+ All Categories
Home > Documents > บทที่+2 สมบูรณ์...

บทที่+2 สมบูรณ์...

Date post: 30-Aug-2019
Category:
Upload: others
View: 2 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
25
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาครั้งนีผูศึกษาไดทําการคนควาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตามประเด็น ตาง ดังนี1. ความรูเกี่ยวกับโรคอุจจาระรวง 2. ทฤษฏีพฤติกรรมและความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับพฤติกรรม 3. งานวิจัยที่เกี่ยวของที่มีผลตอการเกิดโรคอุจจาระรวง ความรูเกี่ยวกับโรคอุจจาระรวง ความหมายของโรคอุจจาระรวง โรคอุจจาระรวง ตามความหมายขององคการอนามัยโลกหมายถึง ภาวะที่รางกายถาย อุจจาระเหลวมากกวา 3 ครั้งตอวัน หรือถายมีมูกหรือเลือดปนอยางนอย 1 ครั้ง หรือถายเปนน้ํา มี ปริมาณมาก แมเพียงครั้งเดียวตอวัน (กรมควบคุมโรคติดตอ, 2535) อุจจาระรวงจําแนกไดหลาย กลุมดังตอไปนี1. ตามระยะเวลาที่มีอาการแสดงของโรค 2. ตามบัตรรายงาน (รง.506) จากสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับทั่วประเทศ แนวคิดทฤษฎีแบบแผนความเชื่อดานสุขภา 3. ตามพยาธิของการเกิดโรค 1. ตามระยะเวลาที่มีการแสดงอาการของโรคอุจจาระรวงอาจแบงได 3 ชนิดคือ 1.1 อุจจาระรวงเฉียบพลัน (Acute diarrhea): มีอาการแสดงหลายชั่วโมง หลายวันแต มักจะหายภายใน 7 วัน 1.2 อุจจาระรวงยืดเยื้อ (Persistant diarrhea): มีอาการแสดงนานเกิน 2 สัปดาห 1.3 อุจจาระรวงเรื้อรัง (Chronic diarrhea): มีอาการแสดงนานเกิน 3 สัปดาห 2. ตามบัตรรายงาน (รง.506) จากสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับทั่วประเทศกลุมโรค อุจจาระรวงประกอบดวย: 2.1 โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน (Acute diarrhea) เกิดจากการติดเชื้อตาง เชน แบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัว และพยาธิ 2.3 โรคบิด (Bacillary, Amoebic, dysentery และ Unspecified)
Transcript
Page 1: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดทําการคนควาเอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วของ ตามประเด็นตาง ๆ ดังนี้ 1. ความรูเกี่ยวกับโรคอุจจาระรวง 2. ทฤษฏีพฤติกรรมและความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกบัพฤตกิรรม 3. งานวิจยัที่เกีย่วของที่มีผลตอการเกิดโรคอุจจาระรวง

ความรูเกี่ยวกับโรคอุจจาระรวง ความหมายของโรคอุจจาระรวง โรคอุจจาระรวง ตามความหมายขององคการอนามัยโลกหมายถึง ภาวะที่รางกายถายอุจจาระเหลวมากกวา 3 คร้ังตอวัน หรือถายมีมูกหรือเลือดปนอยางนอย 1 คร้ัง หรือถายเปนน้ํา มีปริมาณมาก ๆ แมเพียงครั้งเดียวตอวัน (กรมควบคุมโรคติดตอ, 2535) อุจจาระรวงจําแนกไดหลายกลุมดังตอไปนี้ 1. ตามระยะเวลาที่มีอาการแสดงของโรค

2. ตามบัตรรายงาน (รง.506) จากสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับทัว่ประเทศแนวคดิทฤษฎแีบบแผนความเชื่อดานสุขภา

3. ตามพยาธิของการเกิดโรค 1. ตามระยะเวลาที่มีการแสดงอาการของโรคอุจจาระรวงอาจแบงได 3 ชนิดคือ 1.1 อุจจาระรวงเฉียบพลัน (Acute diarrhea): มีอาการแสดงหลายชัว่โมง หลายวนัแต มักจะหายภายใน 7 วัน 1.2 อุจจาระรวงยืดเยื้อ (Persistant diarrhea): มีอาการแสดงนานเกนิ 2 สัปดาห 1.3 อุจจาระรวงเร้ือรัง (Chronic diarrhea): มีอาการแสดงนานเกนิ 3 สัปดาห 2. ตามบัตรรายงาน (รง.506) จากสถานบรกิารสาธารณสขุทุกระดับท่ัวประเทศกลุมโรคอุจจาระรวงประกอบดวย: 2.1 โรคอุจจาระรวงเฉยีบพลัน (Acute diarrhea) เกิดจากการติดเชื้อตาง ๆ เชน แบคทีเรีย ไวรสั โปรโตซัว และพยาธ ิ 2.3 โรคบิด (Bacillary, Amoebic, dysentery และ Unspecified)

Page 2: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

8

3.3 อาหารเปนพิษ (Food Poisoning และ Enteric ที่ไมระบุชนิด) 3.4 ไขแอนเทอริค (Typhoid, Paratyhoid และ Enteric ที่ไมระบุชนิด) 3.5 อหิวาตกโรค (Cholera) เกิดจากพิษ (Toxin) ของ Vidrio cholerae 01 3. จากพยาธิสภาพของการเกิดโรค โรคอุจจาระรวงอาจแบงไดเปน 2 ประเภท 3.1 Non- Invasive Diarrhea หรือ Toxigenic Diarrhea หรือ Secretory Diarrhea เกิดจากแบคทีเรียสรางสารพิษ เมื่อเกาะตดิผนังลําไสแลวสารพิษจะกระตานใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี ในเซลผิวหนังลําไส ทําใหเกดิการหลั่งน้ํา และเกลือแรเขาไปในลําไสมาก จงึ ทําใหเกดิอาการถายเหลวเปนน้ํา และมีอาการขาดน้ําและเกลือแรตามมา ซ่ึงอาจทําใหถึงแกชีวิตได 3.2 Invasive Diarrhea มีการหลุดลอกตัวของเซลล ทําใหเกิดแผลเปนหยอม ๆ ดังนั้นลักษณะอุจจาระจึงมไีดหลายลักษณะ คือเปนน้ํา เหลวมีมูกปนเลือด

อันตรายจากโรคอุจจาระรวง 1. ภาวะขาดน้ําและอิเล็กโตรไลท ผูปวยโรคอุจจาระรวงมีอาการถายอุจจาระรวงเหลวบอย

คร้ังจึงทําใหเกดิภาวะขาดน้ํา โซเดียม โปรแตสเซียม และคลอไรด ออกไปทางอุจจาระ ปสสาวะ อาเจยีน และอาการขาดน้ําจะมีอาการรุนแรงมากถาเกดิขึ้นกับทารกหรือเด็กเล็ก ๆ ถาหากใหการชวยเหลือหรือ แกไขไมทนัก็จะเปนสาเหตุใหเสียชีวิตได

2. ภาวะขาดสารอาหาร ในเดก็ที่มีอาการอุจจาระรวงหลายครัง้ หรือเร้ือรัง จะทําใหเกิดภาวะขาดสารอาหาร รางกายเจริญเติบโตชากวาปกติ ภูมิตานทานของรางกายต่าํ ทําใหติดเชื้อกอใหเกิดโรคอุจจาระรวงและภาวะขาดอาหาร การเกิดโรคอุจจาระรวงแตละครั้งเทากับอยูในภาวะทุพโภชนาการ (ภาวะการขาดสารอาหาร) แบบเฉียบพลันได เพราะมกีารลดการดูดซึมของลําไส ปริมาณอาหารทีก่ินก็ลดลงดวยเพราะเดก็จะเบื่ออาหารมารดามักจะเขาใจวาไมควรใหอาหารแกเด็กขณะเกิดโรคอุจจาระรวง ภาวะทุพโภชนาการอยางเดยีวมกัไมทําใหเกิดโรคอุจจาระรวงเฉยีบพลัน แตสามารถทําใหเกดิโรคอุจจาระรวงเรื้อรังที่เปนอยูหลายสัปดาห หรือหลายเดือนไดซ่ึงมีผลกระทบทางโภชนาการดวย ปจจัยท่ีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในการกนิและการดูดซึมอาหารคือ 1. กินไดนอยลง เพราะเบื่ออาหาร และมารดาไมใหอาหารลูกขณะเกิดมีโรคอุจจาระรวง 2. เวลาที่อาหารอยูในลําไสลดลงเพราะลําไสบีบตัวเพิ่มขึน้ทําใหอาหารเคลื่อนที่เร็วการดูดซึมลดลง 3. เยื่อบุผนังลําไสมีการเปลี่ยนแปลงจากการติดเชื้อ เปนผลใหมีการสรางสารบางอยางที่ชวยใหการดูดซึมอาหารเสียสมดุลไปในรายที่มีไขรางกายตองการอาหารมากขึ้น และจําเปนตองใช

Page 3: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

9

อาหารที่รางกายเก็บสะสมไว เมื่อหยุดถายเด็กตองการอาหารชดเชยเพิม่ขึ้น หลังจากนั้นอีกหลายสัปดาหจึงจะมีน้ําหนกัคืนมากเทากับกอนปวย ในทางกลับกันภาวะทพุโภชนาการทําใหเกดิ ภูมิตานทานของเด็กลดลงและเพิ่มโอกาสใหมีโรคอุจจาระรวงเกดิขึ้นใหมและรุนแรงขึ้น อาการแสดงของการขาดน้ํา 1. กระหายน้ํา เปนอาการแรกของการขาดน้ํา ในเดก็ไมสามารถบอกไดวากระหายน้ํา นอกจาก ทดลองใหดื่มน้ําดูจะรูวากระหายน้ํา 2. น้ําหนกัลด เมื่อเด็กเสยีน้ําและขาดน้ํา น้ําหนักตัวจะลดลง ในรายที่มภีาวะขาด รุนแรงน้ําหนักจะลดไป รอยละ 10 ของน้ําหนักปกติ อาจจะเกิดภายใน 2 – 3 ชั่วโมง หรือ 2 – 3 วันก็ได 3. เบาตาลึก เปนอาการที่สําคัญ ปกติในรางกายของเดก็จะมีเนื้อเยื่อไขมนัที่มีน้ํามากถาเด็ก ขาดน้ํา เนื้อเยื่อเหลานี้จะดูแหงและบุมลง และเบาตาลึกเหมอืนกัน 4. ปากแหง ในเด็กที่ขาดน้ําจะไมสามารถสรางน้ําลายไดอยางเพียงพอ ปากและลิ้นจะแหง 5. กระหมอมบุม กระหมอมเปนสวนหนึ่งที่อยูระหวางกระดูกกะโหลกศีรษะสวนบนสุด แรกคลอดจะกวาง เมื่ออายุ 1 ป กระหมอมจะเล็กลง กระหมอมจะปดเมื่ออายุประมาณ 18 เดือน เมื่อเด็กมภีาวการณขาดน้ําสมองจะเหี่ยวและเล็กลง ทําใหกระหมอมจมลงระหวางกระดูกกะโหลกศีรษะ ในเด็กที่ขาดน้ําจะเหน็วากระหมอมบุมลง สามารถคลํากระดูกกะโหลกศีรษะไดรอบ ๆ ใน รายท่ีมีภาวะทพุโภชนาการรนุแรง กระหมอมจะบุมลงได ดังนั้นจึงไมใชอาการแสดงที่จะวนิิจฉยัภาวะขาดน้ําในเด็กที่มภีาวะทุพโภชนาการ 6. สูญเสียการยืดหยุนของผวิหนัง ในเด็กปกติผิวหนังจะยืดหยุน ถาลองคีบผิวหนังที่ทองดึงขึ้นและปลอย ผิวหนังจะกลับที่เดิมไดอยางรวดเร็ว แตในภาวะขาดน้ําผิวหนังเด็กจะแหงสูญเสียยความยืดหยุน ดังนั้นมันจะคางอยูช่ัวขณะประมาณ 2 วินาที กอนจะราบลงอยางเดิม 7. หายใจเร็วขึน้เหมือนหอบ เด็กที่ขาดน้ํามกัจะหายใจเรว็ 40 – 60 คร้ัง/นาที หายใจลกึและแรงกวาปกติ ลักษณะแบบนี้มักจะเกดิขึ้นในเด็กที่ขาดน้ํามาเปนวนั ๆ อยาสับสนกับการหายใจเร็วและตืน้ (มากกวา 60 คร้ัง/นาที) ในโรคปอดบวม เดก็ที่เปนโรคปอดบวมอาจจะหายใจตืน้ ๆ

8. ชีพจรเบาเร็ว ภาวการณขาดน้ําทําใหชพีจรเด็กเตนเร็วและเบาลง เมื่อเกิดการขาดน้ํา อยางรุนแรง ชีพจรอาจเร็วมากจนคลําที่ขอมือไมได อาจจะตองคลําที่ขาหนีบหรือฟงเสียงของหัวใจ 9. ปสสาวะนอย ในเด็กปกติจะปสสาวะทุก 3 ชั่วโมง ในเดก็ที่มีอาการขาดน้ําจะม ีปสสาวะนอยลงเพราะรางกายพยายามเก็บน้ําไว มารดามักทราบวาลูกปสสาวะมากเทาไร ดังนั้น ถาม ดูวา ปสสาวะนอยกวาปกตหิรือไม เมื่อเด็กที่ภาวะรางกายขาดน้ําไดรับการรักษาแลวจะถายปสสาวะ เหมือนเดิม

Page 4: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

10

10. ช็อก ในรายที่มีอาการขาดน้ํารุนแรงมากจะเกดิอาการชอ็ก เด็กจะนอนซึมผิวหนังซีดเย็น ช็อก เปนภาวะที่อันตรายเพราะเปนอาการแสดงวาเด็กคนนัน้จําเปนตองใหน้ําทางหลอดเลือดดําทันท ี 11. ไข เปนอาการแสดงของการติดเชื้อ ในเด็กที่มีอาการขาดน้ําอาจมีไขไดในระยะนี้นกึถึงโรคปอดอักเสบหรือโรคหูน้าํหนวกรวมดวย

การรักษาโรคอุจจาระรวง การปฏิบัติรักษาเบื้องตนโดยทั่วไปดวยการใหสารน้ํา และอาหาร เพื่อปองกันไมใหผูปวยขาดน้ําและอาหารและยังเปนการทดแทนน้ําและเกลือแรทีสู่ญเสียออกไปกับอุจจาระรวงดังนั้นการให สารน้ําทดแทน (Rehydration) ในการรักษาโรคอุจจาระรวงอยางเฉียบพลันการทดแทนน้ําและเกลือแร เปนสิ่งจําเปนและสําคัญที่สุด เพราะการใหสารน้ําทดแทนที่ทันการและในปริมาณที่เพียงพอ จะชวยลดอันตรายและผลแทรกซอนได (สุรพล กอบวรรณกุล, อุดม คชินธร, 2537) กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข (2545) ไดเสนอแนวทางรักษาโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันไวดังนี้คือ 1. ไมงดอาหาร ถาผูปวยรับประทานได ควรเปนอาหารยอยงาย เชน น้ําเกลือแกง ขาวตม ใสเกลือ 2. ใชสารละลายน้ําตาลเกลือแร (ORS) ใหกนิไดตลอดเวลา ตั้งแตเริ่มปวยจนกระทั้งหาย สารละลายน้ําตาลเกลือสามารถทําขึ้นเองได โดยใชน้ําตาลทราย 2 ชอนโตะ กับเกลือครึ่งชอนชา ผสม น้ําตมสุกหนึ่งขวดน้ําปลา หรือ 750 ซีซี ใชภายใน 1 วันเทานั้น หรืออาจใชสารละลายน้ําตาลเกลือแรขององคการเภสัชกรรม ซ่ึงตองผสมในน้ําตมสุกทิ้งไวใหเยน็ หามผสมในน้ํารอน โดยใชผงน้ําตาล เกลือแร 1 ซองตอน้ําตมสุก 1 ขวดน้ําปลาหรือ 750 ซีซี ไมควรเก็บไวนานเกนิ 24 ชั่วโมง หากเกินตองทิ้ง ถามีอาการอาเจียนใหสารละลายประมาณ 5 – 6 นาที แลวคอย ๆ ใหใหม

3.ใหน้ําเกลือริงคเกอรแลคเตท (Ringer lactate) และสารละลายน้ําตาลเกลือแร 4. การใหยาปฏิชีวนะ ตามเชื้อของโรคตามผล Sensitivity Test

สวนวิธีการรกัษาโรคอุจจาระรวงในเดก็ในบาน กรมควบคุมโรคติดตอ (2545) ไดเสนอแนวทางโดยใชกฎ 3 ขอ ดังตอไปนี ้ 1. ใหอาหารเหลวแกเด็กใหมากกวาปกติเพื่อปองกันการขาดน้ํา ใชของเหลวที่ทําไดใน บาน เชน น้ําขาว น้ําแกงจดื สารละลายน้ําตาลเกลือแร ใหเด็กกินเทาที่ตองการ หรือกินทุกครั้งที่ถาย เหลวโดยเดก็ต่าํกวา 2 ป ดื่ม 50 – 100 ซีซี หรือ คร่ึงถวยแกว เด็ก 2 ป – 10 ป ดื่ม 100 – 200 ซีซี หรือ 1 ถวยแกว

Page 5: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

11

2. ใหอาหารแกเด็กเพื่อปองกันการขาดสารอาหาร ถาไดเล้ียงดวยนมแม ใหลูกดดูนมใหมากขึ้น ถาไมไดเล้ียงลูกดวยนมแม ควรใหนมหรืออาหารตามปกติ ถาเด็กอายนุอยกวา 6 เดือน และยังไมไดกินอาหารเสริมควรใหนมผสมซึ่งเจือจางกวาที่เคยใหเทาตัวเปนเวลา 2 วัน ถาเด็กอายุ 6 เดือน หรือมากกวา ใหกินอาหารอื่นนอกจากของเหลว ใหอาหารที่มีผัก ปลา เนื้อสัตวและผสมน้ํามัน พืช 1 – 2 ชอนชา ใหน้ําผลไมหรือกลวย เพื่อเพิ่มโปแทสเซียม ใหอาหารที่เตรียมสุกใหม ๆ พยายามใหเดก็กินบอย ๆ อยางนอยวันละ 6 คร้ัง ใหอาหารอีกวันละ 1 มื้อ เปนเวลา 2 สัปดาห หลังจากอุจจาระรวงหายแลวเพื่อเปนการชดเชยการขาดสารอาหาร 3. นําเด็กไปพบเจาหนาที่สาธารณสุข ถาไมดีขึ้นใน 3 วนั หรือมีอาการเลวลง เชน ถายเปนน้ํามากขึน้ อาเจียนบอย ๆ กระหายน้ํามาก กินหรือดืม่ไมได มีไข ถายอุจจาระเปนมูกหรือมีมูกปนเลือด

การปองกันโรคอุจจาระรวง 1. รับประทานอาหารและดื่มน้ําสะอาด เชื้อโรคที่เปนสาเหตุของโรคอุจจาระรวงจะผาน

จากอุจจาระของผูปวยไปตามแหลงน้ํา และอาหาร หากผูใหญหรือเด็กกนิอาหารหรือน้ําทีม่ีเชื้อโรค ปะปนกจ็ะเกิดโรคอุจจาระรวงไดดังนัน้อาหารจึงตองสะอาด ไมนําอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ มารับประทานและไมตั้งทิ้งไวนานหลังจากทําใหสุกแลว น้ําดื่มตองเปนน้ําที่สะอาดหรอื ควรตมใหเดอืดเพื่อฆาเชื้อ โรค

2. การเลี้ยงลูกดวยนมแมทารกแรกเกดิจนถึงอายุ 6 เดือน ควรใหนมแมที่สะอาดและปราศจากเชื้อโรค ทั้งยังมีภูมคิุมกันโรคที่แมสรางขึ้น เด็กกินนมแมจึงมภีูมิคุมกันเชื้อโรคตาง ๆ รวมทั้งโรคอุจจาระรวง

3. พฤติกรรมของผูเล้ียงดู เด็กเล็ก ๆ ไมสามารถชวยเหลือตนเองได ผูเล้ียงเด็กมีความสําคญัอยางมากที่จะดูแลเด็กใหรับประทานอาหาร น้ํา และนมทีส่ะอาด และผูเล้ียงเด็กจะตองลางมือทุกครั้งหลังจากเขาสวม และกอนเตรียมหรือปรุงอาหาร

4. พฤติกรรมการใชสวม เชื้อโรคเปนสาเหตุของโรคอุจาระรวง จะผานจากอุจจาระของผูปวย

ไปยังแหลงตาง ๆ ฉะนั้น ทั้งผูใหญและเด็ก จะตองขับถายลงในสวมอยางถูกวิธีและลางมือใหสะอาดทุกครั้ง หลังจากการใชสวม

5. กําจัดแมลงวนั เนื่องจากแมลงวันเปนพาหะนําเชื้อโรค จากอุจจาระมาถายเทลงในอาหารที่แมลงวันตอม จะตองกําจัดแมลงวัน กําจดัขยะอยางถูกวิธี เพื่อไมใหเปนแหลงเพาะพนัธุของแมลงวัน และตองไมวางอาหารทิ้งไวโดยไมมีภาชนะปกปดอาหารเพือ่ปองกันแมลงวันตอม

Page 6: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

12

6. พัฒนาหรือจดัปจจยัแวดลอมทางกายภาพที่มีผลตอการเกิดโรคอุจจาระรวง ซ่ึงไดแกการทําความสะอาดหองน้ํา หองสวมใหสะอาด กําจัดขยะใหถูกวิธีโดยการฝงหรือเผา ขุดลอกและทําความสะอาดทางระบายน้ําเสียใหสะอาด น้ํากินน้ําใชจะตองสะอาด โดยการตมใหเดือดทุกครัง้ที่จะนํามาดื่ม ลางผัก ผลไม ดวยน้ําสะอาด กอนนําไปปรุงรับประทาน ไมทิ้งขยะหรือเศษอาหารเรี่ยราดใหเปนแหลงเพาะพนัธุแมลงวัน ตัดเล็บใหส้ัน และลางมือทุกครั้งหลังเขาหองสวม

ทฤษฎีพฤติกรรมและความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับพฤติกรรม ความหมายของคําวา พฤติกรรม มีนักวิชาการไดใหคํานยิามและใหความหมายของคําวาพฤติกรรม ดังนี้ ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร (2545, หนา 20) อธิบายวา พฤตกิรรม หมายถึง การกระทําของมนุษยหรือสัตวการกระทําทีว่านี้รวมทั้งการกระทําที่เกดิขึ้นทั้งผูกระทาํรูสึกตัวและไมรูสึกตัวในขณะกระทาํ รวมทั้งการกระทําที่สังเกตไดหรือสังเกตไมไดดวยเหมอืนกัน วัชรพงศ โกมทุธรรมวิบูลย (2540, หนา 196) ใหความหมายของ พฤติกรรมวา พฤติกรรม หมายถึง การกระทําที่แสดงออกมาในลักษณะตาง ๆ มุกดา ศรียงค และคณะ (2540. อางถึงใน พวงเพชร สุรัตนกวกีุล, 2547, หนา 1) กลาววา พฤติกรรมมนุษยหมายถึง การกระทําสิ่งตาง ๆ ของมนุษย เชน การกิน การนอน การพูด การฝน การเลนการพนัน การเสพยาเสพติด กิ่งแกว พรหมชาติ (2544, หนา 16) อธิบายวา พฤตกิรรม หมายถึง การกระทําของบุคคลที่แสดงออกมา โดยมีสาเหตมุาจากสิ่งเราซึ่งแสดงออกมาในรูปความคิด ความรูสึกและการกระทําโดยตั้งใจ หรือไมก็ตาม สามารถสังเกตได ใชเครื่องมือวดัได สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต (2539, หนา 2 - 3) ใหความหมายไววา พฤติกรรม หมายถึง เปนส่ิงที่บุคคลกระทํา แสดงออก ตอบสนองหรือโตตอบสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในสถานการณใดสถานการณหนึ่งที่สามารถสังเกตเห็นได ไดยนิ นับได อีกทั้งเกดิไดตรงกัน ดวยเครื่องมือที่เปนวตัถุวิสัย ชัยยงค พรหมวงศ (2524, หนา 22 อางถึงใน อุไร เพ็ชรนิล, 2547, หนา 16) อธิบายพฤติกรรมวา เปนการกระทําหรือกิจกรรมทางกาย ทางวาจา และทางใจที่มนุษยแสดงออกมาที่สามารถสังเกตหรือวัดได การกระทําหรือกิจกรรมของคนมีรูปแบบตาง ๆ กัน บางอยางเราสามารถเห็นไดดวยตา ไดยินดวยห ูบางอยางเปนความรูสึกภายในจิตใจที่ไมสามารถสังเกตได แตสามารถวัดไดดวยเครือ่งมือ หรือตัวช้ี และมีกิจกรรมหลายอยางที่คนแสดงออกมาทั้งที่รูสึกตัวและไมรูสึกตัว

Page 7: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

13

ประเทือง ภูมภิัทราคม (2540, หนา 37) ใหทัศนะวา พฤติกรรม หมายถึง การกระทํา การแสดงออกของบุคคลในสถานการณหนึ่งที่สามารถสังเกตเหน็ ไดยนิและวัดไดดวยเครื่องมือที่เปนปรนัย อาภาภรณ ดํารงสุสกุล และคณะ (2546, หนา 15) สรุปวา พฤติกรรม หมายถึง การกระทําหรือการแสดงออกตอสถานการณในสถานการณหนึ่งที่สามารถสังเกต เห็นได ไดยนิ นับได และวัดไดดวยเครื่องมือ เพื่อตอบสนองตอส่ิงเรา กันยา สุวรรณแสง (2536, หนา 92 อางถึงใน อุไร เพ็ชรนิล, 2547, หนา 16) ใหคําจํากัดความไววา พฤติกรรม คือ อาการ บทบาท ลีลาทาทาง ความประพฤติ การกระทําที่แสดงออกใหปรากฏสัมผัสไดดวยประสาท หรือมิฉะนัน้ก็สามารถวัดไดดวยเครื่องมือ โยธิน ศันสนยุทธ (2533, หนา 3 อางถึงใน อุไร เพ็ชรนิล, 2547, หนา 16) ใหนิยามไวกวาง ๆ วา เปนการกระทําทัง้หมดที่สังเกตได เชน การพดู การเดิน การเตนของหวัใจ และยังรวมถึงกระบวนการของจิต เชน การรับรู การคิด และการรูสึก สมจิตต สุพรรณทัสน (2524, หนา 3 อางถึงใน อุไร เพช็รนิล, 2547, หนา 16 - 17) ใหความ เหน็วา พฤติกรรมหมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ของอินทรียที่แสดงออกมาโดยสามารถสังเกตไดดวยบุคคลอื่น เชน การพูด การนั่ง การหัวเราะ ซ่ึงพฤติกรรมเหลานี้สังเกตไดดวยประสาทรับความ รูสึกทั้ง 5 แตกจิกรรมบางอยางตองใชเครื่องมือเขาชวย เชน เวลาคนตกใจ อาจไมเห็นไดดวยตาเปลา ตองอาศัยเครื่องมือเขาชวยวัดจังหวะการเตนของหวัใจ หรือแรงดนัเลือดที่เพิ่มขึน้ แมกระทั่งการเปลี่ยนแปลงของฮอรโมนหรือการหล่ังของน้ํายอยตาง ๆ ก็เปนพฤติกรรม นอกจากนี้พฤติกรรม ที่เกิดขึ้นภายในเชน การคิด จินตนาการ ความเชื่อ ฯลฯ ก็เปนพฤติกรรม ศิริลักษณ สุรการ (2539, หนา 20 อางถึงใน สาลินี จงเจตดีและคณะ, 2548, หนา 15) ไดใหความหมายของพฤติกรรมวา หมายถึง การกระทําหรือการตอบสนองของมนุษยตอสถานการณใดสถานการณหนึ่ง ซ่ึงการกระทําโดยมีจดุมุงหมายและเปนไปอยางใครครวญแลว ไมวาการกระทํานั้นจะสังเกตเห็นได หรือสังเกตไดจากเครื่องมือที่นํามาใช จากความหมายดังกลาวขางตน พอสรุปไดดังนีว้า พฤติกรรม หมายถงึ การแสดงหรือการกระทําของมนษุย ซ่ึงเกิดขึ้นโดยที่ผูกระทํารูสึกและไมรูสึกตัวในขณะกระทํารวมถึงการแสดงออกทั้งที่สังเกตไดและไมได ประเภทของพฤติกรรม นักจิตวิทยาจะแบงพฤติกรรมออกเปน 2 ประเภท คือ (ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร, 2545, หนา 20)

Page 8: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

14

1. พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) หมายถึง การกระทําที่ผูอ่ืนสามารถสังเกตได ซ่ึงแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1.1 พฤติกรรมโมลาร (Molar behavior) เปนพฤติกรรมที่สังเกตไดโดยตรงไมตองใชเครื่องมือชวย เชน พฤติกรรม กินอาหาร รองไห อาปาก ถีบจักรยาน 1.2 พฤติกรรมโมเลกุล (Molecular behavior) หมายถึง เปนพฤติกรรมที่สังเกตไดแตตองใชเครื่องมือชวย เชน การเตนของหัวใจ พฤติกรรมการโกหก ความดันโลหิต เปนตน 2. พฤติกรรมภายใน (Covert behavior) หมายถึง การกระทําที่ผูอ่ืนสังเกตไมไดโดยตรง ถาหากบุคคลที่เปนเจาของพฤติกรรมไมบอก หรือไมแสดงพฤติกรรมภายนอกออกมาใหผูอ่ืนสังเกต ดังนั้น พฤติกรรมภายในจึงเปนเรื่องของประสบการณสวนบุคคล (Private experience) ตนเทานั้นทีจ่ะรู ไดแก ความคิด ความจํา ความฝน จินตนาการ และพฤติกรรมการรูสึกตาง ๆ เชน หิว เพลีย เจ็บ ขื่นขม หนาว กลัว ตื่นเตน และเสียใจ เปนตน พฤติกรรมภายในจําเปนจะตองอาศัยการวัดหรือการสังเกตทางออม นั่นคือ สังเกตหรือวดัจากพฤติกรรมภายนอกหรือจดัสภาพแวดลอมบางอยาง เพื่อเปนการกระตุนใหบุคคลที่ถูกสังเกตแสดงพฤติกรรมภายนอกออกมา พฤติกรรมภายในอาจแบงเปน 2 ประเภท คือ 2.1 พฤติกรรมภายในที่เกิดขึน้โดยรูสึกตวั (Concious processes) พฤติกรรมเหลานี้เกิดขึ้น โดยผูที่เปนเจาของพฤติกรรมรูสึกวามันเกิดขึน้ ซ่ึงถาบุคคลนั้นสามารถควบคุมความรูสึกที่มันเกิดขึน้ได และไมบอกหรือไมแสดงอาการหรือสัญญาณหนึ่งสัญญาณใดใหคนอืน่รู ก็ยากที่ผูสังเกตจะรับรูได โดยเฉพาะถาผูสังเกตนั้นก็ไมสามารถตัดสินใจไดอยางถูกตองกับความเปนจริง พฤติกรรมดังกลาว เชน ปวดฟน หวิ โกรธ ตื่นเตน ชื่นชม เปนตน 2.2 พฤติกรรมภายในที่เกิดขึน้โดยไมรูสึกตัว (Unconcious processes) เปนพฤตกิรรมบางอยางที่เกิดขึ้นภายในตวับุคคล โดยบางครั้งบุคคลไมรูสึกตัว ซ่ึงมีผลตอพฤติกรรมภายนอกของบุคคลนั้น เชน ความคิด ปรารถนา ความคาดหวัง ความกลัว และความสุขใจ ฯลฯ นักจิตวิทยาสนใจศึกษาพฤติกรรมภายนอกทั้งที่สังเกตได โดยตรงและตองใชเครื่องมือชวย และพฤตกิรรมภายในทัง้ที่เกิดขึ้นโดยรูสึกตัวและไมรูสึกตัว การศกึษาพฤติกรรมภายในของนักจิตวิทยา ใชวิธีสังเกตจากพฤติกรรมภายนอกและสรุปเชื่อมโยงถึงพฤติกรรมภายใน สรุปไดวา พฤติกรรมแบงออกเปน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน พฤติกรรมภายนอกเปนพฤติกรรมที่สังเกตไดโดยตรงและสังเกตไดโดยใชเครื่องมือวัด พฤติกรรมภายในเปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยรูสึกตัว และไมรูสึกตัว

Page 9: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

15

องคประกอบของพฤติกรรม ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2522, หนา 68 อางถึงใน อาภาภรณ ดํารงสุสกลุ และคณะ, 2546, หนา 15) กลาววา พฤตกิรรมมีสวนประกอบอยูสามลักษณะดวยกนั คือ 1. พฤติกรรมดานพุทธปญญา พฤติกรรมดานนี้เกีย่วกับการรับรู การจํา ขอเท็จจริงตาง ๆ รวมทั้งการพฒันาความสามารถและทักษะทางสติปญญา การใชวิจารณญาณเพื่อประกอบการตัดสินใจ พฤตกิรรมดานพุทธปญญานี้ประกอบดวยความสามารถระดับตาง ๆ ซ่ึงเริ่มตนจากการรูในระดับงาย ๆ และเพิ่มการใชความคิด และพัฒนาสติปญญาขึ้นเรื่อย ๆ ซ่ึงขั้นของความสามารถตาง ๆ มี ดังนี้ 1.1 ความรู เปนพฤติกรรมขั้นตน ซ่ึงผูเรียนเพียงแตจําได อาจจะโดยการนึกได หรือโดยการมองเห็น ไดยินก็จําได ความรูในขั้นนี ้ไดแก ความรูเกีย่วกับคําจํากัดความ ความหมายขอเท็จจรงิ ทฤษฎี กฎ โครงสราง วิธีการแกปญหา 1.2 ความเขาใจ เมื่อบุคคลไดมีประสบการณกับขาวสารหนึ่ง ๆ อาจจะโดยการไดฟง ไดอาน หรือไดเขียน เปนทีค่าดวาบุคคลนัน้จะทําความเขาใจกับขาวสารนั้น 1.3 การประยกุตหรือการนําความรูไปใช ตองอาศัยความสามารถหรือทักษะทางดานความเขาใจ การนําความรูไปใช ก็คือ การแกปญหานั่นเอง 1.4 การวิเคราะห คือ ความสามารถในการแจกสวนประกอบยอย ๆ ของสวนรวมออกเปนสวน ๆ เพื่อใหเขาใจสานรวมไดอยางชัดเจนยิ่งขึน้ 1.5 การสังเคราะห หมายถึง ความสามารถในการนําเอาสวนประกอบยอยหลาย ๆ สวนมารวมกนัเขาเปนสวนที่มีโครงสรางที่แนชัด ความสามารถนี้เกี่ยวของกับการนาํเอาประสบการณเกามารวมประสบการณใหม แลวสรางเปนแบบแผนหรือหลักสําหรับปฏิบัติ 1.6 การประเมนิผล มาตรฐานนี้อาจจะออกมาในรูปคุณภาพและปริมาณ อาจจะมาจากที่บุคคลนั้นตั้งขึ้นเอง หรือจากมาตรฐานที่มอียูแลว ความสามารถในการประเมนิผลเปนตัวเชื่อมที่สําคัญของพฤติกรรมดานพทุธปญญากับพฤติกรรมดานความรู 2. พฤติกรรมดานเจตคติ คานยิมความรูสึกความชอบ พฤตกิรรมดานนี้ หมายถึง ความสนใจ ความรูสึก ทาที ความชอบ ไมชอบ การใหคณุคา การรับ การเปลี่ยนหรือปรับปรุงคานิยมที่ยึดติดอยู พฤตกิรรมดานนีย้ากตอการอธิบายเพราะเกิดขึน้ภายในจิตใจของบุคคล ซ่ึงจะตองใชเครื่องมือพิเศษในการวัดพฤติกรรมเหลานี้ เพราะความรูสึกภายในของคนนั้น ยากตอการที่จะวัดจากพฤติกรรมที่แสดงออกมาภายนอก ซ่ึงไดแก

Page 10: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

16

2.1 การรับหรือการใหความสนใจ เปนขัน้ที่แสดงวาบุคคลนั้นไดถูกกระตุนใหทราบวามีเหตกุารณหรือส่ิงเราบางอยางปรากฏอยู และบุคคลนัน้จะมีความยนิดีหรือมภีาวะจิตใจที่พรอมที่จะรับสิ่งเรานั้น หรือใหมคีวามสนใจตอส่ิงเรานั้น 2.2 การตอบสนองในขั้นนี้อาจจะกลาวไดวาบุคคลนั้นเกดิความสนใจอยางแทจริง ซ่ึงความสนใจเกดิขึ้นก็หมายความวา ผูเรียนไดมีสวนเกี่ยวของหรือมีความรูสึกผูกมัดกบัวัตถุพึงพอใจ จากการมีสวนรวมหรือจากการทํากิจกรรมนั้น 2.3 การใหคาหรือการเกิดคานิยมในขั้นนี้ บุคคลกระทําปฏิกิริยาหรือมีพฤติกรรม ซ่ึงแสดงวาเขายอมรับรูวาสิ่งนั้นเปนสิ่งที่มีคุณคาสําหรับตวัเขา พฤติกรรมของบุคคลในขั้นนี้ เปนขัน้ที่บุคคลไดพัฒนาหรือปรับปรุงสิ่งที่เขาตระหนักใหอยูในภาวะที่เขาสามารถบังคับไดหรือเปนสิ่งที่เปนของเขาอยางแทจริง สวนประกอบที่สําคัญของพฤติกรรมที่แสดงวาเกิดคานยิมขึน้ไดแก การเกิดภาวการณจูงใจ หรือเกิดแรงจูงใจ ซ่ึงแรงจูใจนีไ้มไดเกิดจากตองการที่จะฟง หรือปฏิบัติตามแตเกิดจากขอผูกมัดที่เกิดในตวับุคคลนั้นเองที่มีตอคานิยม 2.4 การเกิดกลุมคา เมื่อบุคคลเกิดคานิยมตาง ๆ ขึ้นแลว ซ่ึงหมายความวาคานิยมทีเ่ขามีนั้นจะหลายชนิด จึงมีความจําเปนที่ตองจดัระบบของคานิยมตาง ๆ ใหเขากลุม โดยพิจารณาถึงความสัมพันธของคานิยมเหลานั้น 2.5 การแสดงลักษณะตามคานิยมที่ยดึถือ บุคคลจะแสดงปฏิกิริยา หรือมีพฤติกรรมตาง ๆ โดยมีผลมาจากคานิยมที่เขามีหรือรับเอาไว พฤติกรรมในขั้นนี้มสีวนประกอบสองสวน คือ 2.5.1 การวางหลักทั่วไป พฤติกรรมในขั้นนี้แสดงใหเห็นถึงความพรอมที่จะปฏิบัติส่ิงหนึ่งสิ่งใด หรือแนวทางใดแนวทางหนึง่ ไดแก ความพรอมที่จะปรบัปรุงแกไขกฎเกณฑตาง ๆ และเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติบางอยางตามขอเท็จจริงที่เกดิขึ้น 2.5.2 การแสดงลักษณะ จะเปนสิ่งที่คอนขางจะมภีาวะสืบเนื่องมาจากคานิยม ที่บุคคลนั้นยึดมั่นอยู พฤติกรรมในขั้นนี้อาจจะแสดงใหเปนไดโดยสรางปรัชญาชีวิตสําหรับตัวเอง คิดกฎตาง ๆ ในการปฏิบัติตน โดยพจิารณาถึงเหตุผลทางดานศีลธรรมจรรยา และทางดานหลักประชาธิปไตย 3. พฤติกรรมดานการปฏิบัติ พฤติกรรมนี้ เปนการใชความสามารถนี้ แสดงออกทางรางกาย ซ่ึงรวมทั้งการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมที่แสดงออก และสังเกตไดในสถานการณหนึ่ง ๆ พฤติกรรมการแสดงออกนี้เปนพฤติกรรมขั้นสุดทายที่เปนเปาหมายของการศึกษา ซ่ึงจะตองอาศัยพฤติกรรมระดับตาง ๆ ที่ไดกลาวมาแลวเปนสวนประกอบ (ทางดานพุทธปญญา และทัศนคต)ิ พฤติกรรมดานนี้เมื่อแสดงออกมาจะสามารถประเมินผลไดงาย

Page 11: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

17

องคประกอบของพฤติกรรมสุขภาพ ประกอบดวยกนั 3 สวน คือ (ศูนยฝกอบรมและพฤติกรรมการสาธารณสุขมูลฐานภาคใต, 2541, หนา 38) 1. ดานพุทธิปญญา (Cognitive) พฤติกรรมดานนี้เกี่ยวของกับความรู ความเขาใจ การใหความหมายของสิ่งตาง ๆ รวมทั้งความสามารถและทักษะในดานสติปญญา 2. ดานทาที ความรูสึกนึกคดิ และเจตคต ิ(Affective) ไดแก ทาที ความรูสึก ความคิดเห็น ความชอบหรอืไมชอบ การใหคุณคาตอส่ิงที่มากระทบเปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคล 3. พฤติกรรมดานการปฏิบัติ (Curative) หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกทางรางกาย เปนความตั้งใจ หรือทาทีที่แสดงออกวาจะปฏิบัติในอนาคต สรุปไดวา องคประกอบของพฤติกรรม ประกอบดวย 3 องคประกอบ คือ ในดานความรูความเขาใจ หรือ ดานพุทธิปญญา ในดานจติใจ ความรูสึกนึกคิด หรือ ดานเจตคต ิและดานที่เกี่ยวของกับการแสดงออกทางรางกายหรือดานการปฏิบตัินั่นเอง ทฤษฎีและพฤติกรรมเก่ียวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง มีนักวิชาการไดกลาวถึงแนวคิด ทฤษฎีไวตาง ๆ มากมาย ซ่ึงเสนอไวดังนี้ สมัคร เวชจันทรฉาย และสรงคกฏณ ดวงคําสวัสดิ์ (2538, หนา 4 - 5) ไดกลาววาแนวคดิหลักทางสุขศึกษา ประกอบดวย 3 แนวคดิ คือ แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ แนวคดิเกี่ยวกบัพฤติกรรมสุขภาพ และแนวคิดเกี่ยวกับตนเอง แนวคดิที่ 1 เปนแนวคิดทางสุขภาพ ซ่ึงหมายถึง สุขภาพทางรางกาย จติใจ และสังคมแวดลอมที่เกี่ยวของสัมพันธกัน กลาวคือ ถาสุขภาพดานใดเจ็บปวยกย็อมมีผลกระทบตอสุขภาพดานอื่น ๆ ดวย แนวคดิที่ 2 เปนแนวคิดดานพฤติกรรมสุขภาพ ซ่ึงหมายถึง ความรู เจตคติ และการปฏิบัติตนทางดานสขุภาพอนามยั ซ่ึงเกี่ยวของสมัพันธกัน เชน การเปลี่ยนความรู เร่ืองสุขภาพอนามัย อาจทําใหเกดิการเปลี่ยนแปลงทางดานทัศนคติ และการปฏบิัติทางสุขภาพดวย หรือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพดานใดดานหนึ่ง ยอมกอใหเกดิการเปลีย่นแปลงพฤตกิรรมสุขภาพในดานอื่นดวย แนวคดิที่ 3 เปนแนวคิดทางดานบุคคล ซ่ึงหมายถึง บุคคลแตละคน ครอบครัว และชุมชน ซ่ึงมีความเกี่ยวของสัมพันธกนั ถาบุคคลแตละคนมีปญหาสุขภาพ กย็อมมีผลกระทบตอสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว และชุมชนที่เขาอาศัยอยู เฉลิมพล ตันสกุล (2538, หนา 9) ไดกลาววาประเภทพฤติกรรมตามแนวคิดทางสาธารณสุข จะเรียกวาพฤตกิรรมสุขภาพ (Health behavior) ซ่ึงหมายถึง การปฏิบัติ หรือการแสดงออกของบุคคลในการกระทําหรืองดเวนการกระทําในสิ่งที่มีผลตอสุขภาพโดยอาศัยความรู

Page 12: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

18

ความเขาใจ เจตคติและการปฏิบัติตนทางสุขภาพที่เกีย่วของสัมพันธกันอยางเหมาะสม ซ่ึงสามารถแบงประเภทของพฤติกรรมสุขภาพออกเปน 3 ประเภท ดังนี ้ 1. พฤติกรรมการปองกันโรค (Preventive health behavior) หมายถึง การปฏิบัติของบุคคลในการปองกันโรค เชน การสวมหมวกนิรภัยเมื่อข่ีรถมอเตอรไซด การสวมถุงยางอนามัยกอนมีเพศสัมพันธกับหญิงบริการ การพาบุตรไปฉีดวัคซีนปองกันโรค เปนตน 2. พฤติกรรมเมื่อเจ็บปวย (Illness behavior) หมายถึง การปฏิบัตทิี่บุคคลกระทําเมื่อรางกายมีอาการผิดปกติ หรือเจ็บปวย เชน การนอนพกัอยูบานแทนที่จะไปทํางาน การแสวงหาการรักษาพยาบาล เปนตน 3. พฤติกรรมบทบาทของการเจ็บปวย (Sickrole behavior) หมายถึง การปฏิบัติที่บุคคลกระทําหลังจากไดทราบผลการวินจิฉัยโรคแลว เชน การรับประทานยาตามแพทยส่ัง การออกกําลังกาย การเลิกดืม่สุรา เปนตน จะเห็นไดวา แนวปฏิบัติเกีย่วกับพฤติกรรมทั้ง 3 แนว หรือ 3 ดานนั้น ลวนมีความ สัมพันธกันทั้งสิ้น พรพรรณ (2537) ไดศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมเกี่ยวกับโรคอุจจาระราง พบวา พฤติกรรมเปนปจจยัเส่ียงที่สําคัญประการหนึ่งของโรคอุจาระรวง พฤติกรรมของมนุษยสงผลตอทั้งอัตราการเกิดโรคและอนัตรายจากโรคอุจาระรวงดวยกลไกตาง ๆ ดังตอไปนี้ คอื 1. ทําให Pathogenic agent สามารถเขาไปในตัว Host ได 2. มีผลตอการเพิ่มหรือลดความตานทานโรค หรือความรนุแรงของโรค 3. เกี่ยวของกบัแหลงเพาะเชื้อโรคในสิ่งแวดลอม หรืออาหาร พฤติกรรมตาง ๆ ที่มีผลตอโรคอุจาระรวงนี้ ถูกกําหนดดวยปจจัยทางดานวัฒนธรรม ความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณี ฐานะทางสังคมเศรษฐกิจและการศกึษาของประชาชน โดยเฉพาะถาเปนโรคอุจจาระรวงในเดก็ พฤติกรรมของมารดาหรือผูเล้ียงดูจะมีอิทธิพลมากตอการเกิดโรค (อรทัย, 2526) พฤติกรรมที่เกี่ยวของกับโรคอุจจาระรวงตามกลไกดังกลาวมาแลว มีดังนี้คอื 1. พฤติกรรมการลางมอื (Hand washing) การศึกษาจากหลายแหลงแสดงใหเห็นวา มือเปนอวยัวะที่เปนแหลงสะสมของแบคทีเรีย รวมทั้งที่เปนสาเหตุของโรคอุจจาระรวงดวย เชน เชื้อ Shigella (Hutchinson, 1985), Rotavirus (Samadi, 1983), S. aureus และ Enterobacteriace (Hardon, 1980) การศึกษาเชิงทดลองในบังคลาเทศที่กรุง Dhaka (Khan, 1982) โดยแบงกลุมทดลองเปนกลุมที่ไดรับสบูและน้ําและใหสุขศึกษา เพื่อใหลางมือทุกครั้งกอนรับประทานอาหารและภายหลังการถายอุจจาระ กลุมควบคุมไมไดรับสิ่งเหลานี้ทั้งสองกลุมเปนครอบครัวของผูปวยดวย Shigellosis ที่รับการรักษาทีค่ลินิก ผลการทํา Rectal swab ในระยะเวลา 10 วัน พบวา Secondary case rate ใน

Page 13: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

19

กลุมทดลองเทากับ 2.2% เปรียบเทียบกับ 14.2% ในกลุมควบคุม ผูวิจยัไดสรุปวาผลของการลางมือดวยสบูและน้าํทําให Secondary case rate ของ Shigellosis ลดลงถึง 84% เชนเดยีวกบัการศึกษาในสหรัฐอเมริกา (Black, 1981) ใน Day care centre ที่มีกิจกรรมใหผูเล้ียงดูเด็กและเด็ก (อายุตั้งแต 6 เดือน – 26 เดือน) ลางมือกอนจับตองอาหารและภายหลังการถายอุจจาระและปสสาวะ ทําใหอัตราอุบัติการณของโรคอุจจาระรวงลดลงถึง 48% เมื่อเทียบกบัศูนยเล้ียงเด็กที่ไมมีพฤติกรรมนี้ Feachem (1984) ไดวิเคราะหผลของ intervention programme ตาง ๆ เกี่ยวกับการลางมือและอุบัติการณของโรคอุจจาระรวง สรุปไดวา 1. อัตราอุบัติการณของ Shigellosis ในทุกกลุมอายุลดลง 35% ในกลุมครอบครัวที่อาศัยอยูใน Urdan area ของบังคลาเทศ และสําหรับอุจจาระรวงที่เกิดจากเชื้อที่ไมใช Shigella ก็มีอัตรา อุบัติการณลดลงประมาณ 37% ในประชากรกลุมเดียวกนั 2. ผลของการลางมือและโครงการใหสุขศึกษาเกีย่วกับสขุอนามัยตาง ๆ ทําใหโรคอุจจาระรวงในเด็กอายุ 0 – 17 เดือนในกวัเตมาลาลดลงถึง 14% การศึกษา follow up study ของการเกิดโรคอุจจาระรวง ในเดก็อายุต่ํากวา 5 ป ในเขตเมือง กรุงเทพมหานคร (Varavithya, 1989) พบวาการที่แมหรือคนเลี้ยงเดก็ไมลางมือภายหลังการขับถาย จะเสี่ยงตอการเกิดโรคอุจาระในเดก็ (RR = 1.6, 95% CI = 1.3 – 1.9) และถาเดก็เองไมลางมอืก็เสี่ยงเชนกนั (RR = 1.6, 95% CI= 1.1-2.5) นอกจากนี้มือที่สกปรกยังมผีลตอ Severity ของโรคอุจจาระรวงดวย จากการศึกษา Hospital - Based, Case - Control ในจังหวัดภาคกลางของประเทศไทย (Sabcharoen, 1992) ผูปวย คือ เด็กอาย ุ 24 เดือน หรือต่ํากวาที่ปวยดวยโรคอจุจาระรวง และมีสภาวะขาดน้ําปานกลางหรือรุนแรงเปรียบ เทียบกับกลุมควบคุมที่อายุเทากัน แตไมมสีภาวะขาดน้ํา พบวาปจจัยเส่ียงที่สําคัญอยางหนึ่ง คือ เล็บดําสกปรกซึ่งแสดงถึงพฤติกรรมอนามัยที่ไมดีทั้งเดก็และแมเอง (RO= 6.4, 95%CI = 1.5 – 27.6) ดังนั้น พฤติกรรมการลางมือบอย ๆ จึงเปนการปองกันการติดตอของเชื้อที่เปนสาเหตุของโรคอุจจาระรวงเขาสูรางกาย โดยเฉพาะระหวางที่มกีารระบาดของโรคในชุมชน 2. พฤติกรรมเก่ียวกับอาหาร พฤติกรรมนี้หมายรวมถึง การเตรียมอาหาร การประกอบอาหาร การเกบ็อาหารหรือวตัถุดิบที่ใชประกอบอาหาร จะเห็นไดวาโรคอุจจาระรวงนั้นสวนหนึ่งมาจากอาหาร Food bome outbreaks ที่กอใหเกิดอุจาระรวงจะพบไดเปนจาํนวนมากตอป ทั้งในประเทศที่พัฒนาแลวและดอยพัฒนาประมาณไดวาจํานวนที่แทจริงของ Food bome cases มีประมาณ 25 ถึง 100 เทาของจํานวนที่รายงาน (Hauschild และ Bryan, 1980) เชื้อที่เปนสาเหตุ มีทั้ง Salmonella spp. Staphylococcus aureus, Vibrio parahemolyticus และนอกจากนีย้ังมีประเภทสารเคมี เชน ยาฆาแมลงที่ปนเปอนในอาหารดวยสาเหตุของ Food borme outbreaks มักจะเกดิจากรับประทานอาหารรวมกัน การกินเล้ียงหรืออาหารที่ขายขางถนน สําหรับการเกิดอุจจาระในเด็ก

Page 14: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

20

มักจะเกิดจากการประกอบอาหารในบานมากกวาอาหารจากรานคา เพราะสวนใหญอาหารของเดก็มักจะประกอบเองโดยมารดาหรือผูเล้ียงดูเด็ก ประมาณวาโรคอุจจาระรวงที่เกดิจากอาหารมีสวนประมาณ 15 – 70 % ของโรคอุจจาระรวงในเด็กทั้งหมด (Esrey, 1985) เชื้อที่เปนสาเหตุที่สําคัญ คือ E.coli, Enterotoxigenic bacteria, CI. Welchii., S. aureus Salmonella, Shigella, Klepsiella spp. พฤติกรรมเกี่ยวกับอาหารทีท่ําใหเกดิการปนเปอนดวยแบคทีเรียตาง ๆ เหลานี้ มีดังตอไปนี้ คือ จากการเตรียมอาหาร (Food preparation) 1. ทําใหสุกไมพอ ดิบ ๆ สุก 2. ใชความรอนไมมากพอหรือไมนานพอ ขณะที่อุนอาหาร 3. ทําอาหารครั้งละมาก ๆ 4. ความเยน็ทีใ่ชสําหรับเก็บอาหารบางชนดิไมเพยีงพอ จากการประกอบอาหาร (Food handling) 1. ประกอบอาหารเปนผูติดเชื้อโรค 2. วัตถุดิบที่ใชประกอบอาหารปนเปอนดวยเชื้อโรค 3. อุปกรณประกอบอาหารไมสะอาด 4. น้ําที่ใชไมสะอาด 5. อาหารจากแหลงที่ไมสะอาด มีการปนเปอนดวยแบคทีเรีย การเก็บอาหาร (Food sterage) 1. เก็บในอณุหภูมิที่ไมสูงพอ 2. อาหารทิ้งไวนานหลังจากปรุงเสร็จแลวกวาจะนําไปเสิรฟ 3. ทิ้งอาหารไวในอณุหภูมิหอง 4. กินอาหารเหลือจากมื้อทีแ่ลว การบริโภคอาหาร 1. ปอนอาหารเด็กดวยมือทีไ่มสะอาด 2. ใชมือรับประทานอาหารแทนการใชชอน จากการศึกษาในประเทศไทย (Varavithya อางแลว) พบวาปจจัยเส่ียงของโรคอุจจาระรวงในเด็กอายตุ่ํากวา 5 ป อยางหนึ่งก็คือ การเก็บอาหารที่ปราศจากสิ่งปกปด มีแมลงวนัตอม และแมลงวันในบาน (Musca domestica) ก็เปนพาหะนําเชื้อที่ดีโดยเฉพาะเชื้อ (Musca domestica) ก็เปนพาหะนําเชื้อทีด่ีโดยเฉพาะเชือ้ Shigella (Lavine, 1991)

Page 15: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

21

3. พฤติกรรมการดื่ม การใชน้ํา และการกําจัดของเสีย การศึกษาในหลายประเทศระบุถึงความสัมพันธระหวางการเกิดโรคอุจาระรวงกับพฤติกรรมการใชน้ําและการกําจัดอุจจาระ การศึกษาในเขตเมืองในประเทศปาบัวนิวกินี (Bukenya และ Nwokolo, 1991) พบวา การเกิดอุจจาระรวงในเดก็อายุต่ํากวา 5 ป เพิ่มขึ้น 48% ถามีอุจจาระในบริเวณบาน และถามีการเลี้ยงหมูรวมดวยจะทําใหเกิดโรคเพิ่มขึ้น 69% แตถามีการตดิตั้งน้ําประปา ในบริเวณบานจะทําใหอุจจาระรวงลดลง 56% เชนเดยีวกบัการศึกษาในบังคลาเทศ ก็มีผลเชนเดยีวกัน แตการเก็บน้ําไวใชในบานโดยภาชนะใด ๆ ก็ตาม มักจะเปนแหลงเพาะเชื้อและทําให เกิดโรคอุจจาระรวงมากขึน้ การศึกษาใน Peri – urban community ในกรุงลีนา ประเทศเปรู โดยการติดตามผลการเกิดโรคอุจจาระรวงและปจจยัเสียงตาง ๆ (Yeager, 1991) พบวา เดก็ที่อยูในบานที่มีการเก็บน้ําไวในภาชนะที่ไมมีฝาปกติจะเกดิอุจจาระรวงไดมากกวากลุมที่ไมไดมีลักษณะนิสัยเชนนี้ (อัตราอุบัติการณมากกวา 7 คร้ัง/เด็ก คน/ป) การศึกษาทีเ่ซบู ในประเทศฟลิปปนส ซ่ึงเปนการเฝาระวังการเกิดโรคในเด็กอายตุ่ํากวา 2 ป พบวาเดก็ที่ดื่มน้าํปนเปอนดวย E coli มากกวา 1000/100 ml จะเสี่ยงทีจ่ะเกดิโรคอุจจาระรวงอยางมีนยัสําคัญทางสถิติ (Moe, 1991) การศึกษาใน South Africa (Schimding, 1991) พบวา เดก็อายตุ่ํากวา 5 ป ที่อยูในบานที่ไมมีน้ําประปา และสวมชนิดชักโครก และไมมีที่ทิ้งขยะจะเสี่ยง 3.3 และ 2.5 เทาที่จะเกดิโรคอุจจาระรวงได การที่ใหเด็กถายอุจจาระเร่ียราดโดยไมถายลงสวมหรือภาชนะรองรบัทําใหเกิดอุจจาระรวงไดมากกวาเด็กที่มพีฤติกรรมการถายที่ถูกตอง ซ่ึงขอมูลนี้พบทั้งในการศึกษาที่ Lagos Nigeria (Ekaem, 1991) และชุมชนเมืองในประเทศไทย (Varavithya, 1989) กลาวโดยสรุปคือ พฤติกรรมการจัดการกับอุจจาระโดยเฉพาะของเดก็ภายในบาน ถาไมไดกําจดัอยางถูกตองจะเสี่ยงตอการเกิดโรค การมีน้ําประปาใชในบานหรือน้ําจากบอเจาะทีม่ีระยะหางจากสวมในระยะทีป่ลอดภัยจะทาํใหลดอุบัติการณจากโรคอุจาระรวงได แตถากักน้ําไวใน ภาชนะโดยไมมีการปกปดในบานจะกอใหเกิดการติดเชือ้ไดมากกวา Intervention program ที่ พัฒนาระบบน้าํประปา และสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม การขจัดของเสียจะมีผลใหโรคอุจจาระรวงลดลง 16 – 37% (Esrey, 1985) คุณภาพของน้ําจะไมมีผลตอการเกิดโรคไดเทากับความพอเพยีงของ ปริมาณน้ําที่มใีชในชุมชน ถามีน้ําใชเพยีงพอก็สามารถลดอุบัติการณของโรคได

Page 16: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

22

งานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยัทีเ่กี่ยวของ พบวา การปฏิบัติที่มีผลตอการเกิดโรคอุจจาระรวง มีดังตอไปนี้ เพ็ญศรี ไผทรัตน (2548) ศึกษาการประเมนิผลการควบคุมโรคอุจจาระรวงในเดก็อาย ุต่ํากวา 5 ป ที่ระดับชุมชนในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2 กลุมตัวอยาง 2,400 คน พบวาพฤติกรรมการลางมือ การกําจัดอุจจาระเดก็มีความสัมพันธกับการปวยดวยโรคอุจจาระรวง วราวุฒิ ตุลาพฒัน และคณะ (2551) ศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเกิดโรคอุจจาระรวงในเด็กอายตุ่ํากวา 5 ป พบวาการลางมอืดวยสบูกอนใหเดก็รับประทานอาหาร การใหเดก็ใชชอนกลางเมื่อรับประทานอาหารรวมกับผูอ่ืน การลางผักสดหรือผลไมสดกอนนํามาใหเดก็รับประทาน การลาง หรือ แยกเขียงและมีด ที่ใชหัน่อาหารดิบและสกุ การอุนอาหารเกาใหเด็กรับประทาน การซ้ืออาหารจากรานจําหนายอาหารใหเด็กรับประทาน การลางมือใหเดก็หลังการใชสวมหรือสัมผัสส่ิงขับถาย การลางมือใหเด็กหลังการสัมผัสส่ิงสกปรก การใหเดก็ถายอุจจาระลงสวมทุกครั้ง การใหเด็กกนิอาหารที่ปรุงสุก ๆ ดิบ ๆ ทั้งอาหารทะเลแลอาหารทั่วไปมีความสัมพันธกับการเกิดโรคอุจจาระรวงในเด็กอายุต่ํากวา 5 ปที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 สวรรยา คงเปรี้ยว และคณะ (2543) ศึกษาบทบาทของมารดาในการดแูลปองกันโรคอุจจาระรวง และศึกษาบทบาทของผูดูแลเด็ก (ซ่ึงรวมทั้งมารดา และญาติผูใหญ) ของเขตพัฒนาการสาธารณสุขที่ 8 (นครสวรรค) โดยมวีัตถุประสงคเพื่อหารปูแบบในการพัฒนาพฤติกรรมปองกันและรักษาโรคอุจจาระรวงในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป พบวา ปจจัยที่มีอิทธพิลตอพฤติกรรมการปองกันและรักษาโรคอุจจาระรวง คอื ประสบการณปวย อาชีพ ความรูเร่ืองโรค ความสัมพันธกับเด็ก และการเคยไดรับการแนะนําเรือ่งโรคอุจจาระรวง และเมื่อใสกิจกรรมสุขศึกษาแลว ผูดแูลเด็กไดเปล่ียนแปลงพฤติกรรมปองกันโรคอุจจาระรวง นิพันธ อุดมระติ (2543) ศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของผูดูแลเด็ก โดยมวีัตถุประสงค เพื่อ ประเมินสถานการณแนวโนมโรคอุจจาระรวง โดยการสัมภาษณดูแลเดก็ที่ตกเปนตัวอยาง 60 คน ใน 6 ตําบล พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมการปองกันโรคอุจจาระรวงอยางถูกตอง เชน การลางมือดวยสบูกอนชงนมใหเดก็ และหลังการใชสวม แตบางสวนมีพฤติกรรมการรักษาโรคอยางไมถูกตอง เชน เร่ืองการใหอาหาร ผงน้ําตาลเกลือแรทดแทน ผูดแูลเด็กสวนใหญจะนําเด็กมาจากสถานพยาบาลทันทีที่เดก็มีอาการผิดปกติ สมใจ เต็งสมเพ็ชร และแวปา อุเซ็ง (2531) ศึกษาระบาดวิทยาของโรคอุจจาระรวงโดยไดทําการศึกษาในอําเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส โดยวิธีการสัมภาษณกลุมตัวอยางทีเ่ปนมารดาของเด็กอายุ 0- 4 ป ที่ปวยดวยโรคอุจจาระรวงและมารับบริการที่สถานีอนามัยตําบลสุคิริน จํานวน

Page 17: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

23

210 คน พบวา เด็กอายุ 0 – 4 ป สวนใหญถายอุจจาระบนพื้นทั่วไป ครอบครัวของเด็กปวยรอยละ 45.1 ถายอุจจาระในปาใกลบาน และพบวา ถายอุจจาระลงคลองถึงถึง รอยละ 21.1 สวนใหญดื่มน้ําฝน และน้ําบอ โดยไมไดตม สวนการทาํความสะอาดเตานม พบถึง รอยละ 25 ไมไดทําความสะอาดกอนใหนมบุตร การทําความสะอาดขวดนมที่ถูกวิธี คือ ตมใหเดือด พบเพยีง รอยละ 8.3 สวนการเลี้ยงบุตรดวยนมผสม พบวา รอยละ 16.7 จะเกบ็นมหลังจากเด็กดูดอิ่มแลวใหเดก็รับประทานในมื้อตอไป เยาวรัตน ปรปกษขาม และคณะ (2529) ศึกษาปจจยัดานสุขาภิบาลสิ่งแวดลอมที่เสี่ยงตอการเปนโรคอุจจาระรวง โดยทําการสํารวจ 19 จังหวัด คลอบคลุมรอยละ 73.41 ของหลังคาเรือนทั้งหมด ไดจํานวนตวัอยาง 36,611 คน พบวา ปจจยัทางดานสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกบัการเกิดโรคอุจจาระรวง ไดแก น้ํา น้ําที่ใชในบาน การปรับปรุงน้ํากอนนํามาใช การเปนเจาของแหลงน้ํา การใชสวมที่ถูกสุขลักษณ อังคณา จิราจนิต (2543) ศึกษาความสัมพนัธระหวางความเชื่อดานสุขภาพกับพฤติกรรมของมารดา เมื่อบุตรปวยดวยโรคอุจจาระรวง โดยศกึษาแผนกผูปวยนอกโรงพยาบาลรามาธิบดี และโรงพยาบาลเดก็ พบวา มารดาที่ระดับการศกึษา อาชีพ รายไดของครอบครัวและประสบการณเกี่ยวกับโรคอจุจาระรวงแตกตางกัน แตอายุและลักษณะครอบครัว ไมมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลบุตร ธาราทิพย ธรรมนวฤทธิ์ และคณะ (2541) ไดจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมการปองกันโรคอุจจาระรวงในเด็ก 2 – 5 ป ของมารดา และผูดูเดก็ จังหวดัขอนแกน โดยประยกุตแนวคิดรูปแบบความเชื้อดานสุขภาพ การใชกระบวนกลุม และแนวคดิการสนับสนุนทางสังคมจากบุคลากรในชมุชนมาเปนแนวทางในการจัดโปรแกรมสุขศึกษา พัฒนาพฤติกรรมการปองกันโรคอุจจาระรวงในเด็ก ผลการวิจัย พบวา ภายหลังการจดักจิกรรมพัฒนาพฤติกรรมการปองกันโรคอุจจาระรวงในเด็ก 2 – 5 ป สามารถทําใหมารดา และผูดแูลเด็กลุมทดลองมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการปองกันโรคอุจจาระรวงถูกตอง และเพิม่มากขึ้น และสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในดานความรูเร่ืองโรคอุจจาระรวง การรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําในการปองกนัโรคอุจจาระรวง การมีพฤตกิรรมการปฏิบัติที่ถูกตองในการปองกันโรคอุจจาระรวงในเดก็ และมคีวามสัมพันธดานบวก ดานความรูเร่ืองโรคอุจจาระรวง การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคอุจจาระรวง การรับรูความรุนแรงของการเกิดโรคอุจจาระรวง การรับรูผลดีของการปฏิบัติตามคําแนะนําในการปองกนัโรคอุจจาระรวงกับพฤติกรรมการปฏิบัติในการปองกันโรค อุจจาระรวง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ผลการวิจัยคร้ังนีแ้สดงใหเห็นอยางชัดเจนวาการจัดกิจกรรมการพัฒนาพฤติกรรมโดยการนําแนวคิด รูปแบบความเชือ่ดานสุขภาพมาประยุกตใชรวมกับการ

Page 18: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

24

พัฒนากระบวนการสนับสนนุทางสังคมและการใชเทคนิคกระบวนการกลุม มากําหนดกิจกรรม มีผลทําใหมารดา และผูดูแลเดก็ 2 – 5 ป มีการเปลี่ยนแปลงดานพฤติกรรมการปองกันโรค อุจจาระรวง ดานความรู การรับรู ดานตาง ๆ และการปฏิบัติตัวในการปองกันโรคอุจจาระรวงในเด็กไดดีขึ้น วลีลักษณ นันทวงศ (2533) ศึกษาพฤติกรรมอนามัยของมารดาที่มีความสัมพันธกับการเกิดโรคอุจจาระรวงในเดก็อายุต่ํากวา 5 ป ในมารดาที่มีบตุรอายุต่ํากวา 5 ป จํานวน 358 คน ศึกษาในชวง 15 กรกฎาคม 2531 - 31 ตุลาคม 2531 ผลการวิจัยพบวา พฤติกรรมการเลือกน้าํดื่มน้ําใช ของมารดา การลางมือหลังถายอุจจาระ การลางมือกอนเตรียมอาหาร การใชภาชนะปกปดอาหาร การปอนอาหารบุตร การใหบุตรรับประทานอาหารเอง และการกําจัดอุจจาระบุตร การทําความสะอาดขวดนมและการทําความสะอาดเตานมของมารดาที่เล้ียงดูบุตรดวยนมตนเอง มีความสัมพันธกับการเกดิโรคอุจจาระรวง ดสิุต สุจิรารัตน (2533) ศึกษาปจจัยเส่ียงการเกิดโรคอุจจาระรวงในเด็กอายุ 0-5 ป ในผูที่เล้ียงดูเดก็ จํานวน 466 คน ศึกษาในชวง 1-31 กรกฎาคม 2532 ผลการศึกษาพบวาปจจัยจาง ๆ ที่มีความสัมพันธกับการเกดิโรคลดลง ภาวะโภชนาการระดบั 2 และ 3 มีความเสี่ยงตอการเกิดโรคมากกวาเด็กปกติ ประวตัิความเจ็บปวยดวยโรคตาง ๆ เชน โรคระบบทางเดินหายใจและโรคภูมิแพ รายไดของครอบครัวเฉลี่ยตอคนตอเดือนต่ํากวา 500 บาท และบุคคลที่เล้ียงดูเดก็ไดแกบิดาและมารดา มีอัตราการเกิดโรคอุจจาระรวงนอยกวาบุคคลอื่น ชะนวนทอง ธนสุกาญจน และชฎาภรณ สุขนิรันดร (2538) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรคอุจจาระรวงของประชาชน จังหวัดยโสธร ในกลุมมารดาหรือผูเล้ียงดูเดก็อายุต่ํากวา 5 ป จํานวน 258 คน และประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไป จํานวน 382 คน ผลการวิจยัพบวา มารดาหรือผูเล้ียงดูเดก็อายตุ่ํากวา 5 ป มีความรูเร่ืองโรคอุจจาระรวงและการรับรูถึงอันตรายและการปฏิบัติตนเพื่อปองกันอยูในระดับปานกลางแตการรับรูถึงโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคความรุนแรงของโรค และการรับรูถึงประโยชนในการปฏิบัติตนเพื่อปองกันโรคอยูในระดับมาก และคําแนะนําที่ไดรับเกีย่วกบัโรคอุจจาระรวงสวนมากไดรับจากบุคคลใกลชิดและเจาหนาที่สาธารณสุข สมบัติ สุขสมศักดิ์ (2538) ศึกษาผลของการใชกระบวนการกลุมตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมารดาในการปองกันและรกัษาโรคอุจจาระรวงในเด็กอายุต่ํากวา 2 ป จังหวดัเพชรบุรี จํานวน 80 รายศึกษาในชวง 6 เมษายน 2536 - 27 กุมภาพนัธ 2537 ผลการศึกษาพบวา มารดาไมมีความรูเกี่ยวกับความหมาย สาเหตุการปองกนัโรค อันตรายจากการขาดน้ํา และการ รักษาเบื้องตนของโรคอุจจาระรวง มารดามีความเชื่อวาเด็กกําลังเปลี่ยนทา อาจเกดิอจุจาระรวงไดงาย พฤติกรรมการรักษาโรคเบื้องตนที่บานมารดาสวนมากจะรอดูอาการเด็กกอนไมไดใหความ

Page 19: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

25

ชวยเหลือและดานพฤติกรรมการปองกันโรคอุจจาระรวงสวนมากไมลางมือ ในการเลี้ยงดูบุตรกอนใหนมบุตร ชงนมใหบุตร กอนเตรียมอาหาร และหลังถายอุจจาระ เสนห ฟกแกว และคณะ (2540) ศึกษาการประยุกตใชแนวคิดทางพฤติกรรมสุขภาพวิเคราะหปญหาโรคอุจจาระรวง จังหวัดสมทุรปราการ ในคณะกรรมการควบคุมและปองกันโรคอุจจาระรวงจํานวน 120 คนและหัวหนาครอบครัวจํานวน 1,201 คน ผลการศึกษาพบวา การวิเคราะหปญหาโรคอุจจาระรวงในเด็กอายุต่าํกวา 5 ป ปวยดวยโรคอุจจาระรวงมากกวากลุมอาย ุอ่ืน ๆ และประชาชนมีความรูความสนใจในการใชผงน้ําตาลเกลือแร แตการไดรับอาหารเหลวของ เด็กเพิ่มขึน้เพยีงรอยละ 29.5 และไดรับเทาเดิมรอยละ 38.68 และเดก็ไดรับนอยลงรอยละ 30.19 ซ่ึงแสดงถึงเด็กเสีย่งตอการเกดิอนัตรายจากการขาดสารน้ํา ปรางคทอง ราษฎรจําเริญสุข และคณะ (2541) ศึกษาปจจัยเส่ียงในการเกิดโรคอุจจาระรวงของเด็กอายุต่ํากวา 6 ป ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 6 ประกอบดวย 7 จงัหวัด ไดแก ขอนแกน อุดรธานี หนองคาย หนองบวัลําภู กาฬสินธุ เลย สกลนคร ในผูดูแลเดก็อายุต่ํากวา 6 ปที่เกิดในชวง 10 มกราคม 2532 - 10 สิงหาคม 2538 จํานวน 11,280 คน ผลการศึกษาพบวา พฤติกรรมอนามัยสวนบุคคลที่เปนปจจยัเส่ียงเกี่ยวกับการเกดิโรคอุจจาระรวง ไดแก การจัดหาน้ําดื่มใหเด็กสวน ใหญเปนน้ําสะอาด คือ น้ําฝนรอยละ 53.4 น้ําตมรอยละ 25.8 น้ํากรองและน้ําประปารอยละ 5.7 และเปนน้ําไมสะอาดซึ่งเปนน้ําบอรอยละ 13.7 ดานพฤตกิรรมการลางมือของผูปรุงอาหารกอนปรุงอาหารใหเด็กรับประทาน พบวาผูดูแลเดก็ลางมือทุกครั้งรอยละ 37.9 เมื่อวิเคราะหแยกรายจังหวัดพบวามี 5 จังหวัด คือ เลย หนองบัวลําภู สกลนคร ขอนแกน อุดรธานี ที่ผูปรุงอาหารลางมือทุกครั้ง ตํ่ากวาภาพรวมของเขตและพฤติกรรมของผูปรุงอาหารไมลางมือกอนปรุงอาหารมี 3 จังหวดัที่สูงกวาภาพรวมของจังหวดัในเขต 6 คือ หนองบัวลําภูรอยละ 49.7 เลยรอยละ 37.0 และกาฬสินธุ รอยละ 22.9 ดานความถี่ในการตัดเล็บของเด็กสวนใหญมากกวารอยละ 53.0 เด็กไดรับการตัดเล็บหนึ่งครั้งตอสองสัปดาหขึ้นไป ผูดูแลเด็กที่กําจัดขยะเดก็ถูกสุขลักษณะทิ้งลงในสวม ขุดหลุมฝงหรือเผารอยละ 88.2 สําหรับการกําจัดอุจจาระที่ไมถูกสุขลักษณะ คือ การถายลงในทุงนา การทิ้งอุจจาระลงในถังขยะ คลอง ทอน้ํา ทอระบายน้ํา และพบวามี 2 จังหวดั คือ หนองคาย และขอนแกน ที่ผูดูแลเด็กกําจัดอุจจาระไมถูกสุขลักษณะสูงกวาภาพรวมของเขต 6 อุเทน จารณศรี และคณะ (2540) ศึกษาโครงการเฝาระวงัและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูเล้ียงดูเดก็เพื่อควบคุมโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ของเขต 6 ระยะที่ 2 จากการศกึษาพบวา ความรูเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ การรักษา โรคอุจจาระรวงรอยละ 95 รูจักโรคอุจจาระรวงและทราบสาเหตุการกินที่ไมสะอาดและมีแมลงวันตอมมากที่สุด การปองกันใหเด็กกนิอาหารปรุงสุกใหม ๆ ไมมีแมลงวันตอม สวนการกําจัดอุจจาระรวงเด็ก 1-4 ป สวนใหญจะถายลงกระโถน

Page 20: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

26

เด็ก 0-1 ป จะนําไปเทลงสวมราดน้ํามากทีสุ่ด การดูแลรักษาเบื้องตนเกี่ยวกับโรคอุจจาระรวง สวนใหญจะดื่มน้ําตมผสมสารละลายเกลือแรที่ผสมเองแตความรูในการผสมน้ําตาลเกลือแรยังไมถูก ตองแตถาเปนผสมน้ําตาลเกลือขององคการเภสัชกรรมจะมีความรูถูกตองมากที่สุด อุบล ทองชวย (2541) ศึกษาปจจัยเส่ียงของภาวะขาดน้ําที่คุกคามตอชีวิตในเด็กโรคคอุจจาระรวงอายุต่ํากวา 5 ป ศึกษายอนหลังเด็กเขารับการรกัษาที่โรงพยาบาลสตูล ในชวงกรกฎาคม 2539 – พฤษภาคม 2540 จํานวน 190 คน ผลการวิจัย พบวาเดก็ปวยดวยโรคอุจจาระรวงจะเกดิความเสี่ยงตอการขาดสารน้ํา ถาไมไดรับสารละลายเกลือแรในระยะเวลาปวยกอนมาโรงพยาบาลกอน 12 ช่ัวโมง และอุณหภูมิของรางกายมากกวา 37.6 องศาเซลเซียส เสาวภา พนัธุงาม (2541) ศึกษาปจจยัที่มคีวามสัมพันธตอพฤติกรรมการปองกันและการปฏิบัติตนขณะปวยเปนโรคอุจจาระรวงของมารดาหรือผูเล้ียงดูเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จังหวัดชุมพร จํานวน 700 ราย ดําเนนิการศึกษาในชวงธนัวาคม 2539 – มกราคม 2540 ผลการศึกษาพบวาในรอบ 1 ปที่ผานมา (ธันวาคม 2539 – มกราคม 2540) เด็กอายุต่ํากวา 5 ป ที่อยูในความดแูลของมารดาหรือผูเล้ียงดูเด็กรอยละ 44.3 ไมเคยปวยดวยโรคอุจจาระรวง และรอยละ 8.9 ปวยมากกวา 2 คร้ัง มารดาหรือผูเล้ียงดูเดก็มีความรูเร่ืองโรคอุจจาระรวงในระดับปานกลาง และมกีารรับรูความรุนแรงของโรคและโอกาสเสี่ยงตอการเกดิโรคอยูในระดับสูง และมพีฤติกรรมการปองกันโรคอยางถูกตองในระดับปานกลาง ดานปจจยัทีม่ีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคคือ ระดับการศึกษา ความรู การรับรูความรุนแรง และการรับรูโอกาสเสี่ยง สวนดานอายุ รายได อาชีพ และจํานวนเดก็ที่ดูแลไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปองกันโรคอุจจาระรวง อากาศ ชูปญญา และเกศรา แสนศิริทวีสุข (2541) ศึกษาตัวกําหนดของการเกิดโรคอุจจาระรวงในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป จังหวัดนครพนม ในกลุมผูเล้ียงดูเดก็ จํานวน 1,056 คน ในชวงกุมภาพนัธ-มีนาคม 2541 ผลการศึกษาพบวา ปจจยัที่มคีวามสัมพันธกับการเกดิโรคอุจจาระรวงมี 5 ปจจัย คือ อายขุองเด็ก ความเชื่อ ทัศนคติ ระดับการศกึษาและการกําจัดขยะของผูเล้ียงดูเด็ก และเมื่อพิจารณาโอกาสเสี่ยงของปจจัยดังกลาวตอการเกิดโรคอุจจาระรวงเปน 2.08 เทาของเด็กที่มีอาย ุต่ํากวา 2 ปขึ้นไป เนื่องจากเด็กอายุต่ํากวา 2 ป ชอบหยิบของเขาปากและพฤติกรรมของมารดาในการกําจัดขยะที่ไมถูกตองซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของการสํารวจพฤติกรรมและการรักษาโรคอุจจาระรวงของเด็กอายุต่ํากวา 5 ปที่ระดับชุมชนป พ.ศ. 2538 ผูเล้ียงดูเด็กที่ทัศนคติเชิงลบมีโอกาสเสี่ยงตอการเกดิโรคอุจจาระรวงในเด็กมากกวาผูมีทัศนคติเชิงบวก 2.98 เทา ปจจัยเกี่ยวกับความรูของผูดูแลเด็กที่มีความรูต่ํามีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคอุจจาระรวงในเด็กเปน 1.93 เทาของผูที่มีความรูสูง การกําจัดขยะและสิ่งปฏิกูล พบวามีการกําจัดขยะไมถูกสุขลักษณะซึ่งมีความเสี่ยงตอการเกิดโรคอุจจาระรวง 1.63 เทา เนื่องจากทําใหเชื้อแพรกระจายสูส่ิงแวดลอมและโอกาสจะนําเชื้อเขา

Page 21: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

27

มือและปากมมีากขึ้น การศกึษาของผูเล้ียงดูเด็กพบวาระยะเวลา ในการศึกษาต่ํากวาหรือเทากับ 6 ป มีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคอุจจาระรวงในเด็กมากกวาผูที่มีระยะเวลาในการศึกษามากกวา 6 ป จํานวน 2.22 เทา กานดา วัฒโนภาส และคนอืน่ ๆ (Kanda Vathanophas, et al. 1986, p 156-162) ไดศึกษาปจจัยดานสังคมเศรษฐกิจ พฤติกรรมของมารดา และส่ิงแวดลอมที่มีผลตอการเกิดโรคอุจจาระรวงในเดก็อายุต่ํากวา 5 ป เขตชุมชนแออัด กรุงเทพมหานคร ในระหวางเดือนธันวาคม พ.ศ. 2527 ถึงเดือนกุมภาพนัธ พ.ศ. 2528 จากการสัมภาษณมารดา 799 คน ซ่ึงมีลูกอายุต่ํากวา 5 ป ที่อาศัยในชุมชนแออัด 21 แหง ของกรงุเทพมหานคร เกี่ยวกับดานสังคม และเศรษฐกิจของครอบครัว พฤติกรรมของมารดาในการที่จะปองกนัการเกิดโรคอุจจาระรวง และส่ิงแวดลอม รวมทั้งการเกิดโรคอุจจาระรวง ในระยะ 2 สัปดาหที่ผานมา และการตายจากการเกิดโรคอุจจาระรวง ในรอบ 1 ปที่ผานมา หลังจากนั้นไดนําเอาขอมูลมาหาความสัมพันธกับการเกิดโรคอุจจาระรวง พบวาในชุมชนเหลานี้ปจจยัดาน สังคม และเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ไมมีผลโดยตรงตอการเกิดโรคอุจจาระรวง แตพฤติกรรมของมารดาในการลางมือกอนรับประทานอาหาร และหลังถายอุจจาระ รวมทั้งการใชฝาชีครอบอาหาร มีผลตอการเกิดโรคอุจจาระรวงอยางมนียัสําคัญทางสถิติ วันดี วราวิทย และคนอื่น ๆ (2534) ไดศึกษาโรคอุจจาระรวง ในเด็กอายุ 0-5 ป ในเขตเมือง : อัตราอุบัติการณธรรมชาติการเกิดโรค และปจจยัเส่ียง โดยทําการศึกษาเด็ก จํานวน 452 คน ที่อาศัยอยูในอาคารสงเคราะห แฟล็ตดนิแดง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร โดยวิธีเฝาระวังการเกิดโรค โดยใชอาสาสมัครในทองถ่ิน ที่ไดรับการฝกเกี่ยวกับโรคอุจจาระรวงในเด็ก ทําการเยีย่มบานสัปดาหละ 2 คร้ัง เปนเวลา 1 ป พบวาปจจัยเส่ียงที่ทาํใหเกดิโรคอุจจาระรวงที่สําคัญแยกตามอายุเด็ก ในเดก็อายุต่ํากวา 6 เดือน คือครอบครัวฐานะยากจน บิดา มารดาการศึกษาต่าํ และไมม ีงานทํา ในเด็กอายุ 6-11 เดือน ปจจยัเส่ียงคอืฐานะครอบครัวยากจน แมการศึกษาต่ํา และเดก็ไมไดอยูกับพอแม ในเด็กอายุ 1-2 ป คือ แมที่ไมไดทํางานนอกบาน และพฤตกิรรมอนามัยที่ไมถูกตอง ทั้งในตัวเด็ก และคนเลี้ยงเดก็ เชน การไมลางมือ การถายอุจจาระ และการทําความสะอาดขวดนม ในเดก็ 2-3 ป ปจจัยเส่ียง คือ การกําจัดอจุจาระเด็กไมถูกตอง การลางมือ เด็กเลี้ยงในสถานเลี้ยงเด็ก และการไมมีส่ิงปกปดอาหาร สุตรา และคนอื่น ๆ (Sutra S., et. Al. 1990, p 31-32) ไดทําการศึกษา ปจจัยทางดาน ชีวะสังคมของโรคอุจจาระรวง โดยทําการศึกษา ในเดก็อายุต่ํากวา 5 ป 481 คน จาก 14 หมูบาน ในชนบทภาคตะวนัออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยวิธีการศึกษาตดิตามเปนเวลา 1 ป จากเดือนพฤษภาคม 2531 ถึงเดือน เมษายน 2532 ซ่ึงเก็บขอมูลทั้งในเชิงปริมาณ และคณุภาพ โดยผูรวมสังเกตการณ 5 คน ที่เขาไปอาศัยอยูในหมูบานระหวางทีท่ําการศึกษา และไดใชวิธีการสังเกต

Page 22: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

28

เพิ่มเติม ในการอธิบายอยูในหมูบานระหวางที่ทําการศึกษา และไดใชวธีิการสังเกตเพิม่เติม ในการอธิบายถึงปจจยัเส่ียงของโรคอุจจาระรวงหลังจากไดแจกแจงปจจยัเส่ียงทั้งหมด ในแตละกลุมอายุดวยการวเิคราะหตวัแปร ทีละตัว (Univariate Analysis) และวิเคราะหตวัแปรเชิงซอน (Multivariate Analysis) ซ่ึงผลการศึกษาทั้ง 2 วิธี พบวาการวิเคราะหตวัแปรทีละตัว พบเด็กต่ํากวา 12 เดือน มีปจจัยพืน้ฐานของการเกิดโรคอุจจาระรวง คือ การปฏิบัติตัวของมารดา (เชน ประวัติการใหนมน้ําเหลือง แหลงของน้ําดื่ม) ปจจัยเกี่ยวกับความรูในการดูแลเด็ก (คนที่ถูกจัดใหดูแลเด็ก การศึกษาของบิดา มารดา และประสบการณ) สําหรับเด็กอายุมากกวา 2 ป มีปจจัยพืน้ฐานของการเกิดโรคอุจจาระรวง คอื ปจจัยดานสภาพแวดลอม (เชนที่ตั้งของครัว คอกสัตว และลักษณะบาน) ปจจัยดานการปฏิบัติตัวของมารดา (เชน การจัดการเกี่ยวกับน้ําดื่ม การลางมือกอนใหนม การเตรียมอาหารสําหรับเด็ก) ปจจัยดานความรูของมารดา (ซ่ึงเกี่ยวกับประสบการณในการดูแลเดก็ ความรูเกีย่วกับสารละลายเกลือแร) ปจจัยดานความเชื่อของมารดา และการไดรับการถายทอด การปฏิบัติแบบโบราณ ปจจัยดานโภชนาการของเด็ก และปจจัยดานเศรษฐกิจและสังคม (ความจน และอาชีพของบิดามารดา) และจากการวเิคราะหตวัแปรหลายตัว (Multivariate Analysis) พบวาประสบการณของมารดาในการดูแลเด็ก ความรูของมารดาเกี่ยวกับผงน้ําตาลเกลือแร (ORS) ที่ตั้งของครัวเรือน ลักษณะบาน และการถายทอดการปฏิบัติตัวแบบโบราณของมารดา มีความสัมพันธกับโรคอุจจาระรวงอยางมีนยัสําคัญทางสถิติ สุรีย สัตยวิศิษฏ (2533, หนา ก, ข) ไดศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเกิดโรคอุจจาระรวงในเด็กอายุ 0-5 ป ในประเทศไทย : การวิเคราะหตวัแปร พบวา เดก็อายตุ่ํากวา 2 ป จํานวน 1,321 คน มีอัตราปวยเปนโรคอุจจาระรวงรอยละ 17.0 หรือคิดเปน 2.59 คร้ังตอคนตอป เมื่อวิเคราะหตวัแปรเดยีว โดยใชตารางการการณจร พบวา ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการเกิดโรคอุจจาระรวง ไดแก เพศของเด็ก อายุของผูเล้ียงเด็ก อาหารมีการหุงตมหรืออุนใหม ๆ และน้ําดื่มของเด็ก เมื่อนําปจจัยเหลานี้มาวิเคราะหตัวแปรเชิงซอน โดยใชการถดถอยพหุแบบลอจิสตกิแบบมีขั้นตอน พบวาเด็กที่ดื่มน้ําที่ไมไดตม จะเสี่ยงตอการเกิดโรคอุจจาระรวง 1.6 เทาของเดก็ที่ดื่ม น้ําตม สุก เด็กเพศชายจะเสี่ยงตอการเกิดโรคนี้ 1.53 เทาของเด็กเพศหญงิ และเดก็ที่ไดรับการเลี้ยงดูจากมารดาหรอืผูเล้ียงที่มีอายุต่ํากวาหรือเทากับ 25 ป จะเสี่ยงตอการเกิดโรคนี้ 1.38 เทาของเด็กที่ไดรับการเลี้ยงดูจากมารดาหรือผูเล้ียงที่มีอายุมากกวา 25 ป สําหรับเด็กอายุ 2-5 ป จํานวน 2,797 คน พบวา มีอัตราปวยเปนโรคอุจจาระรวง รอยละ 7.8 หรือคิดเปน 1.05 คร้ังตอคนตอป เมื่อวิเคราะหตวัแปรเดี่ยว โดยใชตารางการจร พบวาปจจยัที่มีความสัมพันธกับการเกดิโรคอุจจาระรวง ไดแก ระดบัการศึกษาและอาชีพของผูเล้ียงเด็ก สถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวเรือน เขตที่อยูอาศัย การมีคอกสัตวอยูใตถุนบาน ความสะอาดของน้ําดื่มในครอบครัว การใชสวม การกําจัดขยะมูลฝอยและ

Page 23: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

29

น้ําโสโครก วิธีการกินอาหาร การลางมือกอนปอนอาหาร การมีภาชนะปกปดอาหารและการเลนกบัสัตวเล้ียง เมื่อนําปจจยัเหลานี้มาวิเคราะหตัวแปรเชิงชอน โดยใชการถดถอยพหุแบบลอจิสติกแบบมีขั้นตอน พบวาเด็กที่อาศัยอยูในครอบครัว ที่ไมถายอุจจาระในสวม หรือผูเล้ียงกินอาหารดวยมือหรือทั้งมือและชอน จะเสี่ยงตอการเกิดโรคอุจจาระรวง 1.75 เทาของเด็กที่อาศัยอยูในครอบครัวที่ถายอุจจาระในสวม หรือผูเล้ียงกินอาหารดวยชอน และเด็กที่เลนกับสตัวเล้ียง จะเสี่ยงตอการเกิดโรคอุจจาระรวง 1.44 เทาของเด็กที่ไมไดเลนกับสัตวเล้ียง จุฑารัตน ถาวรนันท และคณะ (2538, หนา 1) ไดศึกษา การสํารวจพฤติกรรมและการรักษาโรคอุจจาระรวง ในกลุมเด็กอายตุ่ํากวา 5 ป พบวาพฤติกรรมและความรูของผูดูแลเด็กเกีย่วกบัการปองกัน และรักษาโรคอุจจาระที่บาน โดยดําเนินการศึกษาใน 12 จงัหวดั จาก 12 เขตของประเทศไทย ไดจํานวนเด็กต่าํกวา 5 ป 16,147 คน มีอัตราปวยดวยโรคอุจจาระรวง 1.34 คร้ัง/คน/ป และเดก็ต่ํากวา 2 ป มีอัตราปวย (p = 0.000) และผูดูแลเดก็ที่มีอายุนอยระหวาง 15-24 ป มีโอกาสที่จะพบผูปวยมากกวากลุมอายุอ่ืน (p = 0.003) ในสวนของพฤติกรรมของผูดูแลเด็กเกีย่วกับการปองกันโรคอุจจาระรวง พบวา ผูดูแลเดก็ทีม่กีารกําจัดอจุจาระเดก็อายุต่าํกวา 5 ป ที่ไมถูกสุขลักษณะมีโอกาสที่เด็กจะปวยดวยโรคอุจจาระรวงมากกวากลุมที่มกีารกําจัดอยางถูกสุขลักษณะ 1.87 เทา (95% Cl = 1.62-2.16) และในกลุมอายุต่ํากวา 2 ป ผูดูแลที่ไมไดลางมือดวยสบูกอนทําอาหารและหลังการขับถาย มีโอกาสที่จะพบเดก็ปวยมากกวากลุมผูดแูลที่มีการลางมือดวยสบูทกุคร้ัง 1.35 และ 1.29 เทา ตามลําดับ (95% Cl = 1.66 – 1.73 และ 1.05 – 1.59) วันดี วราวิทย (2534) ไดทําการศึกษาถึงปจจัยทางดานวัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคมของมารดาที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกัน และรักษาโรคอุจจาระรวง ในเดก็อายุต่ํากวา 5 ป โดยมีวัตถุประสงคที่จะศึกษาความรู ความเชื่อที่เกี่ยวกับอาการ สาเหตุ และความไวตอการเกิดโรคอุจจาระรวง และความรุนแรงของโรคนี้ นอกจากนัน้เพื่อศึกษาวเิคราะหถึงปจจัยที่มผีลตอพฤติกรรมการปองกันและรกัษาโรคนี้โดยไดทําการศึกษาใน 11 หมูบาน จาก 2 ตําบล ที่มีอัตราปวยดวยโรคนี้สูงที่สุด ในจังหวดัขอนแกน ทําการคัดเลือกหมูบานที่สํารวจ โดยวิธีสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน ศึกษาโดยการสัมภาษณมารดา 386 คน ทีม่ีลูกอายุต่ํากวา 5 ป อยางนอย 1 คน ผลการศึกษาปรากฏวา มารดาสวนใหญรูวาการถายเหลว หรือถายเปนน้ํารวมกับอาเจียน หรือ ปวดทองเปนอาการของโรคอุจจาระรวง อยางไรก็ตาม 2 ใน 3 ของมารดา เชื่อวาโรคอุจจาระรวงไมใชอาการปวยแตเปนสิ่งปกติที่จะเกิดในเด็ก สาเหตุ คอื อาหารไมสะอาด อาหารไมสุก และน้ําไม สะอาด มีเพยีงสวนนอยเช่ือถือผิด ๆ คือ อุจจาระรวงในเดก็เกิดจาก การเปลี่ยนวยั การดื่มนมมารดาที่กินอาหารแสลง

Page 24: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

30

กัลยา ตันสกุล (2549) ไดศึกษาสภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดลอมของผูที่เคยปวยดวยโรคอุจจาระอยางแรง ในพื้นที่ตําบลคูเตา อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา พบวา ผูที่เคยปวยดวยโรคอุจจาระรวงอยางแรงสวนใหญมีและใชสวมรอยละ 97.1 สวมที่ใชสวนใหญเปนสวมราดน้ําไม ถูกสุขลักษณะรอยละ 88.6 และกลุมประชากรศึกษาเห็นวาสวมมีไวเพื่อเปนที่ขับถายมิดชิดถึงรอยละ 71.4 เห็นวาสวมเปนที่เก็บสิ่งโสโครกรอยละ 34.3 และมีเพียงรอยละ 14.3 ที่เห็นวาสวมมีไวเพื่อควบคุมการแพรกระจายของเชื้อโรค Khan (1982) ไดศึกษาวิจยัเชิงระบาดวิทยาสังคมเกี่ยวกบัพฤติกรรมการลางมือดวยสบูและน้ําหลังจากถายอุจจาระและกอนรับประทานอาหารกับการติดเชื้อบิด ซ่ึงเปนการศึกษาแบบ เฝาติดตาม โดยแบงกลุมทดลองเปนกลุมที่ไดรับสบูและน้ําและใหสุขศึกษา เพื่อใหลางมือทุกครั้งกอนรับประทานอาหารและภายหลังการถายอุจจาระ กลุมควบคุมไมไดรับสิ่งเหลานีท้ั้งสองกลุมเปนครอบครัวของผูปวยดวยโรคบิด ที่รับการรักษาที่คลินิก ผลการทํา Rectal swab ในระยะเวลา 10 วัน พบวาอตัราปวยมีเพียงรอยละ 2.2 ในกลุมทดลอง และรอยละ 14.2 ในกลุมควบคุม ผลการวิจัยไดสรุปวาผลของการลางมือดวยสบูและน้ํามผีลในการปองกันการติดเชื้อไดแนนอน ถึงแมจะอยูในสภาพแวดลอมที่ไมถูกหลักสุขาภิบาลก็ตาม ประทุมพร คันธรส (2534) ไดศึกษา ปจจัยท่ีมีความสัมพันธตอการเกิดโรคอุจจาระและการรักษาในเด็ก 0-4 ป อําเภอเสริมงาม จังหวดัลําปาง พบวา การปฏิบัติในดานการเตรียมอาหาร ไมมีความสัมพันธกับการเกดิโรคอุจจาระรวง สมชาย ศุภผล (2542) ไดเฝาระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อปองกันโรคอุจจาระรวงในเด็ก 0-5 ป กรณีศกึษาจังหวัดสมทุรสงคราม ป 2542 พบวา ปจจัยพฤตกิรรมสุขภาพที่มีความสัมพันธกับการปวยดวยโรคอุจจาระรวงในเดก็ 0-5 ป ไดแกการกําจดัอุจจาระเด็กไมถูกสุขลักษณะ การไมลางมือหรือลางมือดวยน้ําธรรมดาหลังถายอุจจาระของผูดูแลเด็ก การไมอุนอาหารที่เหลือกอนนํา มารับประทาน และการไมลางมือกอนรับประทานอาหารของผูดูแลเด็กและเดก็ สงวน ศิรินาม (2536) ไดศึกษาทัศนคติและการยอมรับการมีและใชสวมของชาวไทยมุสลิมใน 3 จังหวัดภาคใต พบวา ปจจัยสําคัญตอการใชสวม ไดแก แบบแผนการดํารงชีวิตประจําของประชาชนในหมูบาน สภาพทางสังคมวัฒนธรรม และสภาพทางภูมิสาสตร อุทัย อินตะสขุ (2549) ศึกษาเรื่องปจจัยทีม่ีความสัมพันธตอการเกิดโรคอุจจาระรวงในอําเภอวังชิน้ จงัหวัดแพร พบวาพฤติกรรมดานสุขาภิบาลไดแก พฤตกิรรมการทําความสะอาดขวดนม, พฤติกรรมใหเดก็กนิอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ และพฤติกรรมการลางผลไมกอนรับประทาน มีการปฏิบัติถูกตองรอยละ 75, 72 และ 58 ตามลําดับ และในสวนพฤติกรรมดานสุขาภิบาลที่มีการปฏิบัติ

Page 25: บทที่+2 สมบูรณ์ pdigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923155/chapter2.pdf · บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัี่ยที่

31

ถูกตองในระดบัต่ําไดแกการลางมือกอนรับประทานอาหาร การทําความสะอาดเตานมแม การเกบ็รักษาอาหาร และพฤติกรรมการกําจัดขยะมูลฝอย รอยละ 44, 5, 4 และ 3 ตามลําดับ สุกัญญา เนติศาสตร และคณะ (2539) การศึกษาปจจยัเสี่ยงตอการเกดิโรคอุจจาระรวงในเด็กอายตุ่ํากวา 5 ป จังหวดัชยันาท พบวา ปจจัยเส่ียงตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมอนามัยดังนี้ เด็กที่มารดาไมไดทําความสะอาด หัวนมดวยสําลีหรือผาชุบน้ํากอนใหนมเสี่ยงตอการเกิดโรคคอุจจาระรวง 1.56 เทาของเด็กที่มารดาทําความสะอาดหวันมดวยสําลีหรือผาชุบน้ํากอนใหนม เด็กที่มารดาไมลางมือดวยสบูกอนใหนมเสี่ยงตอการเกดิโรคอุจจาระรวง 1.16 เทา สวนเดก็ลางมือกอนกินอาหารดวยน้ําเปลาทุกครั้ง ลางมือดวยน้ําเปลาบางครั้ง และไมลางมือเสี่ยงตอการเกิดโรค อุจจาระรวง 1.87, 1.87 และ 1.97 เทา ตามลําดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งเดก็ที่อยูในครอบครัวที่ทําความสะอาดหลังถายอุจจาระไมถูกสุขลักษณะ และไมลางมือภายหลังขับถาย เสี่ยงตอการเกิดโรคอุจจาระรวง 4.78 เทาของเด็กที่อยูในครอบครัวที่ลางมือดวยน้ําและสบูทุกครั้งภายหลังถายอุจจาระ ในสวนการกําจัดอุจจาระที่ไมถูกสุขลักษณะเสี่ยงตอการเกิดโรคอุจจาระรวง 1.71 เทา


Recommended