร มีบรรยากาศของการอยูรวมกันดวยความยิ้มแยมแจมใส ราเริง ไมหงอยเหงา มีเสียงดนตรี เสียงนกรองเพลง เสียงน้ําไหล D Dynamic Community หมายถึงความเปนสถานที่อยูอาศัยที่มีพลวัตร ประกอบดวย การทําใหเกิดความรูสึกถึงความเคลื่อนไหวของผูคนที่เขาออกในโครงการ และถูกกระตุนใหเกิดการตื่นตัวอยูตลอดเวลาทําใหไมเงียบเหงา การปรับเปลี่ยนบรรยากาศทําใหไมจําเจ I Independent and Private Living หมายถึงความเปนสถานที่อยูอาศัยที่ใหความรูสึกอิสระเปนสวนตัว ประกอบดวย การมีบานพักหรือหองพักที่มีสัดสวนเปนของตัวเอง มีความเงียบสงบไมถูกรบกวนจากบุคคลหรือส่ิงตางๆ ภายนอก S Social getting Together หมายถึงความเปนสถานที่อยูอาศัยที่มีสังคม ประกอบดวยการมีสวนเชื่อมตอของการใชชีวิตประจําวันกับผูอ่ืน เพื่อใหเกิดความรูสึกที่อบอุนดวยการมีสังคม ไมรูสึกโดดเดี่ยว ซึ่งสามารถทําไดดวยกิจกรรม หรือระบบสื่อสาร

E Environmental Excellence หมายถึงความเปนสถานที่อยูอาศัยที่มีสภาพแวดลอมที่ดี ประกอบดวยสภาพแวดลอมที่ปลอดมลภาวะตางๆ มีอากาศที่ดี มีสถานทีส่ะอาด ไมมีเสียงรบกวน มีธรรมชาติที่สวยงาม

381

Page 29: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

และเพื่อสรางเสริมใหธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ สามารถดําเนินการไปดวยดีและประสบความสําเร็จนั้น ผูวิจัยจึงไดนําเสนอกลยุทธเพื่อการขับเคลื่อนที่มีชื่อวา F I N A L

E – H O M E model (อานวา ฟ-นา-เล-โฮม) ซึ่งมีความหมายถึง ความเปนบานที่มีความสุข บานที่มีชีวิตจิตใจ บานที่เต็มเปยมดวยความรักความอบอุน ที่เจาของบานจะอยูไดตลอดชีวิต โดยอักษรแตละตัวมีความหมายเชิงกลยุทธ ดังนี้คือ

F = Finance and Flexibility I = Innovation and Integration N = Nursing and Nicety A = Assurance and Alliance L = Love and Luxury (Level of Luxury) E = Entertainment and Empathy

H = Help and Humanity O = Organization and Optimization M = Marketing and Management E = Esteem and Ethics

F (F = Financial, F = Flexibility)

Financial การเงิน ในการทําธุรกิจใดๆ นั้น มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองวางแผนการเงิน ทั้งทางดานผูลงทุน และแผนการเงินของลูกคาวาเขาจะเอาเงินจากที่ไหนมาซื้อ Flexibility ความยืดหยุน ในการดําเนินธุรกิจ หรือการทํากิจกรรมใดๆ ยอมมีรูปแบบ เงื่อนไข และปญหาเกิดขึ้นตลอดเวลา การใชความยืดหยุนเปนปจจัยสําคัญในการแกไขปญหาตางๆ I (I = Innovation, I = Integration)

Innovation นวัตกรรม การทําธุรกิจในยุคโลกาภิวัตนนี้ ตองตระหนักวาความตองการของลูกคามีการเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา ธุรกิจจึงตองมีนวัตกรรมใหทันกับความตองการของลูกคา

382

Page 30: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

Integration การบูรณาการ เนื่องจากธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ มีสวนประกอบในดานการใหบริการที่มากมายทั้งสวนที่เปนภายใน และสวนที่เกี่ยวของกับภายนอกโดยการ Outsource การบูรณาการงานทุกสวนและคนของเราใหเขากันเปนหนึ่งเดียวจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง N (N = Nursing, N = Nicety)

Nursing การดูแล ผูสูงอายุคือผูที่มีอายุมากแลว สุขภาพถดถอยออนแอ ทานตองการไดรับการดูแลที่ดี การดูแลที่ดียอมมาจากผูดูแลที่ดี Nicety ความออนโยน ความมีมิตรไมตรี ความกรุณา ความประณีตพิถีพิถัน เจาหนาที่บุคลากรทุกคนทุกระดับขององคกร คือผูใหบริการ ทุกคนตองมีจิตสํานึกในการใหบริการ เปดใจกวาง และมีสําเหนียกแหงการใหบริการ ซึ่งจะปรากฏออกมาใหเห็นเปนความออนโยน ความมีมิตรไมตรี และความกรุณา A (A = Assurance, A = Alliance)

Assurance การทําใหเกิดความมั่นใจ ความเชื่อถือ ธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุเกี่ยวของกับผูสูงอายุซึ่งเปนที่รักของลูกหลานและญาติพี่นองของเขา จึงตองทําใหทุกคนที่เกี่ยวของเกิดความมั่นใจและไววางใจในการใหบริการ Alliance พันธมิตร การใหบริการแกผูสูงอายุมีความหลากหลายรูปแบบ การใหบริการแกลูกคาไมจําเปนวาโครงการจะตองทําเองเสียทุกอยางไป ควรหาพันธมิตรธุรกิจมาชวยกันทํางาน L (L = Love, L = Luxury, Level of Luxury)

Love ความรัก ความเอื้ออาทร ผูใหบริการจึงตองมีความเขาใจเชิงจิตวิทยาของผูสูงอายุ ส่ิงที่สําคัญยิ่งอยางหนึ่งสําหรับผูสูงอายุคือ ความรัก ความอบอุน และความเอื้ออาทร เพราะจะทําใหผูสูงอายุมีความสุข เมื่อผูสูงอายุมีความสุข ผูดูแลก็มีความสุขดวย Luxury ความหรูหรา นาภูมิใจ ถาหากกลุมเปาหมายมีกําลังจาย รูปแบบของธุรกิจคงตองสรางความหรูหราดูดีไวกอน เพิ่มลดความหรูหราไดตามความเหมาะสมกับกําลัง

383

Page 31: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

ทรัพยของลูกคา ความหรูหราราคาประหยัดก็สามารถทําไดดวยแนวคิดสรางสรรค และใชหลักเศรษฐศาสตร E (E = Entertainment, E = Empathy)

Entertainment การใหความเพลิด เพลิน ผู สู งอายุต องการความเพลิดเพลินและความสุข ผูใหบริการตองทําหนาที่ใหความเพลิดเพลินแกผูสูงอายุอยางไมขาดตกบกพรอง Empathy การเอาใจใส การทําหนาที่ใหบริการนั้น ผูใหบริการจะตองคอยเอาใจใสลูกคาอยูเสมอ แมวาจะเปนสิ่งเล็กๆ นอยๆ ก็ทําใหเกิดความประทับใจได H (H = Help, H = Humanity)

Help ความชวยเหลือเกื้อกูล ความชวยเหลือในหนาที่อยางเดียวคงไมเพียงพอ แตการชวยเหลือในที่นี้หมายรวมถึงการเตรียมพรอมที่จะใหความชวยเหลือ โดยทุกคนจะตองตระหนักและพรอมที่จะใหความชวยเหลือแกผูสูงอายุ ในทุกๆ เร่ือง และทุกเวลาอยางเต็มที่ Humanity ความเปนมนุษย ผูสูงอายุคือผูที่ไดผานการใชชีวิตมาชวงเวลาหนึ่งแลว และถือวาเปนผูที่ไดสรางคุณประโยชนใหแกสังคมมากอนแลว การปฏิบัติดูแลคนเหลานั้นจึงตองกระทําดวยความเมตตา โดยคํานึงถึงความเปนมนุษย และใหเขาอยูและจากไปอยางมีศักดิ์ศรี และจงใหความสําคัญตอความเปนมนุษยอยูเหนือธุรกิจ

O (O = Organization, O = Optimization)

Organization การจัดองคกร ธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ อาศัยคนในการทํางานเปนหลัก ระบบงานขององคกรจึงควรกําหนดแบบเรียบงาย (Simple and Easy) กระจายอํานาจเพื่อการตอบสนองบริการที่รวดเร็วที่สุด และลดขั้นตอนการสั่งการใหเหลือนอยที่สุด Optimization ความเหมาะสมที่สุด การใหบริการในธุรกิจบริการผูสูงอายุ การตัดสินในเรื่องการใหบริการ ควรใชหลักความเหมาะสมที่สุดจะดีกวา เพราะสิ่งที่แพงที่สุดอาจไมใชส่ิงที่ดีที่สุดเสมอไป และสิ่งที่ถูกที่สุดอาจจะเปนสิ่งที่ดีก็ได

384

Page 32: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

M (M = Marketing, M = Management)

Marketing การตลาด คานิยมและวัฒนธรรมของไทยอาจเปนปญหาในการทําธุรกิจแบบนี้ ตองพยายามใชคุณคาที่มอบใหแกผูสูงอายุ มาเปนตัวทําใหลูกหลานเกิดความรูสึกวา พอแมกําลังไดรับส่ิงที่ดีกวา ดีกวาที่พวกเขาเคยทําได และทําใหพวกเขารูสึกและมั่นใจวา การพาพอแม หรือใครที่มาในสถานที่แหงนี้คือคนที่มีบุญ คนที่มีความกตัญู Management การบริหารจัดการ การทําธุรกิจประเภทนี้ ตองอาศัยการบริหารจัดการมาแกปญหาโดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของคน และการเพื่อเนนสรางความเปนระเบียบของระบบงาน E (E = Esteem, E = Ethics)

Esteem ความเคารพนับถือ โดยวัฒนธรรมของไทยแลว ผูสูงอายุคือบุคคลที่ลูกหลานและผูที่อายุนอยกวาควรใหความเคารพนับถือ ซึ่งถือเปนสิ่งที่ดีงามวัฒนธรรมไทยที่มีมายาวนานแลว Ethics ธรรมะ จริยธรรม องคกรธุรกิจยุคใหมตองบริหารงานโดยคํานึงถึงจริยธรรม ดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใส ไมเบียดเบียนลูกคา ไมคากําไรเกินควร ไมเบียดเบียนทุกๆ ฝายที่เกี่ยวของ

l ควาจักร

ภาพที ่16 การขับเคลื่อนไปดวยกนัของ PARADISE model และ FINALE-HOME mode

รูปแบบธุรกิจ P A R A D I S E model และ รูปแบบกลยุทธสูมสําเร็จของธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ F I N A L E – H O M E model จึงเปนเสมือนหนึ่งกลสองตัวที่จะขับเคลื่อน (Drive) ไปดวยกัน เพื่อนําพาธุรกิจดําเนินไปสูความสําเร็จอยางราบรื่น

385

Page 33: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

15.2 ขอเสนอแนะ 15.2.1 ขอเสนอแนะเพื่อนําไปใช

ประเด็นที่ 1 ควรวิจัยตลาดกอนลงทุนทําจริง มีนักธุรกิจทานหนึ่งกลาวไววา “ธุรกิจตองมาจากความรู และถาเมื่อใดที่เรามีความรู ความรูนั้นจะนําสูธุรกิจ” การทําธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ เปนเรื่องการตอบสนองความตองการของกลุมลูกคาผูสูงอายุซึ่งเปนผูใชบริการ แตผูซื้ออาจไมใชผูสูงอายุ หรืออาจมีผูอยูเบื้องหลังผูสูงอายุอีก ตัวผูสูงอายุเองก็มีความหลากหลาย และยังมีเงื่อนไขดานวัฒนธรรม และจิตใจ และคานิยมของทองถิ่นเขามาเกี่ยวของดวย ซึ่งเปนปจจัยดานการตลาดที่หลากหลาย ดังนั้นการตอบสนองความตองการของผูสูงอายุจึงตอง มีกระบวนการวิจัยเขามาเกี่ยวของอยางไมควรหลีกเลี่ยง นักธุรกิจจึงควรทําการวิจัยกอนลงทุนทุกครั้ง ประเด็นที่ 2 นักธุรกิจไมควรมองขามกลุมสูงอายุที่อยูตัวคนเดียว การทําธุรกิจเกี่ยวกับผูสูงอายุนี้ ไมควรมองขามกลุมผูสูงอายุที่อยูตัวคนเดียว หรือกลุมคนโสด หรือโดดเดี่ยว โดยไมตองไปกังวลในเรื่องของวัฒนธรรมความกตัญูอะไรเลย เพราะคนกลุมนี้เขาตัดสินใจเอง และคงไมมีใครมาแครเขาเทาใดนัก และคนอีกกลุมหนึ่งที่นาสนใจคือ กลุมคนที่เปนเพื่อนสนิทกันหรือกลุมเดียวกัน เพราะคนกลุมนี้จะติดเพื่อน ไปไหนไปกัน และการขายเปนกลุมคือวิธีการที่ดี เพราะไดปริมาณ ในขณะเดียวกันเขาก็ไดอยูในสังคมที่เขาคุนเคยและตองการ ทําใหเขาตัดสินใจไดงายดวย ประเด็นที่ 3 กลุมลูกคาในแตละภาคแตกตางกัน ผูสูงอายุในเมืองไทย ภาคเหนือ กลาง ตะวันออก ใต จะมีความแตกตางกัน เชนทางภาคใต มีความรักเพื่อนรักพองมากๆ เพราะฉะนั้นเรื่องวัฒนธรรมของแตละภาคก็สําคัญ การไปสรางโครงการในแตละภาคจะตองศึกษาวัฒนธรรมของเขาใหดีกอน วาเขาพรอมรับกับธุรกิจแบบนี้หรือยังจึงควรศึกษาและวิจัยในเรื่องพฤติกรรม สภาวะเศรษฐกิจ และความตองการของเขากอน ประเด็นที่ 4 วัฒนธรรมตางชาติที่แตกตางกัน ถาจะทําธุรกิจประเภทนี้กับกลุมลูกคาตางชาติ ตองศึกษาเรื่องของวัฒนธรรม หรือ Culture โดยเฉพาะญี่ปุนเปนชาติที่ทําดวยยากที่สุด เพราะเขาจะมีตองมีหมอญี่ปุน

386

Page 34: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

มาตรวจ ตองมีพยาบาลญี่ปุน ตองมีคนพูดญี่ปุนได มี Requirement มากมาย เพราะฉะนั้น คนญ่ีปุนจึงเอาใจยาก ไมเหมือนฝรั่งหรือตะวันออกกลางซึ่งจะงายกวา ประเด็นที่ 5 สงเสริมการสรางแรงงานระดับผูดูแล เนื่องจากปจจุบัน แรงงานที่จะนํามาฝกเปนคนดูแลนั้นมีนอยลง และหายากมากขึ้น เพราะเด็กไทยมีการศึกษามากขึ้น และนิยมไปทํางานตามสํานักงาน หรือตามหางสรรพสินคา และงานดูแลผูสูงอายุเปนภาระที่คอนขางหนัก เด็กรุนใหมจึงไมคอยมีความสนใจ และมีแนวโนมวาอัตราคาจางคนดูแลผูสูงอายุจะสูงขึ้นเพื่อเปนแรงจูงใจ และจะทําใหคาบริการสูงขึ้น ส่ิงที่นาเปนหวงตามมาคือ แรงงานตางชาติ เชน แรงงานพมา เขมร จะเขามามากขึ้น เพราะสามารถจางไดในราคาถูก ซึ่งตองระมัดระวังในเร่ืองความปลอดภัยของผูสูงอายุ เพราะพบบอยครั้งวา เกิดอาชญากรรมจากคนกลุมนี้ ภาครัฐและเอกชนจึงควรรวมมือกันใสใจในเรื่องนี้ และหามาตรการควบคุมอยางเขมงวด ในขณะเดียวกันควรเรงสงเสริมการสรางแรงงานระดับผูดูแลใหมากข้ึน โดยจัดหลักสูตรในระดับวิชาชีพใหกระจายตามภูมิภาคตางๆ อยางทั่วถึง ประเด็นที่ 6 สงเสริมการเตรียมตัวเปนผูสูงอายุต้ังแตยังเปนเด็ก ผูสูงอายุที่มีความสุข หมายถึง สุขกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ และการเปนผูสูงอายุที่มีความสุขไดนั้น ตองเตรียมตั้งแตเล็กตองเตรียมตั้งแตเมื่อเรายังเปนเด็ก เพื่อสุขภาพดีและมีพฤติกรรมอนามัย ตองมีการออกกําลังกาย ตองทําตั้งแตเด็ก ทําใหเปนนิสัย เพราะเซลลของคนเราแกข้ึนทุกวันๆ ไมใชมาเตรียมตัวเมื่อตอนอายุ 55 หรือพูดไดวา ตอง “ทําดีทุกวัน” เพื่อสรางคุณภาพชีวิตที่ดีคนไทย ภาครัฐจึงตองสงเสริมการเตรียมตัวเปนผูสูงวัยอยางจริงจัง โดยเนนสงเสริมสุขภาพเชิงรุก โดย Health Promotion และ Disease Prevention เพื่อปญหาในการรักษา Curation และ Rehabitation จะไดลดลง ตองสงเสริมใหมีการเตรียมตัว ใหมีสุขภาพดีทุกวัน หรือเรียกวา All for Health ขอใหทุกสิ่งทุกอยางคือสุขภาพ จะกิน จะอยู จะคิด จะหลับ จะนอน สุขภาพหมด แลวก็พอมามองขางนอก กายภาพ ไฟฟา ประปา น้ําทวม มันกระทบสุขภาพหมด Al for Health ส่ิงแวดลอมทุกอยางกระทบตอ สุขภาพ ไมกายก็ใจ ไมทางตรงก็ทางออม ส่ิงแวดลอม All for Health เพราะฉะนั้นถาเผื่อจะทําอะไร ทุกอยางมันคือ เพื่อสุขภาพ ประเด็นที่ 7 ภาครัฐควรใหการสนับสนุนธุรกิจบริการผูสูงอายุ เนื่องจากธุรกิจบริการผูสูงอายุ คือธุรกิจที่มาชวยแบงเบาภาระของรัฐในการดูแล เพราะภาครัฐเองก็ไมมีกําลังเพียงพอที่จะใหบริการผูสูงอายุไดอยางทั่วถึง ดวยขาด

387

Page 35: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

กําลังคนและที่สําคัญคือขาดกําลังงบประมาณ ภาครัฐจึงควรมองเห็นความจําเปนของธุรกิจแบบนี้ และเนื่องจากตนทุนในการดําเนินการและการดูแลเปนภาระที่คอนขางสูง ทําใหอัตราคาบริการตองสูงตามไปดวย หากภาครัฐจะชวยสนับสนุนธุรกิจนั้น สามารถทําไดหลายทางเชน

1) การลดหยอนภาษีใหกับผูประกอบการธุรกิจประเภทนี้ หรืออาจยกเวนภาษีไปเลยก็ยิ่งดี เพราะจะเปนการกระตุนใหคนลงทุนและเกิดธุรกิจข้ึนมารองรับผูสูงอายุที่กําลังทวีจํานวนเพิ่มมากขึ้นอยางรวดเร็วในเวลานี้

2) การสงเสริมการออมอยางเปนรูปธรรม แมวาทุกวันนี้จะเ ร่ิมมีมาตรการชวยเหลือผูสูงอายุเกิดขึ้นบางแลว แตก็ยังมีปริมาณที่ไมมากพอในการดํารงชีวิตอยางมีความสุข เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่มีคาครองชีพสูงขึ้นรวดเร็ว จนเงินที่ชวยเหลือนั้นไมเพียงพอตอการใชจายในชีวิตจริง จึงควรสงเสริมการออมเพื่อวัยเกษียณใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมและคํานึงถึงคาครองชีพเปนหลัก โดยถือเปนแผนระยะยาว ในขณะเดียวกันตองมีแผนระยะสั้นที่ชวยเหลือผูสูงอายุที่มีอยูแลวในขณะนี้ดวย

3) การลดภาษีใหแกลูกกตัญู เปนเรื่องที่ดี แตตองกระทํายอยางทั่วถึงและเปนธรรม เพราะยากที่จะทราบไดวาใครกตัญูจริงหรือไมจริง อยางเชน แรงงานอีสานสงเงินทุกบาททุกสตางคกลับไปเลี้ยงดูพอแมในชนบท แลวเขาไดประโยชนจากตรงนี้ไดอยางไร หรือคนที่คนในเมืองนําหลักฐานมาแสดงนั้น กตัญูจริงหรือเปนเพียงเอกสาร และตองคํานึงถึงผลกระทบตอคานิยมและวัฒนธรรมไทยในการดูแลพอแม วาเปนการใชเงินลอแทนที่จะเปนการสนับสนุนใหมีความกตัญูโดยปลูกฝงคานิยมอยางถูกตอง

4) สนับสนุนการพัฒนาธุรกิจ ในเรื่องของทําเลและการลงทุนนั้น ถาหากภาครัฐจะเขามาชวยพัฒนาใหการสนับสนุนก็จะยิ่งดียิ่งทําใหเกิดเร็วและลดตนทุนได โดยมอบหมายใหองคการของรัฐมีสวนชวยดูแลอยางเชน ธนาคารอาคารสงเคราะห โดยทําเปน Pilot Project ข้ึนมา โครงการกับ ธกส ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ทําเปน Master Plan ข้ึนมาวาจะทําที่ไหนไดบาง มีกระทรวงทบวงกรมอะไรเกี่ยวของ ใหหนวยราชการเขามา Support ใหเยอะเชน กระทรวงเกษตร กระทรวงเกษตรมีต้ังเยอะกรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทานแลวมหาดไทยก็เรื่องของระบบ ทั้ง 6 ระบบเนี่ยใครเปนเจาภาพ คนนั้นเขามาชวยนะฮะ ใชงบประมารแผนดินสวนหนึ่งนะครับ แลวก็อาจจะใชเงินสนับสนุนจากโครงการ มูลนิธิตางๆ ที่จะเขามาเปนเจาภาพรวม ทํา Social Lab ตรงนี้ใหเกิดขึ้น รัฐเร่ิมตนใหเขากอน จัดหาระบบสาธารณูปโภค (Infrastructure) ใหพรอม ภาครัฐนําเดินกอน จากนั้นเอกชนก็ทําโครงการไดงายขึ้น และรัฐยังสามารถ Subsidy ไดบางสวน เร่ืองภาษี เร่ืองเงินทุน อัตราดอกเบี้ยถูก

388

Page 36: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

ประเด็นที่ 8 ภาครัฐตองปรับปรุงโครงสรางของสาธารณสุขไทย เนื่องจากโครงสรางของสาธารณสุขไทยบิดเบี้ยวมานานแลว สาธารณสุขไทยในชนบท มีแพทยไมเพียงพอ เพราะแพทยสวนใหญจะเลือกอยูในเมืองใหญ โรงพยาบาลตามอําเภอตางๆ เปนแหลงพํานักของหมอใชทุนพอครบ 2 ปก็ไป การดําเนินโครงการจึงไมตอเนือ่ง คนไขพบแตหมอใหมตลอดเวลา จึงขาดความเชื่อถือหรือความเชื่อใจ ผูสูงอายุในชนบทจึงกลายเปนผูดอยโอกาสกวาคนในเมือง และหากเขาเขามาในเมือง ก็มีปญหาเรื่องคาใชจายอีก ยิ่งหากในภายหนาคนสูงอายุมากขึ้น ปญหาเหลานี้ก็จะยิ่งมากขึ้น รัฐจึงควรหาทางแกไขปญหาเหลานี้ เชนเพิ่มคาจางเงินเดือนใหแพทยในชนบทในอัตราที่สูงกวาแพทยในเมือง และใหสวัสดิการที่มากกวา เพื่อเปนการจูงใจใหแพทยกระจายไปอยางทั่วถึง เปนตน ประเด็นที่ 9 ออกกฎหมายสําหรับสถานดูแลคนสูงอายุ ประเทศไทยยังไมมีมีกฎหมายสําหรับสถานดูแลคนสูงอายุ (Nursing Home) ทุกวันนี้จึงตองใชกฎหมายของสถานพยาบาลอยู โดยเรียกวา สถานพยาบาลเรื้อรัง ซึ่งโดยความเปนจริงแลว ผูสูงอายุที่ตองไปอยูใน Nursing Home นั้นไมไดหมายถึงผูสูงอายุที่ปวยเรื้อรังอยางเดียว ผูสูงอายุที่ใชบริการนั้น สวนหนึ่งคือผูสูงอายุที่ไมไดเจ็บปวย แตเพียงรางกายออนแอ ตองการการดูแลและความชวยเหลือเทานั้น การใชกฎหมาย สถานพยาบาลเรื้อรัง กับ Nursing Home ทําใหสถานดูแลคนสูงอายุเหลานั้น ตองตกอยูภายใตเงื่อนไขที่เกินความจําเปน เชน ขอบังคับใหมีจํานวนพยาบาล หรือแพทย ที่มากเกินความจําเปน ทําใหสถานดูแลเหลานั้นตองจายคาจางที่เกินจําเปน ทําใหคาบริการสูงขึ้น กลายเปนภาระของผูสูงอายุไป ประเด็นที่ 10 ภาครัฐตองวางแผนระยะยาวในการชวยเหลือผูสูงอายุ ในความเปนจริงแลว ในแงของแผนผูสูงอายุนั้น หมายถึงแผนความสําเร็จทางเศรษฐกิจของประเทศ แตในสภาพตามความเปนจริงทุกวันนี้ รัฐไมมีงบประมาณเพียงพอสําหรับผูสูงอายุ เพราะมีเหตุปจจัยคือ รัฐไมไดเตรียมรับปญหาเชิงระบบ ดังนั้นรัฐจึงตองมีความพรอมทางเศรษฐกิจจึงจะสามารถขับเคลื่อนระบบนี้ได โดยมีหลักการคือ การระบุใหชัดเจน (Identify) วาทุกคนตองมีงานทํา ทุกคนตองมีรายได (Income) ในชวงวัยที่เหมาะสม และในภาคปฏิบัติคือ ประชาชนทุกคนตองมี Smart Card ที่ระบุวาตนมีงานมีหนาที่อะไร มีรายไดเทาใด เพื่อเรียกเก็บหรือกัดเงินเขาระบบออมเงิน ซึ่งระบบคอมพิวเตอรจะตรวจสอบไดวา ชวงวัยไหน อายุเทาใด ควรมีรายไดหรือยัง สําหรับกลุมแมบานก็สามารถหักเงินออมจากสามีได เพราะถือวาทุกคน

389

Page 37: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

ตองมีรายได ซึ่งก็คือรายไดจากสามี หากเปนเด็กนักเรียน นักศึกษา หรือผูพิการที่ทํางานไมได ก็ถือวายังไมตองมีการออมเงินเขาระบบ หรือถาผูพิการสามารถมีรายได ก็ยิ่งเปนผลดีตอผูพิการเอง ที่จะมีเงินออมมากขึ้น หรือแมวาจะเปนเด็กนักเรียนแตหากเขามีรายได เขาก็เร่ิมออมไดแลว ซึ่งจะเปนการสงเสริมใหเด็กหางานทําในยามปดเทอมดวยทางหนึ่ง และยังอาจกําหนดนโยบายลดหยอนภาษีใหกับหาง ราน ที่สนับสนุนการทํางานของเด็กนักเรียนไดอีกทางหนึ่งดวย เมื่อถึงวันที่เขาชราภาพ เงินออมที่เขาสะสมไดนั้นจะเปนตัวชี้วา เขาจะไดรับความชวยเหลือจากภาครัฐในสัดสวนเทาใด ในเงื่อนไขใด และยอมแนนอนวา คนที่มีเงินออมในวัยทํางานยิ่งมาก เขาก็ยิ่งเปนผูที่ไดรับการชวยเหลือมากเทานั้น ซึ่งถือวาเปนระบบที่เปนธรรมแกผูที่เก็บออมเงินเพื่อตัวเอง และเปนการแกไขปญหาเชิงระบบ ที่อาศัยเหตุปจจัยมาเปนตัวพิจารณาเพื่อแกปญหา แตก็มีคนกลุมหนึ่งอยางเชน ที่เขาสูงอายุอยูในปจจุบันนี้ เขาไมเคยมีเงินสะสมเลย แลวก็ไมมีฐานะ แตเขาไมไดสะสมมากอน มันก็ไมเขาเงื่อนไข ซึ่งอันนี้เขาก็ตองยอมรับตามความเปนจริงวาเหมือนเขาไมไดสะสมมา ก็คงตองใชสังคมสงเคราะหเขามาชวย โดยรัฐบาลอาจตองหาเงินมาอัดฉีด แกปญหาใหกับคนรุนนี้กอน ประเด็นที่ 11 สังคมตองชวยกันสงเสริมความกตัญูตอผูสูงอายุ ทุกวันนี้ การไหลเขามาของวัฒนธรรมตะวันตก เปนสิ่งที่นาเปนหวงตอคานิยมของคนไทยในเรื่องการใหความสําคัญกับผูสูงอายุ ส่ือตางๆ ไมคอยมีการสงเสริมในเรื่องเหลานี้ ทําใหเด็กสมัยใหมลืมนึกถึงสิ่งเหลานี้ ประกอบกับความจําเปนทางเศรษฐกิจยิ่งทําใหลูกหลานตองออกไปทํางานไกลจากพอแม ปูยาตายาย กลายเปนความหางเหิน ซึ่งจะเปนไดชัดวาประเทศในโลกตะวันตก พอแมและลูกหลานมักจะหางเหินกัน ไมใกลชิดเหมือนชาวเอเชีย ดังนั้นทุกฝายจึงควรชวยกันรักษาวัฒนธรรมไทยเหลานี้ไว โดยการดึงใหเด็กๆ เขาใกลชิดกับผูสูงอายุใหมากข้ึน เชน การกําหนดเปนกิจกรรมพาเด็กนักเรียนไปเยี่ยมเยือนบานพักคนชรา และไมใชแคเยี่ยมเฉยๆ ควรใหเด็กมีสวนรวมในการสนทนา ทํากิจกรรมรวมกับผูสูงอายุเหลานั้น เชน การทํางานฝมือรวมกัน การรับประทานอาหารรวมกัน เปนการสอนเด็กใหรูจักการวางตัว และการปรนนิบัติ ตอผูใหญอยางถูกตองตามวัฒนธรรมไทย เด็กจะไดรับรูวาเมื่อเขาโตขึ้น และวันหนึ่งเขาก็ตองเปนผูสูงอายุ และผูสูงอายุคือเปนอยางไร และควรเปนอยางไร ในเวลาเดียวกัน ผูสูงอายุก็ไดมีกิจกรรม สนุกสนานกับเด็กๆ ไดสอนไดเลาประสบการณชีวิตใหเด็กๆ ฟง คนสูงอายุก็มีความสุข เด็กๆ ก็ไดความรูและมีความสุขดวย

390

Page 38: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

ประเด็นที่ 12 หามาตรการสงเสริมเด็กๆ ใชเวลาวางใหเปนประโยชนกับการดูแลผูสูงอายุ จากการสัมภาษณผูเกี่ยวของในงานวิจัยครั้งนี้ พบวาสวนใหญมีความเห็นพรองกันวา เด็กๆ ในชนบทจะมีนิสัยที่ออนโยน และเมตตามากกวาเด็กในเมือง ซึ่งนาหาโอกาสใหเด็กๆ เหลานั้นเขามาทํางานในชวงปดเทอม ในสถานดูแลคนชรา ซึ่งนอกจากเด็กๆ เหลานั้นจะมีรายไดแลว ยังเปนการเรียนรูของเด็กดวย เด็กจะไดผูกพันกับคนแก คนแกก็คิดถึงลูกถึงหลาน แลวเด็กที่ทําจะทําดวยใจรัก การทําดวยใจรักจะดีกวา เพราะเขาจะทุมเท เขาจะไมรังเกียจเลย แตถาเดก็กรุงนั้น ก็จะอีกแบบนึง เด็กๆ เดี๋ยวนี้มีเยอะนะที่ไปทางธรรมะ ควรประสานกับทางโรงเรียนและใหเด็กสมัครมาเอง และมีคาตอบแทนเปนคาเทอมหรือคาเรียนคาอะไรก็แลวแต เด็กจะยินดีมาก แทนที่จะใหเด็กอยูวางๆ ไมรูจะไปทําอะไร ประเด็นที่ 13 ภาครัฐควรใหความสะดวกในเรื่องการเขาเมือง ในปจจุบัน คนสูงอายุที่มาจากตางประเทศมาใชบริการในเมืองไทย เรามักมีปญหา หรืออุปสรรคบาง อยางเรื่อง Visa ซึ่งรัฐบาลไมคอยใหความสนใจ กวาจะขอไดก็มีความยุงยากในขั้นตอนที่คอนขางมาก รัฐควรชวยเรงแกปญหาขั้นตอนการขอ Visa แตก็ตองไมใหเกิดความเสี่ยงในดานความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศไทย

391

Page 39: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

15.2.2 ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาตอ เรื่องที่ 1 ควรทําการวิจัย และใหมีการรณรงคเชิงวัฒนธรรม ในการที่จะเปลี่ยนแปลงคานิยมและทัศนคติ ของการดูแลผูสูงอายุในประเทศไทย เพราะคนไทยยังมีคานิยมและทัศคติที่จะดูแลบุพการีเอง ดวยเกรงสังคมจะประณามวาตนทอดทิ้งพอแม และเปนคนอกตัญู ซึ่งในปจจุบัน ความจําเปนทางเศรษฐกิจ ประกอบกับการหาคนดูแลที่ไวใจไดยาก ทําใหผูสูงอายุไดรับการดูแลอยางไมถูกตองตามหลักวิชาการ ซึ่งเปนความทุกขของทั้งคนที่ดูแล และคนที่ไดรับการดูแล เรื่องที่ 2 ควรทําการวิจัยเพื่อสรางบริบทของประเทศ ที่สรางเสริมมาตรการเชิงรุกตอการรองรับภาระในการดูแลผูสูงอายุไทย เพราะการที่ระบบธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุ จะสามารถขับเคลื่อนไดอยางมั่นคงนั้น จะตองตั้งอยูบนบริบทที่มั่นคงของประเทศทั้ง 4 ดาน ไดแก 1) มาตรการเชิงรุกในการสงเสริมสุขภาพของประชาชน 2) การดํารงศักยภาพการทํางานอยางตอเนื่องของประชาชนในชวงสูงวัย 3) มาตรการกองทุนบํานาญแหงชาติ และ 4) มาตรการกองทุนผูสูงอายุแหงชาติสําหรับการรักษาตัวระยะยาว

มาตรการกองทุนบาํนาญแหงชาต ิ

ธุรกิจบริการ สําหรับผูสูงอายุ

มาตรการกองทุน

ผูสูงอายุแหงชา

ต ิสําหรับการร

ักษาตัวระ

ยะยาว

มาตรการเชงิรุกในการสงเสรมิสุขภาพของประชาชน การดํารงศักยภาพการทํางานอยางตอเนื่อง ของประชาชนในชวงสูงวัย

ภาพที ่17 ธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายจุะขบัเคลื่อนอยางมั่นคงบนบริบทที่มัน่คงของประเทศ

392

Page 40: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

1) มาตรการเชิงรุกในการสงเสริมสุขภาพของประชาชน เพราะการสงเสริมใหประชาชนดูแลสุขภาพอยางตอเนื่องจะทําใหคนมีอายุที่ยืนยาวอยางแข็งแรง เจ็บปวยนอย ซึ่งตองรณรงคต้ังแตยังเด็ก เปนหนุมเปนสาว จนถึงวัยสูงอายุ เมื่อสุขภาพแข็งแรงก็จะไมเจ็บปวยบอย แมเจ็บปวยก็หายเปนปกติไดงาย และการเจ็บปวยในชวงสุดทายของชีวิตก็จะมีระยะสั้นไมยืดเยื้อ ไมเปนภาระตองใหดูแลยาวนาน ทําใหประหยัดงบประมาณในการดูแลระยะยาว (Long-term Care)

2) การดํารงศักยภาพการทํางานอยางตอเนื่องของประชาชนในชวงสูงวัย เพราะวาผูสูงอายุแมจะมีอายุ 60 ป และเกษียณแลว แตยังถือวาแข็งแรงสามารถทํางานตอไดจึงไมควรหยุดทํางาน การทํางานตอเนื่องเปนกิจกรรมที่เปนการรักษาระบบการทํางานของรางกาย ไดออกกําลังกาย ทําใหผูสูงอายุไมเหงา ไดสังคม มีอายุยืนยาวอยางมีสุขภาพ เปนแรงกระตุนใหเกิดกําลังใจอยากมีชีวิตอยูตอ เปนการรักษาผลิตภาพ (Productivity) และยังทําใหผูสูงอายุมีรายไดเสริมอีกทางหนึ่งดวย

3) มาตรการกองทุนบํานาญแหงชาติ เพื่อสรางระบบบํานาญใหกับผูสูงอายุทุกคนในประเทศ ซึ่งจะทําใหผูสูงอายุมีเงินใชจายในยามสูงอายุ สงเสริมและกําหนดใหทุกคน ทุกอาชีพ ทั้งขาราชการ ลูกจาง เกษตรกร และอาชีพอิสระ ตองสะสมเงินบํานาญของตนเอง โดยใหครอบคลุมถึงระบบครอบครัว สามีภรรยา และ ลูก ซึ่งหมายถึงการสรางระบบออมเงินตั้งแตวัยเด็ก โดยพอแมผูมีรายไดรวมกับภาครัฐกําหนดเปนสัดสวนอัตราการออมที่เหมาะสม ทําใหทุกคนมีบัญชีเงินบํานาญของตนเองต้ังแตเด็กเพื่อใชจายในบั้นปลายของชีวิต ทําใหลดภาระของภาครัฐลงไดมากและสงผลดีตอประเทศในระยะยาว ทั้งนี้ภาครัฐอาจจัดหากลุมอาสาสมัครเพื่อสรางระบบทดลองในระยะศึกษา แลววางแผนกําหนดเปนนโยบายของรัฐตอไป

4) มาตรการกองทุนผูสูงอายุแหงชาติสําหรับการรักษาตัวระยะยาว เพราะผูสูงอายุในชวงสุดทายของชีวิต อาจมีความจําเปนตองพักรักษาตัวระยะยาว (Long-term Care) ซึ่งตองมีคาใชจายที่คอนขางสูง รัฐจึงควรมีกองทุนนี้มาชวยเสริมกับมาตรการกองทุนบํานาญแหงชาติ โดยรัฐบาลเปนเจาภาพของกองทุน แลวกําหนดมาตรการใหทุกคนมีสวนชวยเสริมสรางกองทุน เชน โดยการสงเสริมใหมีการออมอีกสวนหนึ่ง

393

Page 41: บทที่ 15บทท 15 สร ป อภ ปรายผล และข อเสนอแนะ 15.1 สร ปและอภ ปรายผลการว จ ย ผ

ประเทศไทยจะประสบความสําเร็จในเรื่องของผูสูงอายุได ภาครัฐจะตองเตรียมความพรอมทางดานเศรษฐกิจ โดยมีบริบททั้งสี่ดังกลาวเปนตัวขับเคลื่อน และภาคธุรกิจบริการสําหรับผูสูงอายุจะตองเสริมรับขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะทําใหธุรกิจดังกลาวเติบโตไดอยางมากในอนาคต เรื่องที่ 3 ควรทําการวิจัย เพื่อหารูปแบบการออมเงินเพื่อวัยเกษียณที่เหมาะสมสําหรับคนไทย ทั้งนี้คนไทยสวนใหญยังไมมีการวางแผนการออมเพื่อวัยเกษียณ เนื่องจากขาดความรูความเขาใจ ขาดการใหคําแนะนํา และขาดการสงเสริมอยางจริงจัง ในขณะที่การใชชีวิตในชวงทายของชีวิตซึ่งตองไดรับการดูแลอยางตอเนื่องนั้น จําเปนตองใชเงินคอนขางมาก ทุกคนจึงควรมีการออมเงินเพื่อใชในบั้นปลายของชีวิตไดอยางมีความสุข การวางแผนออมเงินตองคํานึงถึง คาของเงินในชวงเวลาที่ตางกัน อัตราเงินเฟอ อัตราในการเก็บออมที่เหมาะสมและเปนไปได การเกดิดอกออกผลของเงินที่ออม หนวยงานที่จะเปนผูรับผิดชอบ ผูที่ใหคําแนะนํา และบริหารจัดการ

394


Recommended