+ All Categories
Home > Documents > การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน...

การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน...

Date post: 01-Sep-2019
Category:
Upload: others
View: 3 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
109
รายงาน การศึกษากฎระเบียบ มาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ (สหรัฐอเมริกาและแคนาดา) ภายใตโครงการศึกษากฎระเบียบ มาตรฐาน และระบบตรวจสอบและ รับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ ประจําปงบประมาณ 2550 (เมษายน 2550 -มีนาคม 2551) เสนอตอ สํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรตางประเทศ ประจํากรุงวอชิงตัน ดี .ซี.
Transcript
Page 1: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

รายงาน

การศึกษากฎระเบียบ มาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

(สหรัฐอเมริกาและแคนาดา)

ภายใตโครงการศึกษากฎระเบียบ มาตรฐาน และระบบตรวจสอบและรับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

ประจําปงบประมาณ 2550 (เมษายน 2550 -มีนาคม 2551) เสนอตอ

สํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรตางประเทศ ประจํากรุงวอชิงตัน ด.ีซี.

Page 2: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

สารบัญ หนา

บทที่ 1 บทนํา 1 บทที่ 2 อาหารฮาลาล 5

2.1 หลักทั่วไป 5

2.2 อาหารฮาลาลและอาหารโคเชอร 10

2.3 ภาวะการคาสินคาอาหารฮาลาลในตลาดโลก 15

2.4 การรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาล 22

บทที่ 3 ภาวะตลาดสินคาอาหารฮาลาลในภูมิภาคอเมริกาเหนือ 24

3.1 สถานการณตลาดสินคาเกษตรและอาหารในสหรัฐอเมริกา 26

3.2 ตลาดสินคาอาหารฮาลาลในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา 29

3.2.1 ขอมูลพื้นฐานดานประชากร 29

3.2.2 ประเภทตลาดสินคาอาหาร 31

3.2.3 ภาวะการบริโภคอาหารฮาลาลในสหรัฐฯและแคนาดา 34

3.3 กลุมสินคาอาหารฮาลาล ปริมาณความตองการบริโภคในตลาดสหรัฐอเมริกา 38

และแคนาดา

3.3.1 กลุมอุตสาหกรรมเนื้อสัตวปกและผลิตภัณฑ 38

3.3.2 กลุมอุตสาหกรรมประมง 44

3.3.3 กลุมอุตสาหกรรมธัญพืชและผลิตภัณฑ: ขาวและขาวสาลี 49

3.3.4 ผักผลไมสด แชเย็นแชแข็งและแปรรูป 50

3.4 ระเบียบ กฏเกณฑและมาตรการตางๆที่เกี่ยวของกับ การผลิตสินคาอาหารฮาลาล 50

3.4.1 สหรัฐอเมริกา 51

3.4.2 แคนาดา 56

Page 3: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

บทที่ 4 มาตฐานการผลิตและระบบตรวจสอบและรับรองสินคาอาหารฮาลาล 60 ขององคกรอิสลามในทวีปอเมริกาเหนือ

4.1 ภาพรวม 62

4.2 องคกรตรวจสอบรับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

4.2.1 . สมาคมอิสลามแหงอเมริกาเหนือ ประจําประเทศแคนาดา 62

(Islamic Society of North America, Canada Office: ISNA Canada)

4.2.2 สมาคมอาหารและโภชนาการอิสลามแหงสหรัฐอเมริกา 65

(The Islamic Food and Nutrition Council of America: IFANCA)

4.2.3 กลุมผูบริโภคมุสลิมแหงสหรัฐอเมริกา 68

(Muslim Consumer Group: MCG)

4.2.4 หนวยงานบริการติดตามสินคาฮาลาล 72

(Halal Monitoring Authority : HMA)

4.3 มาตรฐานการขอรับรองฮาลาลและการขอใชเครื่องหมายรับรองฮาลาล 73

ขององครกรตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

4.3.1 หลักทั่วไปสําหรับผูประกอบการและองคกรผูตรวจสอบรับรองฯ 73

4.3.2 มาตรฐานการผลิตสินคาอาหารฮาลาลรายกลุมสินคา 75

4.3.3 มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติเพื่อการผลิตอาหารฮาลาล 81

สําหรับผูประกอบการ

บทที่ 5 วิเคราะหปญหาและแนวทางการสงออกสินคาฮาลาลไทยกับตลาดในภูมิภาค อเมริกาเหนือ 86

5.1 ภาพรวม 86

5.2 ภาวะตลาดอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ ศักยภาพและโอกาสของประเทศไทย 87

5.3 กิจกรรมการดําเนินงานที่สําคัญของสํานักงานที่ปรึกษาเกษตรฯ ภายใตโครงการศึกษา 88

กฏ ระเบียบ และมาตรฐานและระบบตรวจสอบและรับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีป

อเมริกาเหนือ

Page 4: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

5.3.1 การสํารวจตลาดอาหารฮาลาลในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเพื่อ 90

ศึกษาและคนควาภาพรวมพฤติกรรมการบริโภคอาหารฮาลาล และปจจัยที่

มีผลตอการตัดสินใจซื้อสินคาของผูบริโภค

5.3.2 การติดตามและขยายผลความรวมมือดานกิจการฮาลาลกับองคกร 90

ตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

5.4 สรุปปญหา ขอเสนอแนะและขอคิดเห็นการวิเคราะหศักยภาพตลาด 96

สินคาอาหารฮาลาลในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

-------------------------------------------------

Page 5: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

โครงการศึกษากฎระเบียบ มาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

------------------------------------------------------------------------------------

บทที่ 1 บทนํา

1. หลักการและเหตุผล

อาหารฮาลาล (Halal Food) เปนอาหารที่ไดรับอนุญาตใหบริโภคไดตามบทบัญญัติ

ศาสนาอิสลาม โดยปจจุบัน ผลิตภัณฑอาหารดังกลาว ไดเขามามีบทบาทเพิ่มข้ึนเปนลําดับในตลาด

การคาผลิตภัณฑอาหารระหวางประเทศ เนื่องจากไมไดเปนอาหารที่ไดรับการผลิตขึ้นเพื่อผูบริโภค

เพียงกลุมเดียวคือชาวมุสลิมเทานั้น หากแตเปนอาหารที่ผูบริโภคทั่วไปสามารถรับประทานได เพราะ

ไดรับการผลิตขึ้นโดยผานกระบวนการควบคุมต้ังแตการเลี้ยง การแปรรูป การเตรียมอาหาร โดยวิธี

เฉพาะเจาะจงที่มีเหตุผลทางวิทยาศาสตรรับรองแลววาถูกสุขลักษณะและสุขอนามัย

ทวีปอเมริกาเหนือ ถือเปนประเทศคูคาผลิตภัณฑอาหารที่สําคัญของประเทศไทย

โดยในปจจุบัน แนวโนมตลาดอาหารฮาลาลในสหรัฐฯ ทางดานผลิตภัณฑอาหารประเภท Religious

Food หรือตลาดสินคาอาหารสําหรับผูบริโภคเฉพาะกลุมศาสนากําลังขยายตัวและทวีความสําคัญขึ้น

เปนอยางมากเนื่องจากสอดคลองกับกระแสการบริโภคอาหารสําหรับคนที่รักสุขภาพ ประกอบกับ

จํานวนประชากรชาวมุสลิมในสหรัฐฯ ไดเพิ่มจํานวนขึ้นอยางรวดเร็วทําใหอาหารดังกลาวไดรับความ

นิยมจากผูบริโภคมากขึ้น โดยในปจจุบัน สหรัฐฯ มีจํานวนประชากรมุสลิมอยูประมาณ 6-10 ลาน

คน บริโภคอาหารฮาลาลปหนึ่งมากถึง 12,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยสหรัฐฯ ไดใหความสําคัญใน

เร่ืองดังกลาวในหลายลักษณะ ซึ่งแสดงใหเห็นวา แนวโนมตลาดการคาผลิตภัณฑอาหารฮาลาลสหรัฐ

ฯ มีศักยภาพที่สูงมากและจะเปนตลาดใหมที่สําคัญของสินคาฮาลาลที่ผลิตจากไทยตอไปในอนาคต

แตหากพิจารณาในอีกมุมหนึ่ง ทวีปอเมริกาเหนือซึ่งประกอบดวยสหรัฐอเมริกาและแคนาดานั้น เปน

ประเทศที่มีความสามารถผลิตสินคาปศุสัตว เชน โคเนื้อ ไกและสัตวปก เพื่อผลิตเปนอาหารฮาลาล

รวมทั้งมีความสามารถสงออกอาหารฮาลาลไปยังประเทศอื่นๆ ในตลาดโลกดวย จึงนับวาเปนคูแขงที่

สําคัญในตลาดอาหารฮาลาลเชนเดียวกัน

Page 6: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ดวยเหตุนี้ ประเทศไทยในฐานะประเทศคูคาผลิตภัณฑอาหารที่สําคัญของสหรัฐฯ และ

แคนาดา และเปนประเทศผูผลิตอาหารฮาลาลที่มีสวนเฉลี่ยอัตราการสงออกไปยังประเทศที่มีชาวมุสลิมที่

สูง จึงมีทั้งโอกาสและศักยภาพสงออกอาหารฮาลาลมายังทวีปอเมริกาเหนือ และโอกาสที่ทวีปอเมริกา

เหนือจะเปนคูแขงในตลาดอาหารฮาลาลโลกอีกดวย จึงสมควรที่จะศึกษาถึงกฎ ระเบียบ และมาตรการ

ตางๆ ที่เกี่ยวของกับสินคาอาหารฮาลาลที่ประกาศใชในทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อทราบถึงกฎระเบียบ

ดังกลาวสําหรับนําไปจัดทําแผนพัฒนาอาหารฮาลาลไทยเพื่อสงออกไปยังทวีปอเมริกาเหนือ รวมทั้งได

รับทราบการสงเสริมและพัฒนาการผลิตอาหารฮาลาลและแนวทางการสงเสริมการสงออกสูตลาดโลกของ

ทวีปอเมริกาเหนือในฐานะคูแขงขัน สําหรับเปนแนวทางในการจัดทําและพัฒนาขีดความสามารถในการ

แขงขันของไทยในตลาดอาหารฮาลาลตอไป

2. วัตถุประสงคของการศึกษา

2.1 เพื่อรวบรวมและศึกษา กฎ ระเบียบ และมาตรการตางๆ ที่เกี่ยวของกับสินคาอาหาร

ฮาลาลที่ประกาศใชในทวีปอเมริกาเหนือ) เฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา

2.2 เพื่อศึกษาระบบการตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑอาหารฮาลาลขององคกร

นานาชาติที่สําคัญ และเปนที่ยอมรับของผูบริโภคในทวีปอเมริกาเหนือ เชน IFANCA (Islamic Food and

Nutrition Council of America), ISNA (Islamic Society of North America)

2.3 เพื่อวิเคราะหแนวทางการพัฒนามาตรฐานสินคาอาหารฮาลาลไทยและเสริมสราง

ความรวมมือระหวางองคกรที่เกี่ยวของ อันจะนําไปสูการเพิ่มศักยภาพการแขงขันของไทย และเพื่อให

สินคาอาหารฮาลาลไทยเปนที่ยอมรับในการสงออกไปยังประเทศตางๆ โดยเฉพาะ กลุมตลาดใหมๆ ใน

ทวีปอเมริกาเหนือ

2.4 เพื่อใหทราบถึงความตองการและปริมาณการบริโภคอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกา

เหนือ

3. วิธีการศึกษาและขอบเขตการดําเนินงาน

3.1 ศึกษาและรวบรวม กฎ ระเบียบ และมาตรการตางๆ ที่เกี่ยวของกับสินคาอาหาร

ฮาลาลที่ประกาศใชในทวีปอเมริกาเหนือ )เฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา

2

Page 7: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

3.2 ศึกษาระบบการตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑอาหารฮาลาลขององคกรนานาชาติ

ที่สําคัญ และเปนที่ยอมรับของผูบริโภคในทวีปอเมริกาเหนือ เชน IFANCA (Islamic Food and Nutrition

Council of America), ISNA (Islamic Society of North America)

3.3 วิเคราะหแนวทางการพัฒนามาตรฐานสินคาอาหารฮาลาลของไทย และเสริมสราง

ความรวมมือระหวางองคกรที่เกี่ยวของ อันจะนําไปสูการเพิ่มศักยภาพการแขงขันของไทยในทวีปอเมริกา

เหนือ (เฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา)

3.4 ศึกษาความตองการและปริมาณการบริโภคอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

3.5 เดินทางไปศึกษาดูงานองคกรตรวจสอบและรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลของทวีป

อเมริกาเหนือ ในมลรัฐที่สําคัญในประเทศสหรัฐอเมริกาเหนือ และแคนาดา

3.6 เสนอแนะแนวทางการพัฒนามาตรฐานสินคาอาหารฮาลาลไทยใหเปนที่ยอมรับของ

ผูบริโภคในทวีปอเมริกาเหนือ โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา

3.7 ติดตามขอมูลปจจุบัน ของกฎระบียบ และมาตรการที่มิใชภาษีตอการคาสินคาเกษตร

และอาหารไทยในสหรัฐอเมริกาและสรุปรายงาน

4. ระยะเวลาดําเนินการศึกษา

12 เดือน ( 1 เมษายน 2550 - 31 มีนาคม 2550)

5. ผลประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

5.1 ผลผลิต (output)

รายงานการศึกษากฎระเบียบ มาตรฐาน และระบบตรวจสอบและรับรองสินคาอาหาร

ฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ ประจําปงบประมาณ 2550

5.2 ผลลัพธ (Outcome)

- ไดแนวทางการพัฒนาสินคาอาหารฮาลาลของไทยใหสอดคลองและไดมาตรฐานตาม

กฎระเบียบ และมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของชาวมุสลิมในทวีปอเมริกา โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา

และแคนาดา

- ไดแนวทางการพัฒนาแผนการสงเสริมการสงออกสินคาฮาลาล โดยการวิเคราะหคู

แขงขันจากทวีปอเมริกาเหนือ

3

Page 8: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

6. ผูรับผิดชอบโครงการ 1. นายระพีภัทร จันทรศรีวงศ อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝายการเกษตร) สํานักงานที่ปรึกษา

การเกษตรตางประเทศ ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

2. นางสาวยุพาวรรณ อุทิศกูล ที่ปรึกษาฯ

4

Page 9: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

บทที่ 2 อาหารฮาลาล

2.1 หลักทั่วไป

) ”คําวา “ฮาลาล حالل , halāl, halaal ) เปนภาษาอาหรับ โดยทั่วไป แปลวา เหมาะสม

ถูกตองตาม เปนที่ยอมรับได หรือไดรับอนุญาต โดยสามารถใชกลาวอางถึงสิ่งใดๆ ที่ไดรับอนุญาต ถูกตอง

หรือถือวาเหมาะสมภายใตหลักบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม ซึ่งโดยทั่วไปมักหมายถึงแนวทางการปฏบิตัิ

ในชีวิตประจําวันตางๆ เชน พฤติกรรม คําพูด การแตงกาย การกระทํา มารยาท รวมถึงการบริโภคอาหารที่

เหมาะสม เปนตน โดยมีคําตรงขามกันคือคําวา Haraam (ฮะรอม) ซึ่งหมายถึงสิ่งตองหามหรือไมถูกตอง

และคําวา Musbus (มัสบุฮ) ซึ่งใชอางถึงกรณีของสิ่งที่เปนที่เคลือบแคลง นาสงสัยหรือไมสามารถระบุ

แหลงที่มาไดแนชัดวาเปน “ฮาลาล”หรือ “ฮะรอม” ซึ่งตามหลักการอิสลามแนะนําวาใหหลีกเลี่ยงจนกวาจะ

มั่นใจวาสิ่งนั้นคือฮาลาล จึงจะนํามาใชประโยชนหรือบริโภคได

ส่ิงที่เกี่ยวของภายใตความเปนฮาลาล มีความหมายครอบคลุมไดหลายอยาง เชน

1. ธุรกิจอาหาร - การผลิตและจําหนายสินคาอาหารไดแก เนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑซึ่งมี

แหลงที่มาและผานการผลิตที่ถูกตองตามภายใตหลักศาสนา และอาหารที่เปนฮาลาลโดยธรรมชาติ เชน

อาหารทะเล (บางชนิด) ผักและผลไม (สด แชเย็น แชแข็ง เปนตน)

- การผลิตสินคาอาหารแปรรูป (Food Manufacturing) ภายใตกระบวนการผลิต

ของหลักศาสนา

- รานคาปลีกสินคาเกษตรและอาหาร (Food retailing)

- ธุรกิจบริการอาหาร เชน ภัตตาคารหรือรานจําหนายอาหารสําเร็จรูป (Food

Service Industry)

2. การบริหารจัดการและการขนสงสินคา (Logistic and Shipping)

3. การเงินและการธนาคาร (Islamic banking and financial)

4. มาตรฐานการตรวจสอบและรับรองสินคาและบริการ (Standard, Auditing, and

Certification)

5. หลักการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Science and Technology)

5

Page 10: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

อยางไรก็ตาม ในการใชคําวาผลิตภัณฑฮาลาลโดยทั่วไป มักใชอางถึงกรณีของอาหาร

หรือเครื่องดื่ม ซึ่งไดรับอนุญาตหรือเหมาะสมแกการบริโภคโดยชาวมุสลิมหรือผูนับถือศาสนาอิสลาม

ดังนั้น คําวา “อาหารฮาลาล” จึงหมายถึงอาหารที่ชาวมุสลิมไดรับอนุญาตใหบริโภคได เพราะเปนอาหาร

ที่ผานกระบวนการผลิตและ/หรือประกอบไปดวยสวนผสมที่ถูกตองตามหลักศาสนาอิสลาม (Dietary Law)

ภายใตคัมภีร “Quran” ซึ่งไดบัญญัติแนวทางในการพิจารณาวาอาหารใดเปนอาหารฮาลาล โดยมีพื้นฐาน

ที่สําคัญ ไดแก ประเภทของแหลงวัตถุดิบ (เชน ประเภทของสัตว) และสวนประกอบของอาหาร

กระบวนการผลิตอาหาร วิธีการเชือดสัตวที่นํามาใชในการผลิตอาหาร รวมถึงอุปกรณที่ใชในการผลิต เปน

ตน ในขณะที่ “ฮะรอม” หมายถึงสิ่งตองหามบริโภค ที่สําคัญไดแก เนื้อหมูและผลิตภัณฑ แอลกอฮอลทุก

ชนิด เนื่องจากถือวาเปนสิ่งสกปรกหรือเรียกในภาษาอิสลามวา “นายิส (Najis)” แปลวา ไมสมควรแกการ

บริโภค นอกจากนี้ ในการกลาวถึงเนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑโดยทั่วไป ศาสนาอิสลามยังมีคําวา

“Zabihah” ซึ่งหมายถึงผลิตภัณฑที่มีที่มาจากสัตวที่ผานการเชือดตามวิธีการที่กําหนดไวตามหลักการฮา

ลาล นั่นเอง

ในความเปนจริง การผลิตอาหารฮาลาลไมไดเปนสิ่งที่ยุงยาก เพียงแตจะตองปฎิบัติตาม

บทบัญญัติของศาสนาอิสลาม ซึ่งไดวางขอกําหนดเกี่ยวกับแหลงที่มาของอาหาร วิธีการเชือดสัตว การ

เตรียม การแปรรูป การบรรจุหีบหอ การขนสง และการเก็บรักษาอาหาร ซึ่งตองระมัดระวังไมใหมีส่ิงเจือปน

ที่ตองหาม เปนตน การเตรียมอาหารฮาลาลมีวิธีการเฉพาะเจาะจงเรียกวา Zabjah ซึ่งระบุวาผูเตรียม

อาหารตองเปนผูนับถือศาสนาอิสลามเทานั้น และอาหารฮาลาลจะตองไมมีสวนผสมของเนื้อหมู หรือส่ิง

ตองหามที่ระบุไวในคัมภีร Quran เชน แอลกอฮอล เปนตน โดยสามารถสรุปหลักการพิจารณาวาอาหารใด

เปนฮาลาล (Halal Food) ได ดังนี้

1. แหลงที่มาของอาหารหรือผลิตภัณฑ

1.1 ผลิตภัณฑอาหารหรือสวนประกอบของอาหารตองที่มีแหลงที่มาที่เปนฮาลาลโดย

แบงเปนประเภทได ดังนี้

- ผลิตภัณฑปศุสัตว ไดแก เนื้อสัตวประเภทตางๆ เชน เนื้อวัว เนื้อไก และเนื้อ

แกะ ยกเวน เนื้อหมูและผลิตภัณฑ

- ผลิตภัณฑประมง ปลามีครีบและเกล็ดถือเปนฮาลาล อยางไรก็ตาม ในสวน

ของผลิตภัณฑประมงนี้ มีความเห็นแตกตางกันไประหวางกลุมชนชาวมุสลิม เกี่ยวกับการบริโภคสัตวน้ํา

ประเภทมีเปลือก เชน กุง Lobster ปู และ หอย เปนตน ซึ่งไมมีหลักเกณฑระบุไวอยางแนชัดในหลักศาสนา

6

Page 11: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

โดยชาวมุสลิมนิกาย Sunni มองวา ปลาทุกชนิดถือเปนผลิตภัณฑฮาลาล ในขณะที่กลุมนิกาย Shiah เห็น

วาสัตวน้ําประเภทมีเปลือก (กุง lobster ปู และ หอย เปนตน) เปนฮะรอม

- นม ไข และผลิตภัณฑ ตองมาจากสัตวที่เปนฮาลาล ซึ่งโดยทั่วไปหมายถึง สัตว

ปก เชน ไก หรือสัตวเคียวเอื้อง เชน วัว เปนตน ถามีแหลงมาจากที่อ่ืนตองมีการปดฉลากระบุแหลงที่มาไว

เร่ืองของเอนไซมในผลิตภัณฑประเภท เนย ชีสหรือครีม ถือวาสําคัญมาก เพราะอาจทําใหอาหารเปนไดทัง้

ฮาลาลและฮะรอม ข้ึนอยูกับแหลงที่มาของสัตวที่ใชในการผลิต

- ผักและผลไมสด จัดเปนอาหารฮาลาลโดยธรรมชาติ

- สวนประกอบของอาหาร ที่พบไดบอยไดแก เจลาติน (Gelatin) glycerin,

emulsifier, enzymes, alcohol, ไขมันสัตว, โปรตีน และสารปรุงรสตางๆ ถือเปนประเด็นที่สําคัญมาก

อาหารจะเปนฮาลาลหรือไม ข้ึนอยูกับสวนประกอบของอาหารนั้นๆ ดวย

เจลาติน (Gelatin) เปนสวนประกอบอาหารที่พบไดบอยในผลิตภัณฑอาหารตางๆ โดยมี

แหลงที่มาจากอวัยวะของสัตว เปนหลัก เชน หนังหมู หรือกระดูกวัว เปนตน ในสวนนี้ จึงทําใหชาวมุสลิม

สวนใหญมักเลือกจะหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสวนประกอบดังกลาว เนื่องจากไมแนใจในแหลงที่มาวามาจาก

สัตวที่เปนฮาลาลหรือไม ยกเวนวามีการระบุไวอยางชัดเจนบนฉลากผลิตภัณฑ ดังนั้นหากเปนเจลาตนิทีม่า

จากสัตวตามหลักการศาสนาอิสลาม ก็ตองดูไปถึงวาเปนสัตวอนุมัติและเชือดถูกตองหรือไม

สารกลีเซอริน (Glycerin) พบไดในผลิตภัณฑอาหารสวนใหญ เชนเดียวกับเจลาติน ซึ่งมัก

ไมปรากฏแหลงที่มาที่แนชัดวามาจากสัตวฮาลาลหรือไม ชาวมุสลิมสวนใหญจึงเลี่ยงที่จะรับประทาน

อาหารที่มีสวนผสมของสวนประกอบดังกลาว ยกเวนกลีเซอรินที่ทําจากน้ํามันปาลมหรือน้ํามันพืชอ่ืนๆ ซึ่ง

ไดมีการระบุไวอยางแนชัดบนฉลากอาหาร เปนตน

สารอิมัลซิไฟเออร (Emulsifier) หรือสารที่เปนตัวกลางเพื่อชวยทําใหของเหลวสองชนิดที่

ผสมเขากันไมได สามารถอยูรวมประสานเขาเปนเนื้อเดียวกันและคงอยูไดในสภาพนั้นโดยไมแยกชั้น

ตัวอยางเชน monoglycerides, diglycerides, polusorbates หรือสารเคมีอ่ืนๆที่อาจมีที่มาจากแหลงที่

เปนฮาลาลหรือฮะรอม

สารเอนไซม (Enzymes) ใชในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารประเภทชีสหรือแปง เดิมมัก

พบวามาจากสัตวเปนหลัก ปจจุบันพบวาสามารถสกัดไดจากจุลินทรียตางๆ

เครื่องดื่มแอลกอฮอล เชน เหลา ไวน หรือเบียร ถือเปนสิ่งตองหามบริโภค อาหารที่มี

สวนผสมของแอลกอฮอล จะถือเปนฮะรอมทันที

ยกเวน อาหารที่มีสวนผสมของแอลกอฮอลตามธรรมชาติ เชน ผลไมบางชนิด หรือ

กระบวนการผลิตหรือแปรรูปอาหารบางอยางซึ่งไมสามารถหลีกเลี่ยงการใชแอลกอฮอลได เชน การสกัด

7

Page 12: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ละลาย หรือการทําใหตกตะกอนอาหาร (Precipitate) ซึ่งในสวนนี้ถือวาเปนที่ยอมรับไดในกลุมผูบริโภค

ชาวมุสลิม โดยอาหารที่ผานการสกัดจากแอลกอฮอลถือวาเปนฮาลาลได ตราบเทาที่แอลกอฮอลไดถูก

กําจัดหมดไปในสวนผสมสุดทาย (final ingredient) เชน ไวนที่ถูกทําใหแปรสภาพเปนน้ําสมสายชูถือเปน

ฮาลาล โดยอัตราแอลกอฮอลสูงสุดในสวนประกอบของอาหารที่เปนที่ยอมรับโดยทั่วไป คือ 0.5 %

อยางไรก็ตามประเด็นนี้อาจมีขอคิดเห็นแตกตางกันไปตามขึ้นอยูกับคววามเครงครัดของกลุมผูบริโภคดวย

เชน องคกร IFANCA กําหนดอัตราที่ยอมรับไวอยูที่ 0.1 % ตราบเทาที่การทําใหบริสุทธิ์ (Impurify) ไมมี

ผลเปลี่ยนแปลงกลิ่น รสชาติหรือลักษณะทางกายภาพของอาหาร อาหารนั้นๆก็อาจถือวาเปนฮาลาลได

1.2 ตองไมมีสวนประกอบของสิ่งตองหามที่เปนฮะรอม หรือผานการปนเปอน

สัมผัส หรือมีสวนผสมของสิ่งที่เปนฮะรอม

ตัวอยางอาหารหรือเครื่องดื่มที่ถือวาเปนฮะรอม ไดแก

- เนื้อหมูและผลิตภัณฑ หรืออาหารที่มีสวนประกอบที่มาจากหมู (น้ํามันหมู,

ไขมันหมู, หนังหมู, กระดูกหมู เปนตน)

- เลือดและเจลาตินสัตว

- สัตวที่ผานการกระบวนการเชือดโดยมิไดมีการเอยนามของพระเจา

- เนื้อสัตวที่เนาเปอย หรือซากสัตว

- สัตวที่กินเนื้อสัตวอ่ืนเปนอาหาร และสัตวที่มีเขี้ยวเล็บ ยกเวนปลาและสัตวทะเล

บางประเภท

- สัตวที่ตายตามธรรมชาติ หรือตายดวยวิธีการทารุณ

- ส่ิงของมึนเมาตางๆทุกชนิด โดยเฉพาะแอลกอฮอล เหลา ไวน

2. กระบวนการผลิตและวิธกีารเตรียมอาหาร ขอกาํหนดการเชือดและการชําแหละสัตว

อาหารจะถือวาเปนฮาลาลตอเมื่อสัตวทีน่ํามาใชทาํอาหารนั้นๆ ผานการเชือดโดยวิธกีารที่

กําหนดไวในหลักศาสนา โดยมีหลกัที่สําคัญคือ ผูเชือดตองเปนชาวมุสลิมเทานัน้และจะตองมีการเอยนาม

พระเจาระหวางการเชือดทุกครั้ง

การทําใหสัตวสลบกอนการเชือด (Stunning) เชน การใชไฟฟาช็อต การแทง ตามหลัก

ศาสนา มีประเด็นความเห็นที่แตกตางกันไประหวางกลุมชาวมุสลิม โดยกลุมที่เครงครัด เชนนักบวช หรือ

นักวิชาการทางศาสนาไมยอมรับวิธีการดังกลาวเนื่องจากถือวาขัดกับหลักศาสนา แตโดยทั่วไปแลว วิธีการ

ดังกลาว ถือวาเปนที่ยอมรับไดในกลุมผูบริโภคในสหรัฐฯ และแคนาดา

8

Page 13: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

2. สัญลักษณตรารับรองแสดงสถานะความเปนฮาลาลของประเทศตางๆ

ตรารับรองสินคาฮาลาลของประเทศไทย โดยสํานักงานคณะกรรมกลางอิสลามแหงประเทศไทย

ตัวอยางตรารบัรองสินคาฮาลาลของประเทศตางๆ

9

Page 14: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

2.2 อาหารฮาลาล (Halal) และอาหารโคเชอร (Kosher)

2.2.1 อาหารโคเชอร

อาหารโคเชอร (Kosher Food) หมายถึง อาหารที่อนุญาตใหชาวยิวบริโภคได ภายใต

คําสอนของหลักศาสนายูดาย ซึ่งมีหลักการพื้นฐานคลายๆกับ หลักการของอาหารฮาลาลในศาสนา

อิสลาม

หลักการของอาหารโคเชอร มีปรากฏอยูในคําสอนของศาสนายูดายที่เรียกวา คัมภีรโต

ราห (Torah) ซึ่งไดวางขอกําหนดเกี่ยวกับอาหารไวเพื่อใชพิจารณาวาอาหารนั้นเปนไปตามหลักศาสนา

และเปนที่ยอมรับได คําวา “แคชรูท” ( Kashruth) หมายความวา ไดรับอนุญาตหรือเหมาะสม โดย

ตัวอยางหมวดอาหารหลักที่จัดวาเปนโคเชอร เชน เนื้อจากสัตวเล้ียงลูกดวยนม สัตวปกและผลิตภัณฑ

ปลาที่มีเกล็ดและครีบ ผักและผลไม พารเว (pareve) หรืออาหารที่ไมมีเนื้อสัตวหรือนมเปน

สวนประกอบ สําหรับอาหารที่ไมใชอาหารโคเชอร ไดแก หมู, ปู, กุง, หอย หรือสัตวที่มีกระดอง รวมทั้ง

อาหารที่มีสวนผสมทั้งเนื้อและนมรวมกัน จะเห็นไดวาอาหารโคเชอรมีความปลอดภัยตอการบริโภคใน

กลุมชาวยิว, มุสลิม เนื่องจากไมมีเนื้อหมูเปนสวนประกอบ และยังเหมาะกับกลุมผูที่เปนโรคภูมิแพ เชน แพ

กุง หรือปู หรือไมสามารถดื่มนมได นอกจากนี้อาหารโคเชอรยังไมรวมถึงขาวโพด หรือผลิตภัณฑที่มี

ขาวโพดเปนสวนผสม เชน น้ําเชื่อมขาวโพด เปนตน นอกจากนั้นสวนผสมหรือเครื่องปรุงตางๆ จะตองผลิต

จากอุปกรณที่ผานการตรวจรับรองจากโคเชอรกอน (kahered) ซึ่งมีการตรวจสอบในเรื่องความสะอาดและ

สุขลักษณะเปนประจํา

เชนเดียวกับอาหารฮาลาล การผลิตและการจําหนายสินคาที่ไดรับการกลาวอางวาเปน

ผลิตภัณฑโคเชอร จะตองมีสัญลักษณหรือใบรับรองสถานะดังกลาวอยางชัดเจนจากองคกรผูตรวจสอบที่มี

ความนาเชื่อถือ โดย องคกร Orthodox Union เปนองคกรรับรองอาหารโคเชอรรายใหญที่สุดของโลกซึ่งมี

สาขาใหญตั้งอยูที่นครนิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกา

10

Page 15: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

สัญลักษณตรารับรองอาหารโคเชอร มีหลายรูปแบบ ที่เปนที่รูจักกันแพรหลายที่สุด ไดแก

สัญลักษณตรารับรองที่เปนตัวอักษร “U” ลอมรอบดวยวงกลม

ตัวอยางสัญลักษณตรารับรองอาหารโคเชอร ประเภทตางๆ

2.2.2 ภาพรวมตลาดโลกอาหารโคเชอร

ปจจุบัน จํานวนประชากรยิวโลก มีประมาณ 1,300 ลานคน และมีแนวโนมการขยายตัว

ของตลาดสําหรับอาหารโคเชอรเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง โดยมีมูลคาตลาดรวมทั่ว ณ ปจจุบันประมาณ 3.5

แสนลานเหรียญ หรือประมาณ 10.7 ลานลานบาท โดยประเทศสหรัฐอเมริกาถือเปนประเทศที่มีชาวยิว

อาศัยอยูมากที่สุด มีจํานวนประชากร ณ ป 2549 นับไดประมาณ 6.5 พันลานคน มีอัตราการขยายตัว

ของประชากรเพิ่มข้ึนนับจากป 2544 กวารอยละ 20 โดยสวนใหญเกาะกลุมอาศัยอยูมลรัฐ นิวยอรก

แคลิฟอรเนีย ฟลอริดา นิวเจอซี่ และเพนซิลเวเนีย ตามลําดับ รองลงมาคือประเทศอิสราเอลมีชาวยิวอาศัย

อยูประมาณ 4.9 พันลานคน สวนประเทศแคนาดาจัดอยูในลําดับที่ 4 มีจํานวนประชากรประมาณ 3.6

แสนคน คิดเปนสัดสวนรอยละ 2.9 ตอจํานวนประชากรยิวโลก 1 เกาะกลุมอาศัยอยูในเมืองโตรอนโต

มลรัฐ ออนทาริโอกวา รอยละ 50

1 ที่มา : U.S. Census Bureau of Statistic,

11

Page 16: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

อาหารโคเชอร ถือเปนหนึ่งในกลุมผลิตภัณฑอาหารเพื่อสุขภาพซึ่งไดรับความนิยมบริโภค

ในตลาดอาหารทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดามานานแลว โดย ปจจุบันพบวา กระแสความ

นิยมการบริโภคอาหารดังกลาว ไดขยายตัวเขาสูกลุมบริโภคอาหารประเภทตางๆ มากขึ้นโดยแบงกลุม

ผูบริโภคออกไดเปนสามประเภท ดังนี้

1. กลุมผูบริโภคหลักชาวยิว

2. กลุมผูบริโภคอาหารมังสวิรัติ และกลุมผูบริโภคที่ตองการอาหารเพื่อสุขภาพ เชน

ผูบริโภคที่มีความเสี่ยงของการเปนโรคภูมิแพ ซึ่งภาพพจนของอาหารโคเชอรสําหรับกลุมผูบริโภค

เหลานี้ ถือวาเปนอาหารที่มีคุณภาพและคุณคาทางโภชนาการสูง เพราะเปนอาหารที่มี่เนื้อสัตวหรือนมเปน

สวนผสม

3. ผูบริโภคจากกลุมศาสนาอื่น ๆ โดยเฉพาะชาวมุสลิมซึ่งพบวาปจจุบันยังคงใหความ

สนใจการบริโภคอาหารโคเชอรเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง โดยจากการสัมภาษณกลุมผูบริโภคชาวมุสลิม

บางสวนในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา พบวาสาเหตุหลักมาจากผลิตภัณฑอาหารตางๆ ที่วาง

จําหนายอยูทั่วไป ซึ่งพบวามีสินคาหลายอยางอาจจัดวาเปนอาหารฮาลาลได แตไมไดรับการระบุวาเปน

ฮาลาล จึงทําใหผูบริโภคเกิดความไมแนใจ และเลือกหันไปบริโภคอาหารโคเชอรแทน จนบางครั้งเกิด

ความเขาใจผิดวาอาหารทั้งสองประเภทนั้นเหมือนกัน โดยเฉพาะกลุมมุสลิมที่ไมมีทางเลือกอาหารฮาลาล

ที่ไดรับการรับรองหรือกลุมมุสลิมที่ไมเครงครัด ซึ่ง ในประเด็นนี้ไดกอใหเกิดขอถกเถียงระหวางผูบริโภค

เนื่องจากชาวมุสลิมบางกลุมยังคงมีความเชื่อวาการรับประทานอาหารโคเชอร ถือวาไมเหมาะสมตามหลัก

ศาสนาอิสลาม เนื่องจากมีกระบวนการผลิตบางอยางที่ไมเปนไปตามหลัก เชน ไมมีการเอยนามพระเจา

ระหวางการเชือดสัตว เปนตน โดยทั่วไป อาจกลาวไดวาหลักเกณฑในการพิจารณาวาอาหารโคเชอรและ

ฮาลาลนั้นมีพื้นฐานที่คลายกัน แตขอกําหนดดานกระบวนการผลิตของอาหารโคเชอรมีความเขมงวดกวา

ตารางเปรยีบความเหมือนและความแตกตางของอาหารฮาลาลและอาหารโคเชอร

คําอธิบาย หลักการของโคเชอร หลักการของฮาลาล

1. เนื้อหมูและผลิตภัณฑ อนุญาต ตองหาม

2. สัตวปกและผลิตภัณฑ เชือดโดยชาวยิวเทานั้น เชือดโดยชาวมุสลิมเทานั้น

3. การเอยนามพระเจา กระทํากอนเริ่มการเชือด กระทําทุกครั้งที่มีการเชือดสัตวแตละตัว

12

Page 17: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

4.การเชือดสัตวโดยใชมือ บังคับ เปนที่ยอมรับมากกวา

5. การเชือดสัตวโดยใชเครื่องจักร ตองหาม กระทําไดโดยอยูภายใตการควบคุมของชาวมุสลิมผูไดรับ

การฝกหัดและมีความเชียวชาญ

6. การทําใหสลบกอนเชือด ยอมรับได อนุญาตเฉพาะการทําไปโดยมีจุดประสงคใหสัตวหมดสติ

และไมเปนการทรมานสัตว

7.การทําใหสัตวสลบหลังการเชือด อนุญาต ยอมรับได

8.ขอกําหนดอื่นๆ เกี่ยวกับการนํา

เนื้อสัตวมาผลิตเปนอาหาร

ใชไดเฉพาะสวน 1/4 แรกและตองมีการ

แชในน้ําเกลือ

ใชซากสัตวไดทั้งชิ้น

9.เลือดสัตว ตองหาม ตองหาม

10. ปลา อนุญาตเฉพาะที่มีเกล็ดเทานั้น โดยสวนใหญอนุญาตใหรับประทานได ยกเวนปลาที่มี

เกล็ดบางชนิด

11. อาหารทะเล ตองหาม มีระดับการยอมรับที่แตกตางกันไป

12. เอนไซมจากชีวภาพ อนุญาต อนุญาต

13. เอนไซมสัตว เฉพาะที่ผานการเชือดภายใตหลักศาสนาเทานั้น

14. เจลาตินจากสัตวเคี้ยวเอื้อง เฉพาะที่จากสัตวประเภทที่อนุญาตภายใตหลักศาสนา

15. เจลาตินจากปลา เฉพาะชนิดที่เปนโคเชอร อนุญาตทุกชนิด

16. เจลาตินหมู เฉพาะที่ไดรับการปลดปลอยจาก

Orthodox rabbi

ตองหาม

นม เนยและผลิตภัณฑ เฉพาะที่มาจากเอนไซมประเภทที่อนุญาตเทานั้น

17. การปรุงอาหารที่เปนเนื้อสัตวและ

ผลิตภัณพนมเนยปนกัน

ตองหาม ไมมีขอกําหนด

18. แอลกอฮอล อนุญาต ตองหาม

นอกจากนี้ การผลิตอาหารโคเชอร ยังมีขอกําหนดเงื่อนไขพิเศษบางอยางที่ตางไปจากการ

ผลิตอาหารฮาลาล เชน โดยการแยกภาชนะเครื่องครัวและอุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารโคเชอร

ออกจากการผลิตอาหารประเภทอื่น โดยเครื่องครัวที่เคยใชทําอาหารที่ไดรับการรับรองวาเปนโคเชอรแลว

วาเปนโคเชอร หากนํามาใชทําอาหารที่มีสวนประกอบที่ไมเปนโคเชอร เครื่องมือนั้นก็จะหมดสภาพความ

เปนโคเชอรไป ยกเวนผานกระบวนการคืนสภาพที่เรียกวา Kosherization ซึ่งมีรายละเอียดวิธีการที่

แตกตางไป ข้ึนอยูกับชนิดของเครื่องครัวและลักษณะอาหาร รวมถึง หามปรุงอาหารที่มีสวนประกอบของ

นมหรือผลิตภัณฑรวมกับเนื้อสัตวภายในอาหารมื้อเดียวกัน โดยจะตองรับประทานผลิตภัณฑทั้งสอง

13

Page 18: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ประเภทหางกันอยางนอย 4 ชั่วโมง รวมถึงตองแยกภาชนะและอุปกรณที่ใชในการปรุงหรือเสิรฟออกจาก

กันดวย ในขณะที่อาหารมีอาหารจํานวนไมนอยที่สามารถจัดอยูในกลุมฮาลาลและโคเชอรได

2.2.3 ตลาดอาหารโคเชอรในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

มีภาวะความตองการบริโภคโดยรวมเฉลี่ยเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องทุกป และมีมูลคาตลาด

รวม ณ ปจจุบัน ประมาณ 3.5 แสนลานเหรียญ (1.1 ลานลานบาท) โดยสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียว

พบวามีมูลคาถึง 10,000 ลานเหรียญ (3.16 แสนลานบาท) มีอัตราเพิ่มข้ึนเฉลี่ยในแตละปไมต่ํากวา 14

% และมีจํานวนผูบริโภคกวา 10.5 ลานคน โดยมีผลิตภัณฑอาหารที่ผานการรับรองวาเปนโคเชอร วาง

จําหนายตามซุปเปอรมารเกตทั่วไปกวา 5 หมื่นชนิด อาหารที่สําคัญ ไดแก เครื่องดื่มประเภทไวน สุรา ชา

กาแฟ นมเนย อาหารขบเคี้ยว ซอสปรุงรส อาหารทะเลสดและแชแข็งตางๆ เปนตน

นอกจากจะเปนประเทศที่มีการพึ่งพิงการนําเขาอาหารโคเชอรจากตางประเทศเปน

จํานวนมากแลว สหรัฐอเมริกา ยังถือเปนผูผลิตอาหารโคเชอรรายใหญของโลกอีกดวย โดยมีประเทศ

คูแขงที่สําคัญ คือ ประเทศออสเตรเลีย บราซิล แคนาดา เมกซิโก และสหราชอาณาจักร โดยรัฐบาล

สหรัฐฯ ไดจัดทําการศึกษาสภาวะตลาดอาหารโคเชอรของประเทศคูแขงตางๆดังกลาว เพื่อวิเคราะห

โอกาสในการสงออกและรายงานผลอยางตอเนื่อง และมีผูนําในวงการอาหารและเครื่องดื่มรายสําคัญ

ของสหรัฐฯไดหันมาใหความสําคัญกับตลาดอาหารดังกลาวมากขึ้น และเปนอาหารที่ไดรับการจัดอันดับ

1ใน 6 Top Trend Foodของตลาดอาหารสหรัฐอเมริกา ในอนาคตโดยนิตยสาร Food Processing ฉบับ

เดือนเมษายน 2550 อีกดวย

ผลิตภัณฑอาหารที่มีตราโคเชอรรับรอง เชนอักษร K, OU, CRC, V, Kuf K, KVH, COR,

MK และที่เปนพาเว (Parve) หรืออาหารที่ไมมีเนื้อสัตวหรือนมเปนสวนประกอบ อาจจัดวาเปนอาหาร

ฮาลาลได หากไมมีสวนผสมที่เปนฮะรอม เชน เนื้อหมู เจลาตินสัตว แอลกอฮอล เหลาหรือไวน เปนตน

สําหรับประเทศแคนาดา ปจจุบันแคนาดามีมูลคาตลาดอาหารโคเชอรของประเทศ

ประมาณ 575 ลานเหรียญ มีกลุมผูบริโภคอันดับหนึ่งเปนชาวยิวครองสัดสวนการบริโภคประมาณ รอยละ

45 ผูบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ รอยละ 25 ชาวมุสลิม รอยละ 20 และผูบริโภคอื่นๆ (มังสวิรัติ หรือ

ผูบริโภคจากศาสนาอื่นๆ เชน Seventh day Adventist) รอยละ 10 ตามลําดับ

14

Page 19: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

2.3 ภาวะการคาสินคาอาหารฮาลาลในตลาดโลก

2.3.1 ภาพรวมปริมาณความตองการ

ปจจุบัน ประชากรมุสลิมในโลกมีประมาณ 1800- 1900 ลานคน ประชากรโลก มีการ

บริโภคอาหารฮาลาลเฉลี่ยตอปประมาณ 1.5 ถึง 2 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 4.7 -6.3ลาน

ลานบาท ในขณะที่มีแนวโนมอัตราการขยายตัวของจํานวนประชากรที่เพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง ซึ่งถือวาสูง

ที่สุดเมื่อเทียบกับอัตราการเจริญเติบโตของกลุมจํานวนประชากรเชื้อชาติอ่ืน โดยไดมีการประมาณไววา

ทุกๆ หนึ่งคนในหกคนของประชากรโลกจะมีชาวมุสลิมประกอบอยูดวย จึงถือเปนตลาดสินคาอาหาร

ขนาดใหญที่มีศักยภาพ และกําลังไดรับความสนใจจากกลุมประเทศผูผลิตสินคาอาหารสงออกตางๆ

เปรียบเทียบกลุมประเทศตลาดหลักสินคาอาหารฮาลาลและจํานวนชาวมุสลิม

33.10.8

72.6226.7

71.126.9

5.82.53.8

26.631.8

3.10.6

24.918.9

10.172.5

4.621.9

0 50 100 150 200 250

แอลจีเรีย

บาหเรน

อียิปต

อินโดนีเซีย

อิหราน

อิรัก

จอรแดน

คูเวต

เลบานอน

มาเลเซีย

โมรอกโก

โอมาน

กาตาร

ซาอุดิอาระเบีย

ซีเรีย

ตูนีเซีย

ตุรกี

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส

เยเมน

จํานวนประชากร (ลานคน)

นอกจากนี้ ตลาดสินคาฮาลาล ยังรวมถึงกลุมผูบริโภคอื่น ๆในประเทศที่ไมไดนับถือ

ศาสนาอิสลามเปนหลักแตมีกําลังซื้อสูง เชนผูบริโภคที่สนใจการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ซึ่งเปรียบ

อาหารฮาลาลเปนหนึ่งในกลุมอาหารเพื่อสุขภาพ เชน กลุมคนผิวชาวในสหรัฐฯหรือแคนาดา เปนตน และ

ประเทศในทวีปยุโรป สงผลใหแตละป มีปริมาณความตองการบริโภคอาหารฮาลาลในโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ

15

Page 20: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

โดยในป 2550 จํานวนชาวมุสลิมทั่วโลกมีอยูราว 1.79 ลานคน (Canada Statistic) คิดเปนสัดสวนถึง 1

ใน 4 ของจํานวนประชากรทั้งหมด และมีอัตราการเติบโตของจํานวนประชากรเฉลียอยูทีร่อยละ 2.9 ตอป2 สูงกวาอัตราการเจริญเติบโตของประชากรทั่วโลกประมาณ 0.6 ตอป โดยมีประชากรสวนใหญอาศัยอยู

ในภูมิภาคเอเชียกวารอยละ 60 ของชาวมุสลิมโลก รองลงมาคือ แอฟริกา ยุโรป อเมริกาใต อเมริกาเหนือ

และกลุมประเทศทวีปหมูเกาะมหาสมุทรแปซิฟค ตามลําดับ

ตารางที ่2.1 แสดงจํานวนประชากรชาวมุสลิมโลกแบงตามภูมิภาค

ภูมิภาค จํานวนประชากร

(ลานคน) จํานวนประชากรมุสลิม ณ ป 2549

(ลานคน) สัดสวนประชากร

(รอยละ)

แอฟริกา 923.2 442.88 47.97

ตะวันออกกลาง 264 224 84.7

เอเซีย 3970.5 1060.65 26.71

ยุโรป 731.7 50.7 6.93

อเมริกาเหนือ 331.7 7.13 2.15

อเมริกาใต 566.05 3.08 0.54

กลุมประเทศโอเชียนเนีย 33.54 0.6 1.79

รวม 6820.69 1789.04 26.22

2.3.2 ภาวะการบริโภค

มีกลุมประเทศผูนําเขาสินคาอาหารฮาลาลหลัก ไดแก กลุมประเทศสมาชิก OIC จํานวน

57 ประเทศ ซึ่งเปนประเทศในกลุมมุสลิมที่สําคัญนั้น ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญและนาสนใจ ไดแก

ประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง เชน ซาอุดิอาระเบีย อิหราน ตุรกี สหรัฐอาหรับอิมิเรสต คูเวต เปนตน

รองลงมาไดแก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแกประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเอเชียใต เชน

ปากีสถาน บังคลาเทศ และแอฟริกา เชน ประเทศแอลจีเรีย ไนจีเรีย เปนตน มีการนําเขาสินคาอาหารฮา

ลาลไมนอยกวาปละ 70, 611 ลานเหรียญฯ ซึ่งสวนใหญเปนการนําเขาสินคาเนื้อสัตวจากประเทศ

2 http://muslim- canada.org/muslimstats.html

16

Page 21: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ออสเตรเลียและนิวซีแลนด มีผูนําเขาหลัก คือ ซาอุดิอาระเบีย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แอลจีเรียและ

อียิปต ตามลําดับ กลุมสินคาอาหารฮาลาลหลักที่มีมูลคาการซื้อขายสูงสุดไดแก สินคาปศุสัตวประเภท

เนื้อตางๆ แบงออกเปนเนื้อวัว (bovine meat) เนื้อแกะ (goat meat) เนื้อแพะ (mutton meat) สัตวปก

และผลิตภัณฑ ไดแก เนื้อไก เนื้อเปด ตามลําดับ ซึ่งมีกลุมประเทศผูผลิตที่สําคัญ คือ แอลจีเรีย บรูไน

อียิปต อินโดนีเซีย อิหราน คูเวต มาเลเซีย โมรอกโก ซาอุดิอาระเบีย และกลุมประเทศสมาชิกสภาความ

รวมมือแหงอาวอาหรับ (Gulf Cooperation Council : GCC) ประกอบดวย สหรัฐอาหรับเอมิเรตสหรือยูเอ

อี (UAE) กาตาร คูเวต ซาอุดีอาระเบีย บาหเรน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และโอมาน

กราฟที่ 2.2 เปรียบเทียบอัตราเฉล่ียการเจรญิเติบโตปริมาณการบริโภคอาหารตอหัวของประชากรในประเทศตางๆ ในชวงระหวางป 2544-2548

ซาอุดิอาระเบีย6%

ไทย6%

จีน7%

อินโดนีเซีย11%

สหรัฐอเมริกา6%

เนเธอรแลนด13%

ฝรั่งเศส14%

แอฟริกาใต32%

มาเลเซีย5%

ที่มา : Imarat Consultants.An Overview of Global Halal Market.

ในสวนของการผลิตสินคาเนื้อฮาลาล ออสเตรเลียถือเปนประเทศผูสงออกเนื้อฮาลาล

รายใหญที่สุดของโลก โดยสงออกไปยังประเทศตางๆกวา 70 ประเทศ เนื่องจากมีชื่อเสียงดานคุณภาพ

ความสะอาดและปลอดภัยของสินคาจากโรคสัตวตางๆ นอกจากนี้ ออสเตรเลียยังถือเปนประเทศที่ไมใช

มุสลิมประเทศแรกที่มีขอกฏหมายเกี่ยวกับการรับรองตราสินคาฮาลาลภายในประเทศและการนําระบบ

ควบคุมการเชือดสัตวของรัฐบาล (Australian Government Supervised Muslim Slaughter System:

AGSMS) มาใชในการควบคุมอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตวภายในประเทศ อีกดวย3

3 สํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรตางประเทศ ประจํากรุงแคนเบอรา ประเทศออสเตรเลีย. “รายงานการศึกษามาตรฐานการผลติและการรับรองสินคาอาหารฮาลาลของ

ประเทศออสเตรเลีย”. 2549

17

Page 22: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

สําหรับผูสงออกอาหารเนื้อฮาลาลรายอื่นๆ ที่สําคัญไดแก บราซิลสงออกเนื้อวัว เนื้อไกไป

ยังประเทศกลุมตะวันออกกลาง ยุโรป อินเดียเปนผูสงออกไกฮาลาลรายใหญที่สุดของโลก นิวซีแลนด

สงออกเนื้อแกะ ไปยังอารเจนตินา อังกฤษ สวนประเทศสหรัฐอเมริกาสงออกไกฮาลาลไปยังกลุมประเทศ

ตะวันออกกลางมากเปนลําดับที่ 5 รองจาก แคนาดา เม็กซิโก สหภาพยุโรป และจีน โดยมีมูลคาสงออก

สินคาประเภทสัตวปกและผลิตภัณฑ ในป 2550 ประมาณ 120,000 ลานเหรียญ เทากับประมาณรอยละ 4

ของมูลคาการสงออกทั้งหมด โดยประเทศยูเออีเปนผูนําเขาสินคาดังกลาวในลําดับที่ 24 ของสหรัฐฯ สง

สินคาประเภทเนื้อแดง (สด แชเย็นและแชแข็ง)

ตารางที่ 2.3 แสดงรายชื่อประเทศผูสงออกอาหารฮาลาลแยกตามประเภทอาหาร

ประเภทอาหาร กลุมประเทศ ประเทศผูสงออก

เนื้อโค ประเทศพัฒนา นิวซีแลนด ไอรแลนด เยอรมัน ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา

ประเทศกําลังพัฒนา ซูดาน สหรัฐอาหรับเอมิเรสต จอรเจีย โอมาน อินเดีย

เนื้อแพะและแกะ ประเทศพัฒนา นิวซีแลนด ออสเตรเลีย

ประเทศกําลังพัฒนา ซูดาน สหรัฐอาหรับเอมิเรสต จอรเจีย โซมาเลีย มาเซโดเนีย อุรุกวัย

สัตวปก ประเทศพัฒนา เดนมารก เนเธอรแลนด เยอรมัน ฝร่ังเศส สหรัฐอเมริกา อังกฤษ

ประเทศกําลังพัฒนา จีน บราซิล

ผักและผลไม ประเทศพัฒนา เนเธอรแลนด ฝร่ังเศส สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อิตาลี

ประเทศกําลังพัฒนา จีน ตุรกี บราซิล ฟลิปปนส สหรัฐอาหรับเอมิเรสต อินเดีย ไทย

ธัญพืช ประเทศพัฒนา ออสเตรเลีย แคนาดา เยอรมนี อิตาลี อังกฤษ ฝร่ังเศส

ประเทศกําลังพัฒนา จีน อินเดีย ไทย

ปลาและสัตวน้ํา ประเทศพัฒนา แคนาดา เดนมารก นอรเวย สหรัฐอเมริกา

ประเทศกําลังพัฒนา จีน อินเดีย อินโดนิเซีย

เครื่องดื่ม ประเทศพัฒนา เนเธอรแลนด อิตาลี อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ฝร่ังเศส

ประเทศกําลังพัฒนา จีน อินเดีย อินโดนิเซีย

ที่มา : ขอมูลจากกรมสงเสริมการสงออก อางอิงถึงโดย www.food-halal.com

18

Page 23: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

มูลคาการซ้ือขายอาหารฮาลาลในตลาดโลก 2.3.3

สําหรับตลาดขนาดสินคาฮาลาลซึ่งสวนใหญเปนสินคาอาหารนั้น จากรายงานการศึกษา

สภาวะตลาดสินคาฮาลาลของรัฐบาลแคนาดา ไดประเมินไววานาจะมีขนาดตลาดรวมประมาณ 5 แสน

ลานเหรียญสหรัฐฯ 4 หรือประมาณ 15 พันลานบาท และมีมูลคาการซือ้ขายเฉลีย่ตอปทัว่โลกประมาณ 8

แสนลานเหรียญ หรือ 25 พันลานบาท คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 12 ของมูลคาการคาสินคา

เกษตรและอาหารทั่วโลก โดยรัฐบาลแคนาดาไดประเมินการณไววาภายในป 2525 สัดสวนจํานวน

ประชากรชาวมุสลิมตอประชากรโลกจะมีแนวโนมการขยายตัวเพิ่มสูงขึ้นถึงรอยละ 30 ซึ่งหากเปนจริงจะ

ทําใหมูลคาตลาดสินคาอาหารฮาลาลโลกมีสัดสวนเพิ่มข้ึนถึงรอยละ 20 ของมูลคาอาหารโลกทั้งหมด คิด

เปนประมาณ 9.6 แสนลานเหรียญฯ หรือ 30.5 พันลานบาท

ตลาดสินคาฮาลาล ถือเปนตลาดที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว มีความเกี่ยวของโดยตรง

กับความเชื่อดานศาสนาและวัฒนธรรม อยางไรก็ตาม กลุมผูบริโภคที่สําคัญของอาหารฮาลาล มิได

จํากัดวงอยูเพียงแคกลุมประเทศมุสลิมหรือผูนับถือศาสนาอิสลาม เชนประเทศในภูมิภาคแอฟริกา

ตะวันออกกลางหรือเอเชีย เทานั้น แตยังรวมถึงผูบริโภคกําลังซื้อสูงในตลาดที่มีศักยภาพ ทวีปยุโรป และ

ทวีปอเมริกาเหนือ ที่แมมีจํานวนประชากรมุสลิมไมมากนัก แตมีอํานาจการซื้อสูงระหวาง 15 – 20 เทาของ

ศักยภาพโดยเฉลี่ยของมุสลิมในโลก โดยเฉพาะในกลุมผูบริโภคที่นิยมรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่หัน

มาใหความนิยมกับการเลือกซื้ออาหารฮาลาลมากขึ้น เนื่องจากขอบัญญัติเร่ืองกระบวนการผลิตอาหาร

ดังกลาวของศาสนาอิสลาม มีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับหลักวิทยาศาสตรและสุขอนามัย จึงมีความ

นาเชื่อถือวาเปนอาหารที่ปลอดภัยและดีตอสุขภาพ

ตารางที่ 2.4 แสดงปริมาณมูลคาตลาดอาหารฮาลาลโลกในภูมิภาคตางๆ

ภูมิภาค จํานวนชาวมุสลิมใน

ประเทศ ณ ป 2548 (ลานคน)

อัตราเฉลี่ยการบริโภคสินคาอาหารตอหัวของประชากร

มูลคาตลาดอาหารฮาลาล (ลานเหรียญสหรฐัฯ)

แอฟริกา 461.77 250 115,443

เอเชียตะวันตก 195 570 111,150

เอเซียใตตอนกลาง 584.8 300 175,440

จีน 266.37 350 93239

เอเชียตะวันออกเฉียงใต 39.1 175 5865

ยุโรป 51.19 1,250 63,988

4 คํานวณจากอตัราแลกเปลี่ยน ณ ปจจุบัน 31.62 บาทตอ 1 ดอลลารสหรัฐฯ

19

Page 24: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

อเมริกาเหนือ 8.26 1750 14,455

อเมริกาใต 1.64 500 820

โอเชียเนีย 0.35 1500 525

รวม 1608.48 580,925

ที่มา : Imarat Consultants.An Overview of Global Halal Market.

2.3.4 ตลาดหลักผูบริโภคสินคาอาหารฮาลาล

(1) กลุมประเทศมุสลิมหรือกลุมประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม

เปนตลาดที่มีความนาสนใจดานจํานวนประชากร เนื่องจากมีชาวมุสลิมอาศัยอยูมาก จึง

มีความตองการบริโภคพื้นฐานอยูแลว โดยกลุมประเทศที่มีประชากรมุสลิมปรากฏมากที่สุดสามอันดับแรก

ไดแก กลุมประเทศภูมิภาคเอเซียใต เชนอินเดีย เนปาล บังคลาเทศ และปากีสถาน ครองสัดสวน 31.3 %

รองลงมา คือ อาเซียน ไดแก ประเทศบรูไน มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส และไทย เปนตน มี

สัดสวนประชากรมุสลิมรอยละ 19.6 กลุมประเทศแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชีย มีสัดสวนอยางละ

รอยละ 15.7 ยุโรปรอยละ 1.4 และอเมริกาเหนือ (สหรัฐอเมริกาและแคนาดา) รอยละ 0.6 % โดยสรุป

ภาพรวมการคาสินคาอาหารฮาลาลในพื้นที่ตางๆดังกลาวไดดังนี้

กลุมประเทศภูมิภาคเอเชีย เปนทวีปที่มีจํานวนประชากรมุสลิมปรากฏอยูมากที่สุด แต

เนื่องจากมีรายไดตอหัวของประชากรคอนขางนอย ทําใหมีอัตราปริมาณความตองการบริโภคต่ํากวา

ประเทศในทวีปอ่ืนๆ เชน ประเทศอินเดียและปากีสถาน เปนตน อยางไรก็ตาม จากรายงานการศึกษา

ภาวะสินคาอาหารฮาลาลโลกของรัฐบาลแคนาดาพบวา ปจจุบัน ประเทศตางๆในทวีปเอเซียใตไดหันมา

ใหความสําคัญกับการเรงผลักดันสินคาฮาลาลของตนเองเขาสูตลาดอาหารฮาลาลใหมๆ อยางตอเนื่อง ที่

สําคัญ เชน ประเทศมาเลเซียและสิงคโปร ที่ตองการใหประเทศเปนศูนยกลางการซื้อขายสินคาอาหารฮา

ลาลโลก (Halal Hub) โดยรัฐบาลมาเลเซียเรงจัดทําแผนพัฒนาระบบการผลิตสินคารวมกับภาคเอกชน

สิงคโปรจัดทําประชาสัมพันธสินคาของประเทศในกลุมประเทศตะวันออกกลาง ประเทศบรูไนไดรวมมือกับ

รัฐบาลออสเตรเลียเรื่องการจัดทําระบบควบคุมและติดตามความปลอดภัยดานการผลิตอาหารฮาลาล

ประเทศจีนซึ่งถือวาเปนทั้งคูแขงและผูนําเขาอาหารฮาลาลของไทยที่สําคัญ ในขณะที่ประเทศไทยก็มีจุด

แข็งดานการนําหลักการทางวิทยาศาสตรเขามาประยุกตใชกับระบบการผลิตและตรวจสอบสินคา จึงถือวา

เปนประเทศผูนําของโลกในการใชหลักวิทยาศาสตรตั้งแตกระบวนการผลิตจนถึงการสงออกสินคาฮาลาล

20

Page 25: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

กลุมประเทศภูมิภาคแอฟริกาและตะวันออกกลาง 5 ที่สําคัญไดแก อียิปต โมรอกโก

แอลจีเรีย ลิเบีย และตูนีเซีย และ กลุมประเทศสภาความรวมมือแหงอาวเปอรเซีย (Council for the Arab

States of the Gulf: GCC) ซึ่งมีสมาชิก 6 ประเทศ ไดแก สหรัฐอาหรับเอมิเรตส ซาอุดิอาระเบีย บาหเรน

คูเวต โอมาน กาตาร จัดเปนภูมิภาคที่มีชาวมุสลิมอาศัยอยูหนาแนนและมีกําลังซื้อสูง เนื่องจากมรีายไดตอ

หัวของประชากรสูง และมีอัตราเฉลี่ยการนําเขาสินคาอาหารตอปสูงถึงรอยละ 80 ของจํานวนอาหารที่

บริโภคภายในกลุมประเทศทั้งหมด โดยมีตลาดหลักคือประเทศ ซาอุดิอาระเบียและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส

นําเขาสินคาจากประเทศบราซิลและยุโรปเปนสวนใหญ

ตัวอยางรายชื่อบริษัทผูผลิตสินคาอาหารฮาลาลของกลุมประเทศในภูมิภาคนี้ เชน

(ซาอุดิอาระเบีย) Al-Radwa Farms, Al-Watania, Supreme Foods, Nash Meat and Sabula / (ยุโรป)

Al-Islami Foods, Al-Babeer, Al- Areesh , Artic Gold, Royal Meat เปนตน สวนประเทศผูผลิตที่สําคัญ

ไดแก ตุรกี สงออกไปยังประเทศในยุโรปที่มีจํานวนประชากรมุสลิมหนาแนน เชน ฝร่ังเศสและเยอรมันนี

(2) กลุมประเทศ Non-Muslim countries แตมีประชากรชาวมุสลิมอาศัยอยู

เชน ประเทศอินเดียมีชาวมุสลิมอาศัยอยูถึง 140 ลานคน จีน 40 ลานคน สหรัฐอเมริกา

และแคนาดา 13 ลานคน ฟลิปปนสและฝรั่งเศส 6 ลานคน เยอรมันนี 3 ลานคน อังกฤษ 1.5 ลานคน6

ทวีปยุโรป เปนตลาดที่มีมูลคาสูง และพบวามีกลุมผูบริโภคอาหารฮาลาลทั้งชาวมุสลิม

และผูบริโภคอื่นๆ ที่มีแนวโนมสนใจเลือกซื้ออาหารดังกลาวเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง โดยนิยมบริโภคอาหารฮา

ลาลในรูปแบบอาหารสําเร็จรูปพรอมรับประทานเปนหลัก และมีตลาดหลักที่สําคัญ คือ ประเทศฝรั่งเศส

ซึ่งมีมูลคาการซื้อขายสินคาอาหารดังกลาวเพียงประเทศเดียวเฉลี่ยตอปสูงถึง 13,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ

บริษัทผูสงออกสินคาอาหารฮาลาลรายใหญที่สุดของกลุมประเทศยุโรปคือบริษัทเนสทเล

ครองสัดสวนตลาดถึงกวาหนึ่งในสามของมูลคาสินคาทั้งหมด

ภูมิภาคอเมริกาเหนือ ที่สําคัญ ไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ถือเปนตลาด

กลุมเปาหมายใหมที่นาสนใจ เนื่องจากมีโอกาสและชองทางการขยายตลาดเปนกลุมประชากรที่มีกําลัง

ซื้อสูงเปนตลาดรองรับ โดยนอกเหนือจาก 57 ประเทศสมาชิกองคกรอิสลามหรือ OIC แลว สหรัฐอเมริกา

เปนอีกประเทศหนึ่งที่มีอัตราการบริโภคอาหารฮาลาลสูง เนื่องจากมีการขยายตัวของประชากรมุสลิมอยาง

ตอเนื่อง ซึ่งจํานวนประชากรที่เพิ่มข้ึนเกิดจากการอพยพยายถิ่นฐาน จากการกําเนิดของพลเมืองอเมริกัน

เชื้อสายมุสลิม และการยายมานับถือศาสนาอิสลามของคนผิวขาว รวมถึงกลุมผูบริโภคทั่วไปทีส่นใจการ 6 ขอมูลสถิคิจาก Agriculture and Agri-food Canada , กรกฎาคม 2550

21

Page 26: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

บริโภคอาหารประเภท Ethnic/Religious Food หรือผูบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพซึ่งเชื่อในหลักการผลิต

อาหารดังกลาวของศาสนาอิสลาม วาปลอดภัยและดีตอสุขภาพ และดวยกําลังซื้อสินคาอาหารเพื่อการ

บริโภคประมาณ 6 เหรียญสหรัฐตอคนตอวัน ทําใหสหรัฐอเมริกาเปนตลาดใหมที่นาจับจอง โดยใน

ปจจุบัน จํานวนประชากรชาวมุสลิมในทวีปอเมริกาเหนือ มีอยูทั้งสิ้นประมาณ 13 ลานคน ซึ่งเปนที่

คาดการณวาจะเพิ่มข้ึนเปนสองเทาภายในป 2010 และมีมูลคาการซื้อสินคาอาหารฮาลาลของผูบริโภค

สูงถึงประมาณ 1,200 ลานเหรียญฯ ตอป นอกจากนี้ จึงทําใหการเจาะรุกตลาดสินคาอาหารฮาลาลใน

ภูมิภาคดังกลาว เปนชองทางการขยายโอกาสการสงออกสินคาเกษตรและอาหารใหมที่รัฐบาลไทยให

ความสําคัญ ภายใตนโยบายการผลักดันประเทศใหเปนครัวของโลก (kitchen f the world) เพื่อเพิ่ม

มูลคาการสงออกสินคาอาหารไทย ประกอบกับทั้งประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาก็เปนประเทศคูคา

สินคาเกษตรและอาหารที่สําคัญของไทยมาโดยตลอดอยูแลว โอกาสในการขยายเปดตลาดสินคาอาหาร

ฮาลาลไทยเพื่อใหเปนที่ยอมรับในกลุมผูบริโภคในประเทศดังกลาวจึงถือวามีแนวโนมความเปนไปได

คอนขางมาก

สรุปปจจัยที่มีสวนผลักดันการเพิ่มมูลคาการซื้อขายอาหารฮาลาลในตลาดโลก

1. แนวโนมการเจริญเติบโตของจํานวนประชากรชาวมุสลิมโลกที่เพิ่มข้ึน

2. ตลาดใหมๆ จากกลุมผูบริโภคที่ไมใชมุสลิม ซึ่งมีแนวโนมความตองการบริโภคเพิ่มข้ึน

และมีกําลังซื้อสูง เชนผูบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ

3. ปญหาสินคาบางประเภทไมไดรับการผลิตที่ถูกตองตามหลักศาสนาอิสลาม ทําใหมี

ปริมาณความตองการบริโภคอาหารฮาลาลที่ผานการรับรองมาตรฐานอยางถูกตองเพิ่มมากขึ้น

2.4 การรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาล

ในอดีต ระบบการผลิตอาหารฮาลาลมักจัดวาอยูในระดับทองถิ่น ไดแกการผลิตอาหาร

เพื่อบริโภคภายในประเทศหรือการนําเขาจากกลุมประเทศอิสลามดวยกันเอง อยางไรก็ตาม จากอัตราการ

เติบโตของจํานวนประชากรและความตองการบริโภคที่เพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง จึงเกิดความจําเปนที่ตองมี

การนําเขาสินคาอาหารฮาลาลจากตางประเทศเพิ่มข้ึน ในขณะที่ปจจุบันไดมีการพัฒนารูปแบบและ

ประเภทของสินคาอาหารใหมีความหลากหลายเพื่อปอนเขาสูตลาดมุสลิมมากขึ้น ปญหาที่เกิดขึ้นก็คือ

ความไมแนนอนของสถานะความเปนฮาลาลที่แทจริงของสินคาอาหารบางประเภท ซึ่งพบวาที่ผานมา

ผูบริโภคชาวมุสลิมมักประสบปญหาการตัดสินใจเลือกซื้อสินคา สาเหตุเพราะไมมั่นใจวาผลิตภัณฑนั้นๆ

ผานกระบวนการที่ถูกตองตามหลักฮาลาลหรือไม จึงทําใหตองมีการแกไขปญหาดังกลาวดวยการจัดทํา

22

Page 27: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

มาตรฐานสินคาอาหารฮาลาลที่เปนที่ยอมรับ สําหรับเปนแนวทางปฏบิติและควบคุมการผลิตอาหารฮา

ลาลที่ถูกตอง (รายละเอียดปรากฏดังเนื้อหาในบทที่ 4) ไดแก

1. มาตรฐานคณะกรรมมาธิการโครงการมาตรฐานอาหารของ FAO/WHO (Codex

Alimentarius Guideline for use of Term Halal)

2. รางมาตรฐานฮาลาลอาเซียน

3. มาตรฐานฮาลาล GMP/HACCP

4. มาตรฐานองคกรเอกชน

ไดแก มาตรฐานฮาลาลภายใตระบบการตรวจสอบและรับรองสินคาอาหารฮาลาลโดย

องคกรมุสลิมช้ันนําของโลก เชน สมาคมอิสลามแหงอเมริกาเหนือ ประจําประเทศแคนาดา (Islamic

Society of North America, Canada Office: ISNA Canada) , สมาคมอาหารและโภชนาการอิสลาม

แหงสหรัฐอเมริกา (The Islamic Food and Nutrition Council of America : IFANCA) , กลุมผูบริโภค

ชาวมุสลิม (Muslim Consumer Group (MCG) และ Islamic Food Council of Europe (IFCE) เปนตน

โดยองคกรเหลานี้ถือเปนหนวยงานตรวจสอลรับรองมาตรฐานสินคาฮาลาล ซึ่งมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ

จากกลุมผูบริโภคและ/ หรือรัฐบาลของประเทศตางๆ อยางกวางขวาง โดยไดจัดใหบริการการตรวจสอบ

มาตรฐานการผลิตภัณฑอาหารฮาลาล และรับรองสินคาที่ผานการผลิตตามมาตรฐานดังกลาว โดยจะสง

ผูเชี่ยวชาญไปใหการอบรมแกผูประกอบการหรือรานคาที่สนใจเพื่อใหความรูในดานการเตรียมอาหารฮา

ลาล ตั้งแตการผลิต บรรจุหีบหอ และการทําความสะอาดอาหาร และหลังจากการผานการอบรม จะออก

ใบอนุญาตและใหใชตรารับรองสินคาฮาลาลของสมาคม ซึ่งมีรูปแบบแตกตางกันไปโดยทั่วไป องคกร

มุสลิม หรือหนวยงานตางๆ สามารถใหการรับรองฮาลาลไดโดยในทายที่สุด มาตรฐานเหลานี้จะไดรับการ

ยอมรับหรือไม ยอมข้ึนอยูกับความสมัครใจของประเทศผูนําเขาอาหารฮาลาลเปนหลัก วาไดใหความ

เชื่อมั่นกับมาตรฐานของสมาคมหรือองคกรใดเปนสําคัญ

------------------------------------------

23

Page 28: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

บทที่ 3 ภาวะตลาดสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

จากการที่รัฐบาลไทย ไดใหความสําคัญกับการขยายตลาดสินคาอาหารฮาลาลไทยเขาสู

ตลาดทดแทนใหมๆ นอกเหนือจากประเทศมุสลิม โดยไดดําเนินโครงการเจาะตลาดอาหารฮาลาลเชิงรุกใน

ภูมิภาคอเมริกาเหนือ ณ สหรัฐอเมริกาและแคนาดา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของแผนงานการสงเสริมและขยาย

ตลาดสินคาอาหารฮาลาลไทยของกระทรวงการตางประเทศตามยุทธศาสตรการเพิ่มขีดความสามารถใน

การแขงขันของประเทศที่มีเปาหมายใหไทยเปนแหลงผลิตอาหารที่สําคัญของโลก และสนับสนุนนโยบาย

ครัวไทยสูโลก รวมทั้งนโยบายการพัฒนาไทยไปสูการเปนศูนยกลางการซื้อขายสินคาอาหารฮาลาลใน

อนาคต นั้น ดังไดกลาวมาแลววา ปจจุบัน ตลาดอาหารฮาลาลโลกถือเปนตลาดสินคาอาหารที่มีศักยภาพ

ขนาดใหญและแนวโนมอัตราการขยายตัวของมูลคาตลาดสูง โดยการขยายตัวของอุตสาหกรรมอาหารฮา

ลาลโดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแลว อยางเชน สหรัฐอเมริกาและแคนาดา และประเทศในทวปียโุรป ถอื

เปนปจจัยสําคัญที่มีสวนอยางมากตอการขยายตัวของตลาดสินคามุสลิมดังกลาว แมวาประเทศเหลานี้

จะมีจํานวนประชากรมุสลิมไมมาก แตเปนมุสลิมที่มีอํานาจการซื้อของสูงเมื่อเทียบกับภูมิภาคตะวันออก

กลางและแอฟริกาตอนเหนือ ประกอบกับแนวโนมความเคลื่อนไหวของกลุมชาวมุสลิมในพื้นที่ ทั้งจาก

อัตราการขยายตัวใประชากร และรานคาสําหรับชาวมุสลิมที่มีจํานวนเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ โดยเฉพาะในสหรัฐฯ

ซึ่งประมาณวามีหรือรานฮาลาลกวา 1 พันแหง7 ในขณะที่ทั้งสหรัฐอเมริกาและแคนาดาตางก็เปนประเทศ

ตองมีการพึ่งพาการนําเขาสินคาอาหารจากตางประเทศในแตละปเปนจํานวนมากอยูแลว ดังนั้น เมื่อ

พิจารณาบวกกับแนวโนมการเจริญเติบโตของประชากรผูบริโภคหลักชาวมุสลิมที่มีอยู ประกอบกับ

ขอเท็จจริงที่วาสินคาอาหารฮาลาลเปนกลุมสินคาที่ยังขาดแคลนอุปทานในตลาดดังกลาวอยูมาก

โดยเฉพาะตลาดอาหารฮาลาลสหรัฐฯในอนาคต ซึ่งรัฐบาลมาเลเซียไดคาดการณไววาอาจมีอัตราการ

เติบโตของตลาดที่สูงกวาตลาดอาหารโคเชอร จึงมีความเห็นสอดคลองกันวาประเทศสหรัฐอเมริกาและ

แคนาดา เปนตลาดใหมที่นาสนใจสําหรับการเพิ่มมูลคาสงออกอุตสาหกรรมสินคาอาหาร

อยางไรก็ตาม หากพิจารณาในทางกลับกัน กลุมประเทศที่สงออกอาหารฮาลาลมาก

ที่สุดสวนใหญก็เปนกลุมประเทศที่พัฒนาแลวเชนกัน ซึ่งสวนใหญไมใชกลุมประเทศที่เปนมุสลิม เชน กลุม

NAFTA (สหรัฐอเมริกาและแคนาดา) , EU และ AN (ออสเตรเลียและนิวซีแลนด) หากแตประเทศเหลานี้

7 อนุช อาภาภิรม. โครงการตะวันออกกลางศึกษา (Middle East Monitoring Project: MEMP). สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

.2549

24

Page 29: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

มีศักยภาพดานเทคโนโลยี และวิสัยทัศนที่จะเปนศูนยกลางการผลิตอาหารฮาลาลของโลก โดยเฉพาะ

สหรัฐฯและแคนาดา ซึ่งเปนประเทศที่มีความสามารถในการผลิตสินคาปศุสัตว เชน โคเนื้อ ไกและสัตวปก

เพื่อผลิตเปนอาหารฮาลาล รวมทั้งมีความสามารถสงออกอาหารฮาลาลไปยังประเทศอื่นๆ ในตลาดโลก

ดวย เชน สหรัฐฯ เปนผูสงออกเนื้อโคและสัตวปกในลําดับตนๆ ของประเทศอินโดนีเซีย8 โดยมีตัวอยาง

ผูผลิตสินคาอาหารฮาลาลรายใหญของประเทศ ไดแก บริษัท Midamar Corporation, Cargill, Congra,

Tyson, Purdue Farms, Oscar Mayer เปนตน ในขณะที่ประเทศแคนาดา ประกาศจะเปน Halal Food

Hub ในขณะที่มีประชากรมุสลิมเพียง 800,000 คน เปนตน9 แตในสวนของการผลิตสินคาอาหารฮาลาล

แคนาดาถือวายังมีสวนแบงการตลาดที่นอยมาก เมื่อเทียบกับประเทศผูสงออกอื่นๆ โดยมีตลาดสงออก

หลักคือ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส มาเลเซีย และอินโดนีเซีย อียิปต ซาอุดิอาระเบีย และกลุมประเทศยูเออี

เปนตน เปนตน อยางไรก็ตามรัฐบาลแคนาดาไดเล็งเห็นความสําคัญของการขยายโอกาสการสงออก

สินคาอาหารฮาลาล จึงไดมีการรวบรวมขอมูลตางๆที่เกี่ยวของทางดานตลาดสินคาฮาลาลประเภทใน

ประเทศตางๆ โดยเนนไปที่กลุมสินคาประเภทเนื้อสัตวซึ่งถือเปนสินคาสงออกหลักที่สําคัญ ปริมาณความ

ตองการนําเขารวมถึงกฏ ระเบียบ และมาตรการทางการคาที่มิใชภาษีทางดานสินคาอาหารฮาลาลของ

ประเทศในกลุมทวีปตางๆ ดังกลาว จึงอาจนับไดวาประเทศทั้งสองเปนคูแขงที่สําคัญของไทยในตลาด

ดังกลาวไดเชนกัน อยางไรก็ตามดังไดกลาวมาแลววา อาหารฮาลาลครอบคลุมถึงกลุมสินคาอาหารได

หลายประเภท ดังนั้น การศึกษาปริมาณและความตองการการบริโภคสินคาอาหารฮาลาลใน

สหรัฐอเมริกาและแคนาดา เพื่อเปรียบเทียบความสามารถและขอจํากัดของไทยในตลาดดังกลาว ที่ปรากฏ

ในเนื้อหาของบทที่ 3 นี้ จึงเปนการศึกษาเปรียบเทียบกลุมผลิตภัณฑอาหารสงออกที่สําคัญของไทยซึ่งจัด

วาเปนอาหารฮาลาลโดยพื้นฐานและเปนที่นิยมในกลุมมุสลิมหลายประเทศ โดยแบงประเภทสินคาออก

เปน 5 กลุม ดังนี้ (รายละเอียด ปรากฏตามหัวขอที่ 3.3)

1) กลุมอุตสาหกรรมประมงอาหารทะเลแชเย็นแชแข็งและแปรรูป

2) กลุมอุตสาหกรรมธัญพืชและผลิตภัณฑ ไดแก ขาวและขาวสาลี 3) กลุมอุตสาหกรรมสัตวปก ไดแก ไกแชเย็นแชแข็งและแปรรูป

4) ผักผลไมสด แชเย็นแชแข็งและแปรรูป และกระปอง

5) อาหารอื่นๆ เชน อาหารสําเร็จรูปพรอมรับประทาน เครื่องเทศและซอสปรุงรสตางๆ

เปนตน 8 Halal Food product Market Report, Agriculture and Agri-Food Canada. June 2006 9 รายงานความกาวหนาการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล. คณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมฮาลาล สํานักงานคณะกรรมการพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, พฤษภาคม 2548

25

Page 30: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

3.1 สถานการณตลาดอาหารสินคาเกษตรและอาหารในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

กลาวโดยทั่วไป ภูมิภาคอเมริกาเหนือซึ่งมีประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเปนประเทศ

คูคาสินคาเกษตรที่สําคัญของไทย โดย ในป 2548 มีสินคาเกษตรและอาหารแปรรูปนําเขาจากไทยที่

สําคัญ คือ อาหารทะเล (ทูนากระปอง ทูนาลอยน) ผักและน้ําผลไมกระปอง ซอสและเครื่องปรุงรส และ

เสนหมี่10 อยางไรก็ตาม ที่ผานมาการสงออกสินคาเกษตรและอาหารแปรรูปของไทยไปยังภูมิภาค

ดังกลาว ยังคงตองเผชิญกับการแขงขันที่รุนแรงจากผูผลิตในประเทศและประเทศผูสงออกอ่ืนๆ รวมทั้ง

ขอจํากัดมาตรการทางการคาอ่ืนๆที่ไมใชภาษีโดยเฉพาะจากประเทศสหรัฐอเมริกา เชน มาตรการอนุรักษ

ส่ิงแวดลอม มาตรการตอบโตการทุมตลาด หรือระเบียบดานความปลอดภัยอาหาร เปนตน ซึ่งสงผล

กระทบตอยอดการสงออกสินคาอาหารไทยเปนจํานวนมาก ดังนั้น การศึกษาและทําความเขาใจถึง

ลักษณะตลาดสินคาเกษตร เพื่อนําไปสูการวิเคราะหความตองการบริโภคอาหารฮาลาลของผูบริโภคใน

สหรัฐฯและแคนาดา จึงมีความสําคัญเชนกัน โดยสรุปขอมูลที่นาสนใจ ณ ปจจุบัน มีรายละเอียดดังนี้

3.1.1 สหรัฐอเมริกา

แมวาสหรัฐอเมริกาจะเปนประเทศผูสงออกสินคาอาหารรายใหญและไดดุลการคาสินคา

เกษตรกับประเทศตางๆมาโดยตลอด แตปจจุบันการนําเขาสินคาเกษตรของสหรัฐฯมีแนวโนมขยายตัวใน

อัตราสูงอยางตอเนื่อง ขณะที่มูลคาการสงออกเริ่มชะลอการขยายตัวลงเปนลําดับ จึงมีการคาดการณวา

สหรัฐฯอาจกลายเปนประเทศผูนําเขาสุทธิสินคาเกษตรของโลก ภายในป 255011

สําหรับสถานการณการสงออก ณ ปจจุบัน (ป 2550) มีประเทศคูคาที่สําคัญ คือ

แคนาดา เม็กซิโก ญี่ปุน สหภาพยุโรป และ ไทย โดยในชวงหาปที่ผานมา (2547-2550) ยังคงมีแนวโนม

การขยาตัวอัตราการสงออกเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องโดย ในป 2550 (ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550) มี

มูลคาการ สงออก รวมทั้งสิ้น 81.9 พันลานเหรียญฯ เพิ่มข้ึนจากป 2549 ถึง 21 % และคาดวาในป 2551

จะสามารถขยายมูลคาการสงออกเพิ่มข้ึนไดถึง 91 พันลานเหรียญฯ โดยสหภาพยุโรปมีสวนแบง

การตลาดมากที่สุด รองลงมาคือ แคนาดา เม็กซิโก ญี่ปุน จีน สินคาที่สงออกมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก

ธัญพืช ถั่วเหลือง เนื้อสัตวแปรรูปและแชแข็ง ผลิตภัณฑฝาย นม เนย และผลิตภัณฑ สินคาที่มีอัตราการ

10 วิไล เกียรติชาติ.โอกาสและอุปสรรคการสงออกสินคาอาหารสําเร็จรูปของไทยในภูมิภาคอเมริกาและแปซิฟกใต. สภาหอการคา

แหงประเทศไทย. 2548 11 ตลาดสินคาเกษตรในสหรัฐอเมริกา.สวนวิเคราะหเศรษกิจ ฝายวิชาการ ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย , 2549

26

Page 31: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ขยายตัวมูลคาสงออกมากที่สุดเปรียบเทียบระหวางเดือนตุลาคม -ธันวาคม 2549 และ 2550 คือ

ผลิตภัณฑแปงสาลี ขาวสาลี ธัญพืชและแปง นมเนยและผลิตภัณฑ น้ํามันถั่วเหลือง และไขมันสัตว 12

จากรายงานภาวะตลาดสินคาเกษตรของหนวยงาน Foreign Agricultural Service

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ไดประเมินแนวโนมภาวะการสงออกสินคาเกษตรของสหรัฐฯในป 2551 วา ยังคงมี

ตลาดเปน ประเทศแคนาดาและเมกซิโก ซึ่งนําเขา สินคาพืชสวน สินคาอาหารแปรรูป และเครื่องดื่ม มาก

ที่สุด และกลุมประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งคาดวาจะครองสัดสวนการสงออกกวาหนึ่งในสามของปริมาณการ

สงออกทั้งหมด โดยมีกลุมผูนําเขาหลักคือ ประเทศญี่ปุน ไตหวันและกลุมประเทศเอเชียใต (อินโดนีเชีย

ฟลิปปนส และประเทศไทย)

- กลุมสินคาที่มีแนวโนมมูลคาสงออกเพิ่มข้ึน ไดแก ขาวสาลี ธัญพืช ถั่วเหลือง ขาวโพด

และขาวฟาง ขาว พืชน้ํามัน ผลิตภัณฑฝาย มีแนวโนมขยายมูลคาการสงออกไดเพิ่มข้ึนสูงถึงประมาณ 70

% จากมูลคาการสงออกอาหารทั้งหมดในป 2551 และผักผลไมสดและแปรรูป เนื้อสัตว สัตวปกและ

ผลิตภัณฑ โดยเฉพาะเนื้อวัวและผลิตภัณฑ ที่พบวายังมีปริมาณความตองการจํานวนมากอยางคงที่ โดยมี

ตลาดสงออกหลัก คือ ประเทศญี่ปุน แคนาดา และเม็กซิโก

สําหรับสถานการณการนําเขา ณ ปจจุบัน นําเขามากที่สุดจากแคนาดา เมกซิโก จีน

บราซิล ชิลี และไทยตามลําดับ และคาดวาจะมีการพึ่งพาสินคานําเขาสินคาอาหารจากตางประเทศ

เพิ่มข้ึน โดยมีมูลคาเพิ่มข้ึนจากป 2550 ประมาณ 8 % โดยเฉพาะกลุมสินคาปศุสัตวประเภทเนื้อวัวและ

เนื้อไก ผักผลไม น้ํามันพืช ขาวโพด ถั่วเหลือง และสินคาธัญพืชแปรรูป เนื่องจากปริมาณความตองการ

บริโภคในประเทศที่เพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง ในขณะที่อาจมีการนําเขาสินคาประเภทพืชสวน น้ําตาล สินคา

ผลไมเมืองรอน ลดลง

ในสวนของการคาสินคาเกษตรและอาหารแปรรูปกับไทย สหรัฐฯ ถือเปนตลาดสงออกที่

สําคัญของไทย โดย ในป 255013 ไทยเปนประเทศผูนําเขาสินคาเกษตรและอาหารแปรรูปของสหรัฐฯ อยู

ในลําดับที่ 6 มีกลุมสินคาอาหารสงออกที่สําคัญ คือ สินคาประมง (กุงขาว และปลาทูนา) กลุมสินคา Bulk

Agricultural ประเภทขาวและธัญพืช 14

12 Outlook for U.S. Agricultural Trade. Electronic Outlook Report . Foreign Agricultural Service , United States Department of

Agriculture (FAS/USDA) November 30, 2007. 13 ขอมูลจาก หนวยงาน Foreign Agricultural Service กระทรวงเกษตรฯ สหรัฐฯ (FAS/USDA), http://www.fas.usda.gov.

14 การจัดทําขอมูลสถิติการสงออกและนําเขาสินคาเกษตรและอาหารของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) ไดรับการวิเคราะหขึ้นโดยหนวยงาน

Foreign Agricultural Service (FAS/USDA) ภายใตการควบคุมของหนวยงาน U.S. Bureau of Census ซ่ึงไดรวบรวมขอมูลสถิติเกี่ยวการ

สงออก-นําเขาสินคาเกษตรและอาหารของสหรัฐฯในแตละป ทั้งแบบปงบประมาณและปปฏิทิน 14จัดทําขึ้นในรูปแบบของฐานขอมูลที่เรียกวา

“BICO Report”14 ซ่ึงยอมาจาก Bulk Commodities, High-value Intermediate and Consumer-Oriented food and Beverage โดยใช

27

Page 32: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

3.1.2 ประเทศแคนาดา

เปนประเทศผูผลิตสินคาอาหารรายใหญของโลก มีประเทศคูคาอันดับหนึ่งคือ

สหรัฐอเมริกา ซึ่งครองสวนแบงการนําเขาสินคาอาหาร ณ ป 2550 ประมาณรอยละ 56 ของจํานวนสินคา

อาหารนําเขาของประเทศแคนาดาทั้งหมด รองลงมาคือประเทศ ญี่ปุน สหภาพยุโรป เมกซิโก จีน เกาหลี

ฮองกง ไตหวัน อินเดีย บราซิล และออสเตรเลีย15 โดยเปรียบเทียบมูลคาการสงออก- นําเขาสินคาอาหาร

หลักโดยรวม ณ เดือนกันยายน 2549 สินคาสงออกสวนใหญมีแนวโนมเพิ่มข้ึน โดยสินคาสงออกหลักที่มี

มูลคามากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก กลุมสินคาเกษตรโภคภัณฑเหมารวม (bulk Commodities) เชน ขาว

สาลี เมล็ดพืชคาโนลา ขาวสาลีดูรัมและสินคาปศุสัตว เชน เนื้อวัวแชแข็งและแปรรูป และเนื้อหมูเปนตน

เชนเดียวกับมูลคาการนําเขาสินคาหลักที่มีแนวโนมเพิ่มข้ึน โดยมีกลุมสินคาสําคัญ คือ เครื่องดื่ม

แอลกอฮออล เชน เหลาองุน เบียร เครื่องปรุงอาหาร ขนมปงกรอบ เปนตน

สําหรับภาวะการคาสินคาสินคาเกษตรและอาหารระหวางไทย-แคนาดา ปจจุบัน

แคนาดาเปนประเทศคูคาลําดับที่ 8 ของไทย โดยในป 2549 ไทยมีสวนแบงการตลาดสินคาอาหารใน

แคนาดา ประมาณรอยละ 2.12 และมีมูลคาการสงออกและนําเขาสินคาเกษตรและอาหารหลักโดยรวม

เพิ่มข้ึน โดยแคนาดามีสินคาเกษตรและอาหารสงออกของประเทศที่สําคัญ ไดแก อาหารกระปองและ

อาหารแปรรูป ธัญพืช เมล็ดพืชน้ํามัน เปนตน และสินคานําเขาหลักคือ อาหารทะเลกระปอง ปลาทูนา กุง

แชเย็น /แชแข็ง ผักผลไมสด ธัญพืช ผลไมจําพวกถั่ว ผักประเภทหัวใตดินของพืช ผลิตภัณฑที่ทําจาก

วิธีการจําแนกกลุมสินคาหลักออกเปนสามประเภทตามระดับขั้นตอนการแปรรูปสินคา (degree of process level) และปลายทางการบริโภค

(final consumption) สรุปไดดังนี้ (สินคาประมงและผลิตภัณฑปาไม แยกตางหาก)

1. สินคาเกษตรโภคภัณฑเหมารวม (Bulk Commodities) หมายถึง ผลิตภัณฑทางการเกษตรที่ไมผานหรือผานการแปรรูปเพียง

เล็กนอย เชน ธัญพืชและขาว ถั่วเหลือง ขาวสาลี ขาวโพด หรือฝาย หรือผลิตภัณฑ Tropical Product เชน เมล็ดโกโก เมล็ดกาแฟ น้ําตาล เปน

ตน

2. สินคาเกษตรที่มีมูลคาระดับกลาง (High-value Intermediate) หมายถึงสินคาเกษตรที่ผานกระบวนการแปรรูปบางสวน แตยัง

ไมพรอมสําหรับการบริโภคในขั้นสุดทาย เชน แปงสาลี น้ํามันพืช สัตวที่ถูกเชือดกอนแปรสภาพเปนช้ินสวนตางๆ (meat cut)

3. สินคาที่เปนที่ตองการของผูบริโภคสวนมาก (Consumer- Oriented) เปนสินคาที่ไมตองการการแปรรูปซ่ึงพรอมสําหรับการ

บริโภคในขั้นสุดทายแลว หรือสินคาที่สามารถนําไปแปรรูปเปนสวนประกอบของอาหารอื่นตอไป เชน เนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑ

เครื่องปรุงรส นมและผลิตภัณฑนมเนย ถั่วประเภท tree nuts ผักและผลไมสดและแปรรูป น้ําผลไม อาหารสัตว ขนมขบเคี้ยวตางๆ (ยกเวนถั่ว)

เปนตน

4. ผลิตภัณฑจากปาไม (Forest product)

5. สินคาประมง 15 Statistic Canada

28

Page 33: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ขาว ซอส เครื่องปรุงรสตางๆ แปงมัน เครื่องดื่ม หนังวัวควาย และสินคาอาหารที่ใชสําหรับการเตรียมปรุง

อาหารจําพวกเนื้อสัตวและเสนพาสตา (Food preparation) เปนตน

3.2 ตลาดสินคาอาหารฮาลาลในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

3.2.1 ขอมูลพื้นฐานดานประชากร

สหรัฐอเมริกา เปนหนึ่งในประเทศที่ความหลากหลายทางดานเชื้อชาติของประชากรมาก

ที่สุด ประชากรสหรัฐฯ นับจนเดือนธันวาคม 2550 มีประมาณ 303, 436,714 คน ในจํานวนนี้คิดเปนเชื้อ

ชาติชนผิวขาว 81 % แอฟริกันอเมริกัน 12.9 % เอเชีย 4. 2 % และอื่นๆ 12.9 % และมีประชากรสวน

ใหญของประเทศนับถือศาสนาคริสต ประมาณ 76 % สวนใหญจะตั้งถิ่นฐานหนาแนนบนรัฐเมืองทา

ฝงตะวันตกของสหรัฐฯ เชน มลรัฐฮาวายและแคลิฟอรเนีย และพื้นที่ชายฝงตะวันออกเชน นิวยอรก นิว

เจอรซี่ และวอชิงตัน ดี.ซี

สําหรับกลุมประชากรมุสลิม แมจะไมมีรายงานตัวเลขจํานวนที่แนนอนของประชากรชาว

มุสลิมในประเทศ เนื่องจากสหรัฐฯ ไมเก็บตัวเลขขอมูลจํานวนผูนับถือศาสนา จึงทําใหขอมูลในเรื่อง

ดังกลาวมีความแตกตางกันไป แตจากรายงานการศึกษาสภาวะตลาดอาหารฮาลาลโลกของรัฐบาล

แคนาดาพบวา ปจจุบัน (ป 2551) มีจํานวนประชากรมุสลิมอาศัยในประเทศสหรัฐฯ ราว 8 – 10 ลาน

คน ครองสัดสวนประมาณรอยละ 2.5 ของจํานวนประชากรทั้งหมด16 และมีกําลังซื้อสินคาอาหารของ

ผูบริโภคโดยรวมกวา 1,200 ลานเหรียญฯ โดยมีแนวโนมอัตราการเจริญเติบโตของกลุมชนที่สูงมาก เมื่อ

เทียบกับอัตราการเจริญเติบโตของประชากรชนชาติอ่ืนในประเทศ ประกอบกับของอัตราการเพิ่มข้ึน

จํานวนสุเหรา (Mosques) ในประเทศซึ่งนับไดประมาณกวา 1,200 แหง (ขอมูล ณ ป 2543) และรานคา

สําหรับชาวมุสลิมกวา 1 พันแหงในประเทศ ดังนั้น จึงมีความเห็นสอดคลองกันวาศาสนาอิสลามเปน

ศาสนาที่เติบโตเร็วที่สุดในสหรัฐฯ โดยในชวง10 ปที่ผานมาชาวมุสลิมในสหรัฐฯ ไดเพิ่มจํานวนขึ้นถึง

เกือบสองเทา จากสาเหตุดานการอพยพยายถิ่นฐาน และการเปลี่ยนศาสนา โดยมีอัตราเฉลี่ยของจาํนวนผู

เปลี่ยนศาสนาในแตละปอยูที่ ประมาณ135,000 คน โดยมีกลุมเชื้อสายประชากรสวนใหญเปนชาว

อเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน (African-American) ครองสัดสวนประชากรประมาณ 50 % รองลงมาคือเอเชีย

ใต (South Asia) 25 % และ White American 1.6 % โดยเปนที่คาดการณกันวาภายในป 2010 จํานวน

ประชากรมุสลิมในสหรัฐฯ จะมีจํานวนเพิ่มข้ึนถึง 10-19 ลานคน

16 CIA World Fact book : www.cia.gov

29

Page 34: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

กราฟที่ 3.1 แสดงจํานวนชาวมุสลิมในสหรัฐฯแบงตามสิบมลรัฐหลักที่มีจํานวนประชากรมากที่สุด

California, 1,000,000, 30%

New York, 800,000, 25%

Illinois, 420,000, 13%

New Jersey, 200,000, 6%

Indiana, 180,000, 6%

Michigan, 170,000, 5%

Maryland, 70,000, 2%

Virginia, 150,000, 5%

Ohio, 130,000, 4%

Texas, 140,000, 4%

ประเทศแคนาดา ปจจุบัน(ป 2550) มีจาํนวนประชากรของประเทศทั้งสิน้ประมาณ 33

ลานคน มีประชากรสวนใหญของประเทศกวารอยละ 90 นับถือศาสนาคริสต ศาสนาอิสลามรอยละ 2 โดย

เมืองทีม่ีประชากรอาศัยอยูหนาแนนที่สุด คือ เมือง Toronto มลรัฐ Ontario

สําหรับกลุมชาวมุสลิม ปจจุบัน แคนาดามีจํานวนประชากรชาวมุสลิมอาศัยอยูประมาณ

8 แสนคน หรือคิดเปนประมาณรอยละ 2 ของจํานวนประชากรทั้งหมด โดยสวนใหญเกาะกลุมอาศัย

หนาแนนอยูในเมือง Toronto มลรัฐ Ontario ซึ่งครองสัดสวนจํานวนชาวมุสลิมมากถึงประมาณเกือบ 3 ใน

5 ของจํานวนประชากรมุสลิมทั้งหมดของประเทศ รองลงมาคือเมือง Montreal มลรัฐ Quebec โดยจาก

รายงานของหนวยงาน Statistic Canada ไดประเมินการณไววาภายในป พ.ศ. 2560 ประเทศแคนาดา จะ

มีแนวโนมการอัตราการขยายตัวของกลุมประชากรที่ไมไดนับถือศาสนาคริสตประมาณรอยละ10 และมี

จํานวนประชากรชาวมุสลิมในประเทศนับจากป 2550 เพิ่มข้ึนเปนสองเทา หรือประมาณ 1.4 ลานคน ใน

ป พ.ศ. 2560 คิดเปนอัตราสวนประมาณรอยละ 4 ของจํานวนประชากรทั้งหมด

30

Page 35: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

กราฟที่ 3.2 แสดงจํานวนประชากรมุสลิมในประเทศแคนาดาแบงตามเขตการปกครองหลัก

Ontatrio, 352,530, 61%

Quebec, 108,620, 19%

British columbia, 56,220, 10%

alberta, 49,040, 8%

อื่นๆ* , 11,965, 2%

* ไดแก Manitoba, Nova Scotia, Saskatchewan, Newfoundland and Labrador, Price Edward Island North

West Territories, Yukon Territories และ Nunavut

3.2.2 ประเภทตลาดสินคาอาหาร

3.2.2.1 ตลาดอาหารหลัก (Mainstream Market)

ไดแก อาหารเพื่อการบริโภคในชีวิตประจําวันโดยทั่วไป เชน เนื้อสัตว สัตวปกและ

ผลิตภัณฑ หรือผัก ผลไมสด ตางๆ เปนตน ถือเปนตลาดอาหารขนาดใหญและมีฐานการบริโภครองรับ

มากที่สุด เนื่องจาก เปนสินคาอาหารพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิตประจําวัน จึงมีกลุมผูบริโภคเปน

ประชากรสวนใหญของประเทศ แตปจจุบัน สินคาอาหารไทยเขาถึงตลาดประเภทนี้นอยมาก เนื่องจาก

ติดขอจํากัดการนําเขาบางอยาง เชน มาตรการกีดกันทางการคาที่ไมใชภาษี หรือระยะเวลาและคาใชจาย

ในการขนสงเปนตน นอกจากนั้น ตลาดอาหารประเภทนี้ ยังรวมถึง กลุมอาหารเพื่อสุขภาพหรืออาหาร

ปราศจากสารเคมี ประเภท Natural food หรือ organic food ซึ่งไดขยายตัวเขาสูตลาดอาหารประเภทนี้

เนื่องจากแนวโนมกระแสความนิยมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ประกอบกับกําลังซื้อของกลุมผูบริโภค

สวนใหญที่มีฐานระดับรายไดสูง จึงทําใหสามารถจําหนายสินคาในราคาที่สูงไดกวาสินคาทั่วไป

31

Page 36: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

3.2.2.2 ตลาดสินคาอาหารที่มีลักษณะพิเศษของเชื้อชาติตางๆ (Ethnic/Cultural Food Market) และ ตลาดสินคาอาหารสําหรับผูบริโภคเฉพาะกลุมศาสนา (Religious food)

หมายถึง ตลาดอาหารของกลุมประชากรที่มีลักษณะพื้นฐานความเชื่อดานประเพณี

ปฏิบัติ วัฒนธรรมหรือศาสนาที่คลายคลึงกันเปนสวนใหญ มีกลุมผูบริโภคซึ่งสวนใหญเปนชาวตางชาติที่

ยายถิ่นฐานมาศึกษาหรือมาทํางานซึ่งสวนใหญพบวาเปนชาวเอเชีย (จีน อินเดีย และตะวันออกกลาง) ทั้ง

ในสหรัฐและแคนาดา โดยในป 2545 สหรัฐฯ มีมูลคาตลาดของสินคาอาหารประเภทนี้เฉลี่ยอยูที่ 75

พันลานเหรียญฯ ครองสัดสวนกวารอยละ 37 ของมูลคาธุรกิจคาปลีกสินคาอาหารทั้งหมด และมีประชากร

ของประเทศกวารอยละ 20 เปนชาวตางชาติ

ตลาด Ethnic Food ถือเปนตลาดสินคาอาหารที่ไดรับความนิยมบริโภคทั้งในประเทศ

สหรัฐอเมริกาและแคนาดามาเปนระยะเวลานานแลว โดยปจจุบัน พบวาความนิยมบริโภคอาหารประเภท

นี้ไดขยายตัวเขาสูกลุมผูบริโภคทั่วไปมากขึ้น เนื่องจากสาเหตุการรับเอาวัฒนธรรมการบริโภคอาหารมา

จากกลุมผูอพยพดังกลาว ซึ่ง มีความสนใจทดลองบริโภคอาหารตางชาติประเภทใหมๆ มากขึ้น เปนตลาด

ที่มีมูลคาการซื้อขายมหาศาลและมีทิศทางการขยายตัวของตลาด ที่รวดเร็วมาก เนื่องจากแนวโนมการ

หลั่งไหลของกลุมประชากรชาวตางชาติที่เพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อยๆ เปนหลัก และเปนตลาดที่สินคาอาหารไทย

สวนใหญ ถูกสงเขากลุมนี้ โดยมีกลุมสินคาจากประเทศคูแขงที่สําคัญ คือ สินคาจากประเทศ เวียดนาม

และจีน สหรัฐอเมริกา จัดไดวาเปนประเทศที่มีความหลากหลายดานเชื้อชาติประชากรมากที่สุดโดย

ปจจุบัน กวารอยละ 30 ของประชากรที่อาศัยในสหรัฐฯ เปนชาวตางชาติที่สวนใหญอพยพยายถิ่นฐานเขา

มาเพื่อศึกษาหรือทํางาน โดยมีสัดสวนของกลุมประชากรหลักเปนชาวเม็กซิกัน แอฟริกันอเมริกัน และ

เอเชีย ตามลําดับ

ในสวนของภาวะการบริโภคอาหาร ปจจุบัน สหรัฐฯ มีมูลคาการซื้อขายสินคาอาหาร

สําหรับกลุมผูบริโภคประเภทนี้เฉล่ียตอปอยูที่ประมาณ 75 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งไดขยายตัวเพิม่ข้ึนมา

เร่ือยๆนับจากป 2547 ถึงประมาณรอยละ 21 ในจํานวนนี้ คิดเปนธุรกิจบริการอาหาร (food service)

ประมาณรอยละ 65 และธุรกิจการจําหนายอาหารใน grocery stores ประมาณรอยละ 35 จากมูลคา

ตลาดอาหารทั้งหมด โดยไดมีการประมาณไววา ในการจับจายเงินเพื่อซ้ือสินคาอาหารของผูบริโภคชาว

สหรัฐฯ หนึ่ งครั้ งของผูบ ริโภคหนึ่ งคน จะเปนการจายไปสําหรับการซื้อ สินคาอาหารประเภท

Ethnic/Religious Food รวมอยูดวย โดยคิดเปนอัตรารอยละ 14 จากจํานวนเงินที่จายไปเพื่อการซื้อ

สินคาอาหารทั้งหมด ในขณะที่รานจําหนายสินคาเกษตรและอาหารประเภทซุปเปอรมารเกต็รายใหญตางๆ

ในสหรัฐฯ ก็กําลังใหความสนใจกับการนําเขากลุมสินคาอาหารประเภทนี้มากข้ึน จึงนับเปนตลาดที่มีการ

32

Page 37: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

มูลคาการขยายตัวเร็วมาก โดยรัฐบาลแคนาดาไดประเมินไววาภายในป 2561 ตลาดการซื้อขายสินคา

อาหารประเภท Ethnic/religious food ในสหรัฐฯ จะมีมูลคาเพิ่มข้ึนเปนอีกถึงรอยละ 50 และอาจ

ขยายตัวกลายเปนตลาดอาหารประเภท Mainstream ตอไปไดในอนาคตอันใกล โดยสามารถแบงกลุม

ประเภทตลาดยอยไดดังนี้

- Asian American Market เปนกลุมชาวตางชาติที่มีขนาดและอัตราการขยายตัวของ

ประชากรสูงที่สุดในสหรัฐฯ ในปจจุบัน17 โดยมีกลุมผูบริโภคหลักจากกลุมประเทศแถบเอเชียตะวันออก

เชน ชาวจีน ครองสัดสวนมากที่สุดถึงรอยละ 22. 6 รองลงมาคือ ฟลิปปนส ญี่ปุน อินเดีย เกาหลี เวียดนาม

และอ่ืนๆ (เชนไทยและลาว) เปนตน

- Hispanic Market มีผูบริโภคจะเปนชาวละตินอเมริกา และอเมริกาใต มีจํานวน

ประชากร อาศัยอยูประมาณ 50 ลานคน ครองสัดสวนประชากรประมาณรอยละ 13 ของจํานวนประชากร

ทั้งหมดในประเทศ

- Indian Market

- Mexican Market ผูบริโภคจะเปนจะเปนชาวเม็กซิกัน โดยจากรายงานการคาดการณ

สถิติจํานวนประชากรของกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ไดประเมินไววา ในป พ.ศ. 2563 สหรัฐฯ จะมีจํานวน

ประชากรชาวเมกซิกันเพิ่มข้ึนเฉลี่ยปละประมาณ 1.2 ลานคน ชาวแอฟริกันและเอเชียประมาณ 400,000

คน

- African American Market เปนกลุมผูบริโภคกําลังซื้อขนาดใหญที่สุดในจํานวน

ผูบริโภคเชื้อชาติตางๆ ของสหรัฐฯ และมีจํานวนประชากรมากที่สุดเปนอันดับสองรองจากกลุม Hispanic

ในป 2545 มีกําลังซื้อสินคาอาหารของประชากรถึง 645 พันลานเหรียญฯ จากรายงานสภาวะตลาด

อาหาร Ethnic Food ในสหรัฐฯ ของรัฐบาลแคนาดาพบวา ปจจุบันสถานการณรายไดตอครัวเรือนของ

กลุมผูบริโภคชาวแอฟริกันอเมริกันมีแนวโนมเพิ่มข้ึน

ตลาดอาหารสําหรับกลุมผูบริโภคผูบริโภคเฉพาะกลุมศาสนา (Religious food)

เชน ตลาดอาหารฮาลาลและอาหารโคเชอร มักไดรับการจัดรวมอยูในกลุมอาหาร

ประเภท Ethnic food และมีผูบริโภคหลักเปนกลุมผูนับถือศาสนา และผูบริโภคอื่นๆ เชน ผูบริโภคที่

สนใจการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ถือเปนตลาดมุสลิมที่นาสนใจในสหรัฐฯและแคนาดา โดยเฉพาะ

ตลาดอาหารฮาลาลที่ยังขาดแคลนอุปทานอยู ซึ่งรัฐบาลแคนาดาไดประเมินไววามีมูลคาตลาดเฉลี่ยตอป

17 Orienting The U.S. Food and Beverage Market: Strategies for targeting Asian American to 2010. Promar International. June 2000

33

Page 38: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

สูงถึงประมาณ 1,300 ลานเหรียญฯ โดยในจํานวนนี้คิดเปนมูลคาตลาดในสหรัฐฯ ประมาณ 12 ลาน

เหรียญฯ ซึ่งไดขยายมูลคาเพิ่มข้ึนถึงกวา 70 % นับตั้งแตป 2538 ในขณะที่มีมูลคาการซื้อขาย

ภายในประเทศเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ สวนประเทศแคนาดามีมูลคาการซื้อขายสินคาเนื้อฮาลาลเฉลี่ยตอป

ประมาณ 214 ลานเหรียญฯ โดยนอกเหนือจากกลุมประเทศสมาชิกองคกรอิสลาม สหรัฐอเมริกาและ

แคนาดาถือเปนอีกประเทศที่มีอัตราการบริโภคอาหารฮาลาลสูง เนื่องจากมีการขยายตัวของประชากร

มุสลิมอยางตอเนื่อง ซึ่งเกิดจากจํานวนประชากรทีเพิ่มขึ้นจากการอพยพยายถิ่นฐาน การกําเนิดของ

พลเมืองเชื้อสายมุสลิม และการยายมานับถือศาสนาอิสลามของคนผิวขาว ประกอบกับกําลังซื้ออาหาร

ของผูบริโภคประมาณ 5- 6 เหรียญสหรัฐฯ ตอคนตอวัน จึงนับวาเปนตลาดสินคาประเภทใหมที่นาสนใจ

สําหรับการขยายตลาดการสงออกสินคาอาหารไทยไปยังกลุมผูบริโภคในตลาดดังกลาว

สําหรับตลาดอาหารโคเชอรในสหรัฐฯ ซึ่งถืออาจถือเปนสินคาคูแขงของฮาลาลโดยตรง

เพราะมีกลุมผูบริโภคสวนใหญกวาครึ่ง (รอยละ 55) เปนผูบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพทั่วไปซึ่งไมใชชาวยิว

และสัดสวนผูบริโภคจํานวนไมนอยที่เปนชาวมุสลิมแตเลือกบริโภคอาหารโคเชอร (รอยละ 16) ดวยสาเหตุ

ที่วามีสินคาใหเลือกมากกวาและหาซื้อไดงายกวา โดยไดมีการเปรียบเทียบวา การจําหนายสินคาอาหาร

บน shelves ของแตละซุปเปอรมารเกตในสหรัฐฯ ที่มีผลิตภัณฑฮาลาลวางอยู 1 ชิ้น จะประกอบไปดวย

ผลิตภัณฑโคเชอรถึง 86 ชิ้น18 และในแตละป ชาวมุสลิมในสหรัฐฯ จายเงินเพื่อซื้อสินคาอาหารโคเชอรมี

จํานวนรวมเฉลี่ยในแตละปกวา 16 พันลานเหรียญฯ ซึ่งแสดงใหเห็นวาอาหารฮาลาล ยังมีไมเพียงพอตอ

การตอบสนองปริมาณความตองการบริโภคในตลาดสหรัฐฯ ในขณะที่มีปริมาณความตองการบริโภค

รองรับสูง ดังนั้น หากไทยสามารถหาชองทางในการสงสินคาอาหารไทยเพื่อเขาถึงตลาดประเภทนี้ได ก็จะ

เปนโอกาสอันดีในการเพิ่มมูลคาใหกับอุตสาหกรรมของไทย

3.2.3 ภาวะการบริโภคอาหารฮาลาลในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

3.2.3.1 ภาพรวม

จากกราฟแสดงจํานวนประชากรมุสลิมในประเทศสหรัฐฯและแคนาดา ดังกลาวขางตน

เปนแสดงใหเห็นวา แหลงตลาดสินคาฮาลาลสวนใหญในภูมิภาคอเมริกาเหนือ มักกระจายอยู ณ เมือง

หลวงของมลรัฐหรือเขตการปกครองใหญๆ ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ หรือตามชานเมืองและมีจํานวน

ชาวอเมริกันมุสลิมปรากฏอยูหนาแนน โดยเฉพาะเมืองใหญที่มีอัตราการเกาะกลุมของประชากรหนาแนน

ซึ่งพบวามีรานจําหนายสินคาอาหารฮาลาลปรากฏอยูหลายรอยแหง ซึ่งจากการสํารวจพบวามักตั้งอยูใน

18 An Overview of Global Halal Market.The halal market specialist.imarat Consultants. www. Imaratconsultants.com

34

Page 39: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ละแวกหรือทําเลใกลเคียงกัน เชน เมือง เมืองนิวยอรก ลอสแองเจลิส ชิคาโก และพื้นที่ในเขตวอชิงตัน

ดี.ซี. ในสหรัฐฯ หรือเมืองโตรอนโต เขตออนตาริโอในแคนาดา ซึ่งมีประชากรจํานวนประชากรมุสลิมของ

ประเทศกวาครึ่ง เปนตน โดยมีรายไดหลักมาจากธุรกิจบริการอาหารประเภท Grocery Store และการ

จําหนายอาหารสําเร็จรูปตามภัตตาคารรานอาหารตางๆ เปนสวนใหญ ซึ่งจากการสํารวจและสอบถาม

กลุมผูบริโภคอาหารบางสวน พบวาภาวะการขาดแคลนดังกลาว มีสาเหตุหลักมาจากผลิตภัณฑอาหารที่

วางจําหนายอยูตามตลาด ซึ่งบางครั้งอาจจัดวาเปนสินคาที่อยูในกลุมฮาลาลได แตไมไดรับการระบุวา

เปนสินคาฮาลาล เนื่องจากไมมีตรารับรองหรือการปดฉลากแสดงสถานะของอาหาร ทําใหเกิดปญหา

ความไมแนใจในผลิตภัณฑ จึงมีผูบริโภคบางสวนหันไปเลือกทานอาหารโคเชอรซึ่งมีใหเลือกเยอะกวาและ

หาซื้อไดงายกวาแทน เพื่อลดภาระความยุงยากการเสียเวลาศึกษาสวนผสมในอาหาร แมจะมีความเห็น

วา การทดแทนการบริโภคอาหารฮาลาลดวยอาหารโคเชอร อาจไมเหมาะสมตอชาวมุสลิม เนื่องจาก

หลักการของทั้งสองศาสนามีความแตกตางกัน อยางไรก็ตาม พบวา สวนแบงตลาดอาหารโคเชอรใน

สหรัฐ ยังคงมีชาวมุสลิมหรือชนจากศาสนาอื่นๆ เปนกลุมผูบริโภคอันดับสอง ครองสัดสวนประมาณรอยละ

37 รองจากกลุมผูบริโภคหลัก คือชาวยิว (รอยละ 44)

3.2.3.2 พฤติกรรมและรูปแบบการบริโภค

ปจจุบัน ผูบริโภคของสหรัฐฯ มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปดานการบริโภคสินคาเกษตร

โดยผูบริโภคจํานวนมากมีแนวโนมลดการบริโภคอาหารประเภทเนื้อสัตว ชนิดเนื้อแดง (เนื้อวัวและเนื้อหมู)

มันฝร่ัง น้ําตาล ไข ผลิตภัณฑนมเนย และหันไปใหความสําคัญกับการบริโภคสินคาเกษตรประเภทผักและ

ผลไม ปลา ชีส อาหารทะเลอื่นๆ ถั่ว เครื่องเทศและสมุนไพร และเตาหูแทนตามกระแสการบริโภคอาหาร

เพื่อสุขภาพ นอกจากนี้ ผูนิยมบริโภคบางกลุม ยังนิยมรับประทานอาหารสําเร็จรูป กึ่งสําเร็จรูป และแชแข็ง

ในสวนของภาวะตลาดอาหารฮาลาล กลาวโดยทั่วไป ชีวิตความเปนอยูของชาวมุสลิม

ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ถือวาไมแตกตางจากชาวมุสลิมในประเทศอื่นๆ อยางไรก็ตาม ซึ่งไดมีการ

เปลี่ยนแปลงรูปแบบชีวิตความเปนอยูใหเขากับวัฒนธรรมตะวันตก โดยเฉพาะการซึมซับพฤติกรรมการ

บริโภคอาหารที่เนนความสะดวกสบายเปนหลัก เพื่อใหสอดคลองกับสภาวะความเปนอยูที่เรงรีบ เชน

การรับประทานอาหารนอกบาน หรือการซื้ออาหารสําเร็จรูปพรอมรับประทานทันที หรืออาหารแปรรูปที่ไม

ตองเตรียมการมาก (Prepared Food) เปนตน โดยแตเดิม อาหารฮาลาล ถือเปนอาหารที่ผลิตขึ้น

สําหรับชาวมุสลิมเทานั้น แตในปจจุบันตลาดอาหารประเภทนี้ ไดขยายตัวเติบโตเปนธุรกิจสินคาอาหารที่

มีแนวโนมวาไดรับความนิยมเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ โดยเฉพาะจากกลุมผูบริโภคที่ไมไดเปนผูบริโภคหลกัแตมกีาํลงั

ซื้อสูง เชน ผูบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ เปนตน ทําใหตลาดอาหารดังกลาวไดรับความนิยมเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ

35

Page 40: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

และพบวามีผูบริโภคจํานวนไมนอยที่ใหความสําคัญกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารฮาลาลหรือโคเชอร

มากกวาการคํานึงถึงปจจัยเรื่องราคาที่อาจมีราคาสูงกวาผลิตภัณฑทั่วไป

3.2.3.3 ชองทางการจําหนายสินคาอาหารฮาลาลที่นาสนใจ

(1) รานคาปลีกอาหารฮาลาลทองถิ่น (Local Halal meat shop) เปนแหลงจําหนาย

อาหารประเภทที่ไดรับความเชื่อถือจากกลุมผูบริโภคอาหารฮาลาลมากที่สุด โดยเฉพาะผูบริโภคชาวมุสลิม

เนื่องจากสวนใหญเปนรานที่มีเจาของหรือผูประกอบการเปนชาวมุสลิมหรือผูที่นับถือศาสนาอิสลาม และ

มีสินคาเฉพาะหลายประเภทที่ตรงความตองการของกลุมผูบริโภค โดยสวนใหญมักจําหนายอาหารฮา

ลาลประเภทอาหารสดเนื้อสัตว สัตวปก อาหารทะเล เครื่องปรุงรส รวมถึงอาหารแปรรูป อาหารสําเร็จรูป

พรอมรับประทานตางๆ เปนตน

(2) รานคาปลีกและคาสงสินคาอาหารรายใหญประเภท Grocery Store/Supermarket

ถือเปนอุตสาหกรรมอาหารที่มีมูลคาสูงมากในสหรัฐฯ โดยในปจจุบัน จํานวนธุรกิจรานคาประเภท

Grocery Store ที่จําหนายสินคาอาหารรวมทั้งสิ้นมีประมาณ 86, 000 รานคา แยกเปนตลาดปกติที่

จําหนายสินคาอาหารทั่วไป (traditional grocery store) ประมาณ 42,000 รานคา ตลาดแบบพิเศษที่เขา

ขายเปน non-traditional grocery store เชน รานคาสงเฉพาะสําหรับสมาชิก รานคาขนาดใหญ รานคา

สินคาราคาถูกประเภท dollar store รานขายยา อีกประมาณ 44,000 รานคา

ดังนั้น การนําเขาอาหารฮาลาลเพื่อจําหนายในซุปเปอรมารเก็ตของสหรัฐฯ จึงนับเปน

ชองทางตลาดที่มีศักยภาพสําหรับสินคาอาหารฮาลาลไทยที่นาจะเขาถึงได โดยเฉพาะการเจาะตลาด

ผูคาปลีกสินคาอาหารรายใหญของสหรัฐฯ ซึ่งมีสาขากระจายอยูหลายแหงทั่วประเทศ และมีชื่อเสียงเปนที่

รูจักในกลุมผูบริโภคอยูแลว ดังตัวอยาง หาง Wal-mart ที่ไดริเร่ิมรุกเจาะตลาดกลุมผูบริโภคอาหาร

ดังกลาว ดวยการเปด section จําหนายสินคาอาหารฮาลาลโดยเฉพาะภายในหาง เพื่อรองรับปริมาณ

ความตองการของกลุมผูบริโภคชาวอาหรับขนาดใหญภายในมลรัฐ นอกจากนี้ธุรกิจอาหารประเภทจาน

ดวนรายใหญ เชน McDonald Kentucky Fried Chicken (KFC) หรือ Taco Bell ที่ตองการขยายฐานกลุม

ผูบริโภค จึงไดมีการนําเอาสินคาอาหารฮาลาล เชน เนื้อฮาลาล (Halal Meat)

ตัวอยางรายชื่อหางคาปลีกสินคาอาหารรายใหญที่จําหนายสินคาอาหารฮาลาลใน

ประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

36

Page 41: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ประเทศสหรัฐอเมริกา

รัฐแคลิฟอรเนีย ไดแก Albertson, Food4Less, Raley, Raplh, Safeway, Von

เมืองชิคาโก Aldi, Cub Foods, Dominick, Jewel, Meijer (Illinois, Indian and

Michigan) , Farmer Jack

มลรัฐชายฝงตะวันออกเฉียงใต (ฟลอริดา ) Alberston, Food lions, Publix, Win-Dixie,

วอชิงตันดี.ซี. แมร่ีแลนด เพนซิลเวเนีย และเวอรจิเนีย Giant Food Store

มลรัฐฝงตะวันออกเฉียงเหนือ A&P, Key Foods, Met FoodMart, Pathmark, Shaw,

ShopRite, Stop Shop, Wauldbaum

รัฐ Texas ไดแก Fiesta, HEB, Kroger, Raldall, Wal-Mart

ประเทศแคนาดา ไดแก Dominion, Food Basic, Loblaws, No Frill, Price Chopper, The Canadian

Superstore เปนตน

(3) ภัตตาคาร/รานอาหาร จําหนายสินคาพรอมรับประทานโดยทันทีหรือสินคาที่ใชเวลา

เตรียมการนอย (ready-to-eat, ready-to-cook) ถือเปนอุตสาหกรรมการจําหนายอาหารที่มีมูลคาสูงมาก

ของสหรัฐฯ ดวยเหตุผลที่วาเปนสินคาอาหารที่เหมาะกับสภาวะการดําเนินชีวิตที่เรงรีบในปจจุบันของ

ผูบริโภคสวนใหญ ซึ่งพบวามีแนวโนมการซึบซับพฤติกรรมการบริโภคอาหารนอกบานเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง

โดยจากรายงานของ National Restaurant Association พบวา ปจจุบัน มีจํานวนธุรกิจภัตตาคาร

รานอาหารในสหรัฐฯ ประมาณ 945,000 หนวย ซึ่งคาดวา ในป 2551 อุตสาหกรรมการจําหนายอาหาร

จากธุรกิจดังกลาว จะมีมูลคาสูงถึง 558 พันลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนมูลคาการจําหนายเฉลี่ยประมาณ

1.5 พันลานเหรียญ ตอวัน

(4) โรงเรียน มหาวิทยาลัยและสถานศึกษา ปจจุบัน นักเรียนในสหรัฐฯ สวนใหญมักนํา

อาหารจากที่บานไปรับประทานที่โรงเรียนหรือสถานศึกษา จากจํานวนนักเรียนมุสลิมทีเ่พิม่ข้ึน ประกอบกบั

สถาบันการศึกษาในสหรัฐฯสวนใหญไมสามารถผลิตอาหารฮาลาลใหแกนักเรียนได ดังนั้นการนําเขา

อาหารฮาลาลเพื่อจําหนายในสถานที่ดังกลาว จึงเปนอีกหนึ่งชองทางการขยายตลาดอาหารฮาลาลใน

สหรัฐฯที่นาสนใจ โดยเฉพาะอาหารแชแข็ง หรืออาหารสําเร็จรูปซ่ึงจัดวาเปนที่นิยมอยูแลว เนื่องจากชาว

อเมริกันมักมีพฤติกรรมการบริโภคที่เนนความสะดวกเปนหลัก นอกจากนี้ยังอาจรวมถึงอาหารสะดวกซื้อ

ประเภทที่วางจําหนายอยูตามตู Vending Machine ตางๆ ดวย

37

Page 42: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

(5) เครื่องบินโดยสาร

แตเดิม สายการบินตางๆในสหรัฐ อาหารฮาลาลบรรจุลงในเมนูอาหารสําหรับผูโดยสาร

ยกเวนในกรณีที่ขอเปนพิเศษ ดังนั้นผูโดยสารชาวมุสลิมสวนใหญจึงตองรับประทานอาหารมังสวิรัติและ

ผลไมแทน โดยปจจุบัน พบวาบริษัทสายการบินสวนใหญได เร่ิมหันมาใหความสนใจกับการจําหนาย

อาหารดังกลาวแกผูโดยสารบนเครื่องมากขึ้น เชน United Airline, American Airline, Northwest Ailrline

เปนตน

สําหรับการดําเนินการในเรื่องดังกลาวของฝายไทย บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

ไดเปดใหมี “ครัวอาหารฮาลาล” ภายในสนามบินสุวรรณภูมิ เพื่อดําเนินงานดานการปรุงอาหารฮาลาล

สําหรับใหบริการแกผูโดยสารชาวมุสลิมบนเครื่องบินอยางเปนทางการ ภายใตการควบคุมดูแลของ

คณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย ทั้งนี้ โดยไดมีการจัดทําระบบการควบคุมการบริหารงาน

ภายในครัวฮาลาลดังกลาวออกเปนสัดสวนอยางชัดเจน ตั้งแตการแตงตั้งพนักงานชาวมุสลิม การจดัเตรยีม

สถานที่ผลิต การจัดซื้อและหาวัตถุดิบ การคัดเลือกสวนผสมและสารปรุงแตงในอาหาร การปรุงอาหาร

และการจัดบรรจุ เก็บรักษา และขนสง การทําความสะอาดและสุขอนามัยตางๆ จนกระทั่งนําขึ้นเสิรฟแก

ผูโดยสาร ที่ตองมีความเปนฮาลาลโดยตลอด โดยไดเปดบริการใหกับลูกคาสายการบินมุสลิมจํานวน 10

สายการบิน และสายการบินลูกคาอื่นๆ ที่ผูโดยสารขอมาและในเที่ยวบินระหวางประเทศทุกเสนทางของ

การบินไทย ที่ออกจากทาอากาศยานสุวรรณภูมิตามที่ผูโดยสารแจงความจํานงไวลวงหนา ตั้งแตวันที่ 1

มกราคม 2551 เปนตนมา ดังนั้น หากไทยสามารถผลักดันการจําหนายอาหารฮาลาลของครัวการบินไทย

ไปยังสายการบินของประเทศสหรัฐฯได ก็จะเปนอีกหนทางหนึ่งในการขยายตลาดสินคาอาหารฮาลาลไทย

ใหเปนที่รูจักในกลุมผูบริโภคชาวอเมริกันตอไป

3.3 กลุมสินคาอาหารฮาลาล ปริมาณความตองการบริโภคในตลาดสหรัฐอเมริกาและ แคนาดา

3.3.1 กลุมอุตสาหกรรมเนื้อสัตวปกและผลิตภัณฑ

สินคาเปาหมายและรูปแบบ : ไก แชแข็งแชเย็น แปรรูป พรอมรับประทาน

1) ภาพรวม

- สถิติการผลิตไกสงออกของโลก ในป 2549 บราซิลปริมาณการสงออกเนื้อไกเปน

อันดับหนึ่งของโลก ดวยปริมาณ 2.9 ลานตัน รองมาคือ ประเทศสหรัฐอเมริกา 2.4 ลานตัน สหภาพยุโรป 7

แสนตัน และไทยประมาณ 280,000 ตัน

38

Page 43: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- ปริมาณการบริโภคสัตวปกและผลติภัณฑ ตอหัวของประชากรโลก ในป 2548 เทากับ

73.6 ปอนดตอคน เนื้อไก 60.4 ปอนดตอคน

ตารางที่ 3.5 แสดงสถิติและปริมาณการบริโภคเนื้อไกของโลกในบางประเทศ 19

ลําดับที่

ประเทศ 2546 2547 2548 2549 2550 (p)

*2551(f) % สัดสวนป 51

1 สหรัฐฯ 12,540 13,080 13,430 13,784 13,657 14,005 22.48

2 จีน 9,963 9,931 10,088 10,371 10,010 11,570 18.57

3 EU (27) 1/ 7,739 7,613 8,082 7,718 7,885 7,940 12.74

4 บราซิล 5,742 5,992 6,612 6,853 7,200 7,450 11.96

5 เม็กซิโก 2,627 2,713 2,871 3,021 3,070 3,146 5.05

6 รัสเซีย 1,680 1,675 2,139 2,373 2,540 2,680 4.30

7 อินเดีย 1,496 1,648 1,899 2,000 2,200 2,400 3.85

8 ญี่ปุน 1,841 1,713 1,880 1,939 1,925 1,913 3.07

9 อารเจนตินา 719 845 949 1,123 1,154 1,249 2.00

10 แอฟริกาใต 928 956 1010 1,096 1,090 1,090 1.75

11 ไทย* 859 731 872 982 883 935 1.50

อื่นๆ 7,340 7,684 8,070 8,121 9,605 7,925 12.72

รวม 53,474 54,581 57,902 59,381 61,219 62,303 100.00 หนวย : พันตัน

ท่ีมา : USDA * อางถึงใน สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออกไทย (สถิติสินคาปศุสัตว มกราคม 2551) Update เมษายน 2550

หมายเหตุ : (p) Preliminary: ตัวเลขเบื้องตน; (f) forecast: ตัวเลขประมาณการ

- สําหรับตลาดโลก สหรัฐฯ เปนประเทศผูนําการสงออกเนื้อไกที่สําคัญอันดับที่สองของ

โลก รองจากประเทศบราซิล ที่สามารถเอาชนะสหรัฐฯ จนเปนผูสงออกเนื้อ ไกอันดับ 1 ของโลกไดตั้งแตป

2547 โดยมีประเทศคูคาที่สําคัญของสหรัฐฯ คือ รัสเซีย ฮองกง ญี่ปุน และเม็กซิโก มีสัดสวนการคาของ

ประเทศสหรัฐอเมริกากับ 4 ประเทศดังกลาวคิดเปนประมาณ 2 ใน 3 ของการคาทั้งหมด

- การสงออกเนื้อไกของประเทศ สหรัฐอเมริกา อาจแยกไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ ไก สด

ทั้งตัวแชเย็นหรือแชแข็ง เนื้อไกชําแหละเปนชิ้นสวน และผลิตภัณฑเนื้อไกแปรรูป

19 ERS/USDA

39

Page 44: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- ประเทศผูสงออกเนื้อไกรายอื่นที่สําคัญไดแก ประเทศจีน ซึ่งเปนคูแขงของไทยโดยตรง

โดยเฉพาะอยางยิ่งในตลาดประเทศญี่ปุน รองลงมาคือ สหภาพยุโรป และเม็กซิโก

2) สถานการณตลาดและแนวทางการแขงขันของไทย

ในบรรดากลุมอาหารฮาลาลสงออกของไทยทั้งหมด ผลิตภัณฑไกแชแข็งและแปรรูป ถือ

เปนสินคาสงออกสําคัญที่สุด และมีศักยภาพในการขยายตัวสูง เนื่องจากไทยเปนแหลงผลิตไกรายใหญ

แหงหนึ่งของโลก อยางไรก็ตาม ปจจุบันไทยยังไมสามารถสงออกเนื้อไกไปยังสหรัฐอเมริกาได โดย

แคนาดายังคงเปนประเทศผูครองสัดสวนตลาดปลิตภัณฑไกสดแชเย็น แชแข็งในสหรัฐฯมากที่สุด มี

ปริมาณการนําเขาในไกสดและแชเย็นในป 2550 ถึง 26,286 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มข้ึนเกือบเทาตัวจาก

ในป 2549 (รอยละ 99.4)

สําหรับประเทศแคนาดา ปจจุบันมี เพียง 3 ประเทศที่แคนาดาอนุญาตใหนําเขา

ผลิตภัณฑจากไก คือ สหรัฐอเมริกา บราซิลและไทย (ไกปรุงสุกและไกแชแข็ง) ซึ่งเดิมไกตมสุกถือเปน

สินคาปศุสัตวชนิดเดียวที่แคนาดาอนุญาตนําเขาจากไทย นั้น ปจจุบัน ไทยไดมีการเจรจาขอเปดตลาดไก

แชแข็งกับประเทศแคนาดาจนสําเร็จ และสามารถสงออกผลิตภัณฑแชแข็งไดเปนครั้งแรกในป 2550 มี

มูลคารวมทั้งสิ้น 153,465 เหรียญสหรัฐฯ ในสวนของการเปดตลาดการนําเขาไกปรุงสุกจากไทย

ภายใตระเบียบของ CFIA กําหนดใหไกปรุงสุกตองผานความรอนที่ 80 องศา C และ 74 องศา C เนื่องจาก

ประเทศไทยยังอยูในเขตของเชื้อโรค Newcastle ตองเปนโรงงานที่รับการตรวจสภาพโรงงานฆาไก และ

โรงงาน Process ไกปรุงสุก กอนสงออกไปยังแคนาดา และตองมีหนังสือรับรอง Sanitary Certificate จาก

กระทรวงสาธารณสุขประเทศผูสงออกกําหนดวาเปน Newcastle Free Zone) โดย ปจจุบัน มี 6 โรงผลิต

จาก 5 บริษัทที่ไดรับอนุญาต และชวงปลายป 2545 แคนาดาไดเดินทางมาตรวจโรงงานเพิ่มเติม อยางไรก็

ตามการสงออกไกตมสุกไปยังแคนาดามีนอยมากเนื่องจากเปนสินคาที่มีโควตาภาษี

ในสวนสถานการณการแขงขัน ไทยมีคูแขงที่ สําคัญในตลาดโลก คือ ประเทศ

สหรัฐอเมริกา ซึ่งแมวาจะเปนประเทศมีปริมาณความตองการบริโภคเปนอันดับหนึ่งในโลก แตก็มี

ศักยภาพในการผลิตเพื่อสงออกไดมีปริมาณมากไมแพกัน และถือเปนสินคาสําคัญที่ทํารายไดใหกับ

อุตสาหกรรมการสงออกสินคาปศุสัตวของสหรัฐฯ อยางมาก โดยสงออกชิ้นสวนไกและเครื่องใน แชเย็น

และแชแข็งไปยังแคนาดาและเม็กซิโกมากที่สุด ในสวนนี้จึงกลาวไดวาสหรัฐฯ เปนคูแขงของไทยโดยตรง

สําหรับตลาดสินคาดังกลาวในสําหรับตลาดในแคนาดา โดยเฉพาะ ไกแชแข็งซึ่งสหรัฐฯ มีขอไดเปรียบ

ดานการเปนประเทศคูคาที่ยาวนาน และยังคงมีสวนแบงในตลาดแคนาดาที่สูงกวาไทยอยูมาก (185 ลาน

40

Page 45: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

เหรียญฯ ในป 2550 ขยายตัวเพิ่มข้ึนจากป 2549 รอยละ 55.8) ในขณะที่ไทยเพิ่งเปดตลาดดังกลาวกับ

แคนาดาได ไมนาน ดังนั้น ในสวนนีจึงเหนวา การเรงปูเจรจาและใชกลยุทธการตลาดเพื่อเพิ่มปริมาณ

สงออก พรอมเรงพัฒนามาตรฐาน Halal – HACCP เพื่อเสริมภาพลักษณใหกับสินคาไกที่ผลิตจากประเทศ

ไทยตอกลุมผูบริโภคในแคนาดา จึงเปนมาตรการสําคัญที่ไทยควรเรงดําเนินการ เพื่อเพิ่มความนาเชอืถอืให

สินคาไกที่ผลิตจากประเทศไทยตอไป และอาจเปนการปูทางการสงออกไปยังสหรัฐฯในอนาคต ดวย

นอกจากนี้ ขอสังเกตอีกประการที่ไทยควรใหความสําคัญ คือเร่ืองของศักยภาพและกําลัง

การผลิต เนื่องจากปจจุบันไทยยังมีจํานวนโรงฆาสัตวปกเพื่อการสงออกที่นอย เมื่อเทียบกับโรงงานฆาสัตว

ปกเพื่อการบริโภคภายในประเทศ ซึ่งมีอยู 922 โรงงงาน โดยจากจํานวนโรงฆาสัตวปกเพื่อการสงออกที่

ผานการขึ้นทะเบียนกับกรมปศุสัตวทั้งสิ้น 25 โรงงาน มีโรงงานที่ไดรับรองฮาลาลไปแลวจํานวน 17

โรงงาน ซึ่งกรมปศุสัตว โดยความรวมมือของคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย อยูระหวางการ

เรงดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาในเรื่องดังกลาวอยู โดยเฉพาะการควบคุมโรงงานฆาสัตวและ โรงงานแปร

รูปเนื้อสัตวเพื่อการสงออกใหมีการผลิตที่เปนไปตามมาตรฐานดานสุขอนามัยและหลักการฮาลาล

ในสวนการสงออกไกและผลิตภัณฑไทยไปยังประเทศมุสลิม ไทยมีความคืบหนาที่สําคัญ

คือการไดรับเปดตลาดไกตมสุกไทยจากกลุมประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส (UAE) โดยสภาเทศบาลยูเอ

อี ไดมีมติรับรองตราฮาลาลของสํานักงานคณะกรรมการกลางอิสลามฯ แลว พรอมกับรับรองโรงเชือดไกที่

ถูกตองตามหลักศาสนาอิสลาม )ฮาลาล (จํานวน 24 โรงงาน และโรงงานแปรรูปเนื้อไก อีก 36 โรงงาน

ในขณะที่ โรงงานชองไทย ซึ่งในป 2550 นี้ คาดวาประเทศไทยจะสามารถสงออกเนื้อไกและผลิตภัณฑไป

ยังกลุมตะวันออกกลางไดไมต่ํากวา 10, 000 ตัน คิดเปนมูลคากวา 700 ลานบาท และปถัดไปคาดวา

มูลคาการสงออกจะเพิ่มสูงขึ้นถึง 3, 500 ลานบาท

3) ภาวะการบริโภคในตลาดอเมริกาเหนือ

สหรัฐอเมริกา ปริมาณการบริโภคสัตวปกและผลิตภัณฑตอหัวในป 2549 เทากับ 74

ปอนดตอคน เพิ่มขึ้นกวาสองเทาตัวในระยะสามสิบปที่ผานมา โดยจากรายงานของกระทรวงเกษตร

สหรัฐฯไดประมาณไววาภายในป 2013 ชาวสหรัฐฯจะบริโภคสัตวปกและผลิตภัณฑคิดเปนปริมาณ ถึง

108.9 ปอนดตอคน โดยเฉพาะสินคาเนื้อไก ซึ่งครองสัดสวนปริมาณความตองการบริโภคมากที่สุด มี

ปริมาณการบริโภคตอหัว ณ ป 2551 เทากับ 46.1 ปอนดตอคน ซึ่งมีสาเหตุมาจากความตองการที่เพิ่มข้ึน

ในธุรกิจบริการจัดเลี้ยงอาหาร (Catering) และธุรกิจบริการอาหารประเภทสะดวกซื้อ สินคาแบรนดเนม

หรือสินคาอาหารที่มีมูลคาเพิ่มข้ึน เปนตน

41

Page 46: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ตารางที่ 3.6 แสดงปริมาณการบริโภคเนื้อไกของประชากรในสหรัฐฯ ตั้งแต ป 2527-2551 (ปอนดตอคนตอป)

ป ปริมาณการ

บริโภคตอหัว ป ปริมาณการ

บริโภคตอหัว ป ปริมาณการ

บริโภคตอหัว ป ปริมาณการ

บริโภคตอหัว

2504 28 2515 41.7 2526 51.6 2537 71.3

25จถ 29.9 2516 39.9 2527 53.1 2538 72.4

2506 30.1 2517 39.7 2528 54.3 2539 72.9

2507 30.9 2518 39 2529 57.4 2540 77.5

2508 31.4 2519 39.1 2530 57.5 2541 77.9

2509 33.7 2520 42.8 2531 59.3 2542 77.6

2510 35.6 2521 44.9 2532 61.5 2543 81.9

2511 36.6 2522 48.3 2533 64 2544 83

2512 37.1 2523 48 2534 67.8 2545 85.4

2513 38.5 2524 49.4 2535 70.3 2546* 87.4

2514 40.3 2525 49.6 2536 71.1 2547* 89.1

*ประเมินการณ

ประเทศแคนาดา

- โดยเฉลี่ย ประเทศแคนาดามีมูลคาการคาสินคาเนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑฮาลาล

เฉลี่ยตอปอยูที่ประมาณ 200 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในจํานวนนี้ คิดเปนมูลคาการใชจายเพื่อการบริโภคใน

ครัวเรือนเฉลี่ยตอปอยูที่ประมาณ 1600 เหรียญสหรัฐตอหนึ่งครัวเรือน โดยเนื้อฮาลาล ถือเปนสินคาอาหาร

ฮาลาลหลักซึ่งชาวแคนาดานิยมบริโภคเปนปกติอยูแลว ทั้งนี้ โดยเฉลี่ย ประชากรในประเทศแคนาดามี

มูลคาการใชจายเนื้อและผลิตภัณฑฮาลาลโดยทั่วไปอยูที่ประมาณ 31 เหรียญตอ 1 สัปดาห คิดเปน

จํานวนเกือบสองเทาของมูลคาการใชจายดังกลาวสําหรับชนชาติอ่ืนในประเทศ ซึ่งอยูที่ประมาณ 17

เหรียญสหรัฐฯตอสัปดาหตอครอบครัว

- สําหรับการบริโภคภายในประเทศ กลุมสินคาเนื้อและผลิตภัณฑหลักที่ชาวแคนาดา

นิยมบริโภคสูงสุดไดแก เนื้อวัวและเนื้อไก คิดเปนประเภทเนื้อวัวสับละเอียด (Ground beef ) อัตรารอยละ

16 เนื้อติดกระดูก (bone-in beef) และไกทั้งตัว (Whole Chicken) รอยละ 15 โดยในป 2551 ชาวแคนาดา

บริโภคสัตวปกและผลิตภัณฑโดยรวมตอหัวมีปริมาณ 30.1 (13.4 กิโลกรัม) เพิ่มข้ึนจากในชวงสามสิบปที่

42

Page 47: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ผานมากวารอยละ 71 20 และคาดวาภายในป 2558 แคนาดาจะมีจะมีปริมาณการบริโภคสัตวปกและ

ผลิตภัณฑเฉล่ียตอหัวของประชากรมากกวาเนื้อวัวและเนื้อหมู สาเหตุจากความตองการใชบริโภคในธุรกิจ

บริการอาหาร สวนสินคาเนื้อประเภทอื่นๆที่ไดรับความนิยม ไดแก เนื้อวัวไมติดกระดูก รอยละ 12 อกไก

รอยละ 11 เนื้อสเตกและนองไก (Beef Steak and chicken Leg) รอยละ 10 กลุมผลิตภัณฑเนื้อที่ไดรับ

ความนิยมรองลงมาคือเนื้อแกะและเนื้อแพะ โดยจากการสํารวจพบวาผูบริโภคใหความสําคัญกับการเลือก

ซื้อเนื้อและผลิตภัณฑที่เปนฮาลาลมากกวาการคํานึงถึงปจจัยเรื่องราคาที่อาจแพงกวาเนื้อและผลิตภัณฑ

ทั่วไป ตารางแสดงปริมาณการบริโภคเนื้อไกตอคนตอปของประเทศที่สําคัญ

( กิโลกรัม /คน /ป (ลําดับ ประเทศ 2546 2547 2548 2549 (p) 2550

(f) 2551(f) ประชากร ป 2551

1 สหรัฐอเมริกา 43.2 44.6 45.4 46.2 45.4 46.1 303.8

2 บราซิล 31.5 32.5 35.5 36.4 37.9 38.8 191.9

3 มาเลเซีย 37.7 37.2 38.5 38.3 38 38 25.3

4 ซาอุดิอาราเบีย 35.7 34.3 38.1 35.4 35.7 35.3 28.2

5 อารเจนตินา 18.6 21.6 24 28.1 28.6 30.7 40.7

6 แคนาดา 29.2 29.6 29.4 29.7 30.2 30.1 33.7

7 เม็กซิโก 25.3 25.8 27 28.1 28.2 28.6 110

8 ไตหวัน 27.8 28.5 27.5 28.7 26.7 27.2 22.9

9 แอฟริกาใต 20.9 21.5 22.8 24.8 24.8 24.9 43.8

10 รัสเซีย 11.6 11.7 15 16.7 18 19 140.7

11 EU (27) 15.9 15.7 16.6 15.8 16.2 16.3 491.2

12 ญี่ปุน 14.5 13.5 14.8 15.2 15.1 15 127.3

13 ไทย * 14.1 10.6 14.3 14.9 14.2 14.7 63.4

14 จีน 7.7 7.6 7.7 7.9 8.3 8.7 1329.9

15 อินเดีย 1.4 1.5 1.7 1.8 1.9 2.1 1148

ที่มา : USDA ตุลาคม 2550 * สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออกไทย (สถิตสิินคาปศุสตัว มกราคม 2551) หมายเหตุ : จํานวนประชากร หนวยลานคน

20 Food Available for consumption in Canada – 2006. Statistic Canada.

43

Page 48: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

3.3.2 กลุมอุตสาหกรรมประมง

สินคาเปาหมายและรูปแบบ : อาหารทะเล ประเภท กุงแชแข็งแชเย็น ปลาทูนาแปรรูป

และกระปอง ปลาซารดีนกระปอง ปลาสดแชแข็งและกุงแชแข็ง

1) สถานการณการแขงขันของไทย

จัดเปนกลุมอาหารฮาลาลโดยธรรมชาติ เปนสินคาที่ไทยมีขอไดเปรียบอยูมากและสนิคาที่

ไทยมีศักยภาพในการผลิตและสงออก เนื่องจากมีพรอมดานแหลงวัตถุดิบและโรงงานผลิตโดยมีคูแขงที่

สําคัญ คือ ฟลิปปนส เวียดนาม อินโดนีเซียและจีนซึ่งเปนทั้งตลาดสงออกและคูแขงที่สําคัญ โดยมีคูแขงที่

สําคัญ คือ ฟลิปปนส เวียดนาม อินโดนีเซียและจีนซึ่งเปนทั้งตลาดสงออกและคูแขงที่สําคัญ สวนการ

สงออกอาหารไปยังกลุมประเทศมุสลิม ถือวามีมานานแลว แมวาจะมีปริมาณการสงออกไมมาก แตก็กมี

มูลคาเพิ่ม ข้ึนมาโดยตลอด เชน ตลาดตะวันออกกลาง นําเขา ปลาทูนาแปรรูปและกระปอง ปลาซารดีน

กระปอง ปลาสดแชแข็งและกุงแชแข็ง เปนตน

สําหรับตลาดในภูมิภาคอเมริกาเหนือซ่ึงมีสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเปนตลาดผูนําเขา

สินคาประมงที่ใหญที่สุดในโลก และถือเปนตลาดหลักในการสงออกผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูปของไทย

โดยในป 2550 สหรัฐฯนําเขาอาหารทะเลแปรรูปจากไทย มีมูลคารวมทั้งสิ้นกวา 412 ลานเหรียญฯ

เพิ่มขึ้นรอยละ 2.2 จากป 2549 สําหรับผลิตภัณฑอาหารทะเลที่ประเทศไทยสงออกไปยังตลาด

สหรัฐอเมริกา และครองตลาดไดมากที่สุดในโลกไดแก กุงสดแชแข็ง กุงกระปอง และปลาทูนากระปอง

สวนสินคาอื่น ๆ ที่สงออกไดมูลคาสูงไดแก ปูกระปอง เนื้อปลาแชแข็ง ปลาหมึกสดแชแข็ง ปลาซารดีน

กระปอง และปลาสดแชแข็ง สวนตลาดแคนาดาผลิตภัณฑอาหารทะเลที่ ประเทศไทยสงออกไดมูลคามาก

ไดแก ปลาทูนากระปอง กุงสดแชแข็ง ปลาหมึกสดแชแข็ง และปูกระปอง

ในป 2550 ไทยยังคงเปนประเทศผูสงออกกุงและปลาแปรรูปและกระปองอันดับหนึ่ง

ของสหรัฐฯ มีมูลคารวมกวา 1.67 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยแบงออกเปน เปนสินคากุงที่ปรุงแตงหรือทําไว

ไมใหเสีย จะบรรจุภาชนะหรือไมก็ตาม (Prepared or preserved shrimp and prawn) คิดเปนมูลคา

500,694 เหรียญฯ ลดลงประมาณรอยละ 9.1 จากป 2549 คิดเปนมูลคา 725,918 เหรียญฯ และกุงสดแช

เย็นแชแข็งทุกชนิดและกุงตมติดเปลือกและกุงแปรรูป (Cooked by steaming or boiling in water ,

Frozen) มีมูลคา 736,939 เหรียญสหรัฐฯ เพิ่มข้ึนจากป 2549 รอยละ 1.5 ในขณะที่เวียดนามซึ่งเปนผู

นําเขาอันดับสอง มีสัดสวนการสงออกกุงแชเย็นและแชแข็งไปยังตลาดสหรัฐฯ ในป 2550 เพิ่มข้ึนถึงรอยละ

44

Page 49: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

16.5 จากป 2549 สวนทูนาแปรรูป สหรัฐฯ มีมูลคาการนําเขาจากไทย 279,929 ลดลงเล็กนอยจากป

2549 รอยละ 2.0% มีคูแขงที่สําคัญ คือ ประเทศเอกวาดอร และฟลิปปนส

2) ภาวะการบริโภค

สหรัฐอเมริกา

- เปนประเทศที่มีปริมาณความตองการบริโภคอาหารทะเลสูงเปนอันดับที่สามของโลก

รองจากประเทศญี่ปุนและจีน โดยมีแนวโนมการขยายตัวปริมาณการบริโภคโดยรวมเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ

นับต้ังแตป 2545 เปนตนมา ในป 2549 สหรัฐฯ ปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑอาหารทะเลในโดยรวมกวา

4.9 ลานปอนด ในจํานวนนี้ คิดเปนสินคานําเขาจากตางประเทศรอยละ 83 มีประเภทสินคาที่ไดรับความ

นิยมบริโภคมากที่สุด คือ กุงสดและแชแข็ง มีปริมาณการบริโภคตอหัว 4.4. ปอนดตอคน เพิ่มข้ึนจากป

2548 ประมาณรอยละ 0.3

- ป 2549 สหรัฐฯ มีปริมาณการบริโภคอาหารทะเลเฉลี่ยตอหัว (สด แชแข็ง รมควันและ

ยาง) 16.5 ปอนด เพิ่มข้ึนจากป 2548 รอยละ 0.3 ปอนด และนิยมบริโภคอาหารทะเลในรูปแบบอาหาร

ทะเลสดและแชแข็ง (fresh and frozen) มากที่สุด เทากับ 12.3 ปอนดตอคน เพิ่มข้ึนรอยละ 0.7 จากป

2548 อาหารทะเลกระปอง 3.9 ปอนด (canned) ลดลง 0.4 ปอนดจากป 2548 และ อาหารทะเล

ประเภทรมควันหรือยาง (cured) ตามลําดับ21

- ปริมาณการบริโภคเฉลี่ยตอป: มีการบริโภคตอปอยางนอยหนึ่งครั้งตอหนึ่งครัวเรือน คิด

เปนการบริโภคภายในครัวเรือนรอยละ 65 และการบริโภคตามภัตตาคารรานอาหารตางๆ รอยละ 83 จาก

จํานวนครัวเรือนทั้งหมด

- ปริมาณการบริโภคตอหัวของประชากรเฉลี่ยระหวางป 2545-2549เทากับ 14.66 ปอนด22 สินคาที่นิยมบริโภคมากที่สุด คือ กุงสดแชแข็ง ในป 2549 มีเฉลี่ยอัตราการบริโภคตอหัว 4.4 ปอนด

เพิ่มข้ึนประมาณ 0.3 ปอนดจากป 2548

21 2004 Seafood Consumption Statistics. “Fisheries of the United States, 2004” . NOAA - National Oceanic and Atmospheric Administration. U.S. Department of Commerce 22 NOAA Fisheries - National Marine Fisheries Service.

45

Page 50: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ตารางที่ 3.3: เปรียบเทียบปริมาณการบริโภคสินคาอาหารทะเลของผูบริโภคในสหรัฐฯ ระหวางป 2545-2549 แบงตามรายสินคา 23

- ประเภทผลิตภัณฑ –

อัตราการบริโภค (ปอนดตอป) ประเภทสินคา

2549 2548 2547 2546 2545 รวม

กุง 4.4 4.1 4.2 4 3.7 20.4

ทูนากระปอง 2.9 3.1 3.3 3.4 3.1 15.8

ปลาแซลมอน 2.026 2.43 2.154 2.219 2.021 10.85

Pollock 1.639 1.47 1.277 1.706 1.557 7.649

ปลานิล (Tilapia) 0.996 1.03 1.091 1.137 1.103 5.357

ปลาดุก (Catfish) 0.969 0.85 0.696 0.644 0.658 3.817

ปู 0.664 0.64 0.626 0.609 0.568 3.107

ปลาคอด (Cod) 0.505 0.57 0.603 0.541 0.545 2.764

หอย (Clam) 0.44 0.44 0.471 0.525 0.401 2.277

Scallops 0.305 0.37 0.332 0.33 0.317 1.654

Shellfish 0.4 0.4 0.4 0.4 0.2 1.8

ปลาซารดีน 0.2 0.1 0.1 0.1 0.01 0.51

รวม 15.444 15 14.418 15.111 13.97 73.943

- รูปแบบผลิตภัณฑ -

ชนิดสินคาและปริมาณการบริโภค ป

Fillet and Steak Stick and Portion Fresh and

Frozen Canned Cured

2002 4.1 0.8 11 4.3 0.3

2003 4.3 0.7 11.4 4.6 0.3

23 NOAA Fisheries - National Marine Fisheries Service. www.noaa.gov

46

Page 51: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

2004 4.6 0.7 11.8 4.5 0.3

2005 5 0.9 11.6 4.3 0.3

2006 5.2 0.9 12.3 4.9 0.3

กราฟ 3.4 แสดงอัตราการบริโภคอาหารทะเลของผูบริโภคในสหรัฐฯเฉลี่ยตอป แบงตามปจจัย ดานเชื้อชาติ พ้ืนที่อาศัย และฐานรายได 24

0

10

20

30

40

50

60

70

80

w hite Black Hispanic Other

เช้ือชาติ

0

10

20

30

40

50

60

70

80

< $25,000 <$ 25,000- 49,000 <$50,000-74,999 <$ 75,000

ฐานรายไดประชากร

24 National Seafood Survey, NOAA's National Marine Fisheries Service, Office of Science and Technology, 2000

47

Page 52: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

70

6566

60

54

56

58

60

62

64

66

68

70

72

Northeast South West Midw est

พ้ืนที่

จากกราฟที่ 3.4 ดังกลาวแสดงใหเห็นวา กลุมผูบริโภคของสหรัฐฯ ที่มีการจับจายซือ้สินคา

อาหารทะเลจากธุรกิจคาปลีก สวนใหญมาจากผูบริโภคจากเชื้อชาติอ่ืนๆ ที่ไมใชชาวอเมริกัน ผิวขาว ผิวดํา

หรือ Hispanic เชน ผูบริโภคชาวเอเชียหรือPacific –Islander ซึ่งสวนใหญเปนกลุมชนที่มีฐานรายไดสูง

และเปนกลุมผูบริโภคที่อาศัยอยูทางแถบตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ (นิวยอรก นิวเจอซี เพนซิลเว

เนีย แมสซาชูเซสส เวอรมอนท นิวแฮมเชียร เมน คอนเนคติคัท เปนตน)

ประเทศแคนาดา

- มีอัตราเฉลี่ยการบริโภคอาหารทะเลตอหัวของประชากร 50 ปอนดตอคนตอป (Fisheries

and Ocean Canada, 2546) โดยสินคาอาหารทะเลที่วางจําหนายในประเทศสวนใหญประมาณ 2 ใน 3

มาจากธุรกิจการคาปลีกในประเทศ ซึ่งมีมูลคาการซื้อขายกวา 2 พันลานเหรียญฯ ตอป ที่เหลือมาจากการ

จําหนายโดยธุรกิจภัตตาคารรานอาหารธุรกิจบริการอาหารประเภทอื่นๆ ประมาณรอยละ 3025

- พฤติกรรมการบริโภค : มีแนวโนมยอมจายเงินเพื่อซ้ือผลิตภัณฑอาหารทะเลที่มี

คุณภาพสูงกวาปกติมากขึ้น เนื่องจากกระแสการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพและแนวโนมการรับเอา

วัฒนธรรมการปรุงอาหารตามแบบ Ethnic Food และพบวาในป 2550 ชาวแคนาดามีปริมาณการสินคา

อาหารทะเลประเภท freshwater เพิ่มข้ึนจากในชวงสิบปที่ผานมาถึงรอยละ 47.826

25 Food for thought, Strategic Information Service, Food and Drink Market, 2007 Edition 26 Food Statistic 2007. Statistic Canada.

48

Page 53: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- โดยในชวงระหวางป 2542-2546 มีปริมาณการบริโภคอาหารทะเลโดยรวมคอนขางคงที่

และมีปริมาณการบริโภคเฉลี่ยตอหัวตอป ระหวางป 2545-2546 ประมาณ 3.18 ปอนด เพิ่มข้ึนรอยละ 20

จากปกอน

3.3.3 กลุมอุตสาหกรรมธัญพืชและผลิตภัณฑ: ขาวและขาวสาลี

เปนกลุมสินคานําเขาอันดับหนึ่งของกลุมประเทศ OIC โดยมีผูสงออกที่สําคัญ คือ ไทย

จีน อินเดีย และเปนสินคาอาหารสงออกอันดับหนึ่งของไทยในตลาดสหรัฐฯ และแคนาดา โดยมีคูแขงที่

สําคัญคือ อินเดียและจีน อยางไรก็ตาม ในชวง 5 ที่ผานมา สหรัฐฯมีแนวโนมนําเขาขาวจากไทยเพิ่มข้ึน

โดยในป 2550 สหรัฐฯ นําเขาขาวจากไทย ประมาณ 217 ลานเหรียญ มีสัดสวนเพิ่มข้ึนจากป 2549 รอยละ

18.9 ในขณะที่แคนาดาก็มีขาวเปนสินคาอาหารนําเขาอันดับหนึ่งจากประเทศไทย คิดเปนมูลคาในป 2550

ประมาณ 46.9 ลานเหรียญฯ คิดเปนสัดสวนเพิ่มข้ึนจากป 2549 รอยละ 18.9 นอกจากนี้ สหรัฐฯ ยังเปน

ประเทศที่มีปริมาณความตองการบริโภคขาวและธัญพืชและผลิตภัณฑสูง และมีแนวโนมความตองการ

บริโภคเพิ่มข้ึนทุกป

สหรัฐอเมริกา - โดยรวม มีปริมาณการบริโภคธัญพืชและผลิตภัณฑ (Cereal) ภายในประเทศ ณ ป

2548 เพิ่มข้ึน จากในชวงสามสิบปที่ผานมาคิดเปนอัตรารอยละ 41 มีปริมาณการบริโภคเฉลี่ยตอหัวของ

ประชากร 192 ปอนดตอคนตอป เพิ่มข้ึน 56 ปอนด จากป 2540 โดยกลุมสินคาที่ไดรั

บความนิยมบริโภค

มากที่สุดไดแก ขาวโพด (เชนขนมขบเคี้ยว เปนตน) สวนขาวสาลีและผลิตภัณฑ ( White and Whole

Wheat-wheat flour) ขาวเจา (rice) และผลิตภัณฑจากแปงดูรัม เชน เสนพาสตา เปนตน ในขณะที่

ปริมาณการบริโภคขาวและขาวโพดเพิ่มข้ึนเกือบสามเทาตัวจากป 2540 27

- พฤติกรรมการบริโภค พบวาสวนใหญยังคงนิยมบริโภคธัญพืชและผลิตภัณฑชนิดเมล็ด

ขัดสี (Refined grain) มากกวาปริมาณที่แนะนําใหบริโภคตอวันประมาณสองเทา ในขณะที่บริโภคสินคา

ธัญพืชทั้งเมล็ด (Whole grain) ซึ่งมีคุณคาทางอาหารมากกวาตามคําแนะนําของ American Dietary

Guideline เพียงหนึ่งในสามของปริมาณทั้งหมดที่แนะนําใหบริโภคตอวัน

27Hodan Farah Wells.Jean C. Buzby. Dietary Assessment of Major Trends in U.S. Food Consumption, 1970- 2005. USDA

Economic Research Service (ERS) ’s Food Availability Data

49

Page 54: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

แคนาดา มีแนวโนมไดรับความนิยมบริโภคเพิ่มข้ึน โดยในป 2549 มีปริมาณการบริโภคธัญพืชและ

ผลิตภัณฑมากถึง 134.6 ปอนดตอคน สินคาที่นิยมบิรโภคไดแก เสนพาสตา ผลิตภัณฑเบเกอรี่และขนบขบ

เคี้ยว (cereal-based snack)

3.3.4 ผักผลไมสด แชเย็นแชแข็งและแปรรูป

จากกระแสความตื่นตัวในเร่ืองการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของผูบริโภคทั่วโลกที่มีทีทา

วาจะเพิ่มมากยิ่งขึ้นทุกป ทําใหผลิตภัณฑประเภทผลไมและผักซึ่งไดรับความนิยมบริโภคมากเปนอันดับ 1

และอาจจัดเปนอาหารฮาลาลไดโดยธรรมชาติ มีปริมาณผลผลิตไมเพียงพอกับความตองการ ในบาง

ประเทศที่เปนทั้งผูผลิตและผูสงออกรายสําคัญของโลกตองทําการขยายการผลิตทั้งในสวนของการเพิ่ม

พื้นที่เพาะปลูกและในบางครั้งจําเปนตองนําเขาวัตถุดิบจากแหลงอ่ืนเพิ่มข้ึนเพื่อตอบสนองความตองการ

บริโภคในประเทศเปนจํานวนมากประเทศไทยเปนอีกหนึ่งประเทศทั่วโลกที่มีการผลิตผลไมเมืองรอน

หลากหลายชนิด เนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่เอื้ออํานวยทําใหมีผลผลิตออกสูตลาดตลอดทั้งป เชน

ทุเรียน ลําไย มะมวง มังคุด สับปะรด กลวยไข สมโอ เงาะ สมเขียวหวาน มะละกอ และฝร่ังเปนตน

นอกจากจะเปนการผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศแลวนั้นไทยยังมีศักยภาพในการสงออกผลไมและ

ผลิตภัณฑแปรรูปอีกดวย ซึ่งกําลังไดรับความสนใจและเริ่มเปนที่นิยมของชาวตางชาติมากยิ่งขึ้น ใน

อนาคตคาดวาอุตสาหกรรมผลไมของไทยจะยังคงเติบโตไดอีกและกาวสูสากลมากยิ่งขึ้นเนื่องจากชองวาง

ของตลาดยังคงมีอีกมากที่ไทยจะขยายสวนแบงการตลาดและความเปนเอกลักษณของสินคาไทยที่มีความ

แตกตางจะเปนสิ่งชวยกระตุนตลาดได

สหรัฐอเมริกา เปนประเทศผูสงออกผลไมและผลิตภัณฑผลไมแปรรูปรายใหญแหงหนึ่ง

ของโลก ปจจุบันแมวาการผลิตผลไมและผลิตภัณฑผลไมเพื่อการสงออกของสหรัฐฯ จะมีสัดสวนไมมาก

นักเมื่อเทียบกับการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ แตการสงออกผลไมและผลิตภัณฑผลไมของสหรัฐฯ มี

มูลคาสูงถึงกวา 3,500 ลานดอลลารสหรัฐฯ ในแตละป (คิดเปนรอยละ 7 ของมูลคาสงออกสินคาเกษตร

ทั้งหมดของสหรัฐฯ) สําหรับผลไมและผลิตภัณฑผลไมสงออกของสหรัฐฯ ที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจักและเปนที่

นิยมอยางมากในตลาดโลก ไดแก แอปเปล สม และน้ําผลไมประเภทตางๆ

สําหรับประเทศไทย ผลไมและผลิตภัณฑผลไมแปรรูปนําเขาจากสหรัฐฯ ครองสวนแบง

ตลาดเปนอันดับหนึ่ง มาโดยตลอด ในป 2543 ไทยนําเขาผลไมและผลิตภัณฑผลไมแปรรูปจากสหรัฐฯ

เปนมูลคาราว 42 ลานดอลลารสหรัฐฯ โดยเฉพาะแอปเปล ซึ่งเปนผลไมที่ไทยยังไมมีการผลิตในเชิง

พาณิชย เนื่องจากตนทุนการผลิตสูง อีกทั้งสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศของไทยไมเอ้ืออํานวยตอการ

50

Page 55: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

เพาะปลูก สําหรับผลไมสําคัญประเภทอื่นๆ ที่ไทยนําเขาจากสหรัฐฯ ไดแก แพร พรุน ลูกเกด เปนตน

- ภาวะการบริโภคโดยรวม : มีการบริโภคผักและผลไมมากขึ้นในชวงสามทศวรรษที่ผาน

มา โดยในป 2548 ชาวอเมริกันมีปริมาณการบริโภคผักและผลไม )สดและแปรรูป (โดยเฉลี่ยตอหัวคนละ

687 ปอนดตอป เพิ่มข้ึนจากป 2513 ประมาณรอยละ 19 สินคาที่นิยมบริโภคสวนใหญ ไดแก ผลไม

ประเภท non-citrus เชน แอปเปล กลวย และองุน และผัก ไดแก มะเขือเทศ หอมหัวใหญ และผักกาดหอม

(leafy lettuce)

- จากรายงานการศึกษาปริมาณการบริโภคสินคาผักและผลไมของหนวยงาน Centers

for Disease Control and Prevention US Department of Health and Human Service (DHHS) ซึ่งได

ทําการสงแบบสอบถามสุมสํารวจกลุมผูบริโภคที่เปนผูใหญในสหรัฐฯประมาณกวา 300,000 จากใน 50

มลรัฐ พบวา กวารอยละ 32.6 บริโภคผลไมมากกวาสองครั้งตอวัน และสวนใหญกลุมผูบริโภคเชื้อชาติ

Hispanic และรอยละ27.2 บริโภคผักอยางนอยสามครั้งตอวัน สวนใหญเปนชนผิวขาวชาวอเมริกัน

สําหรับประเทศแคนาดามีแนวโนมอัตราการบริโภคผักและผลไมโดยรวมคงที่ โดยมีปริมาณการ

บริโภคตอหัวณ ป 2548 37.6 ตอคน เพิ่มข้ึนจากในรอบสิบปที่ผานมา รอยละ 12 สินคาที่นิยมบริโภคมาก

ที่สุด ไดแก แอปเปล กลวยและองุน มะมวง มะนาว มะละกอ และสัปปะรด และมีปริมาณการบริโภคผลไม

แปรรูปตอคน (กระปอง แชแข็ง แหง) ในป 2549 เพิ่มข้ึนกวารอยละ 5.2 จากใชชวงสิบปที่ผานมา 3.4 ระเบียบกฏเกณฑและมาตรการที่เกี่ยวของกับสินคาอาหารฮาลาล

3.4.1 สหรัฐอเมริกา

หนวยงานของรัฐบาลสหรัฐฯ มิไดมีประกาศใชกฏหมายกลางเพื่อควบคุมการผลิตสินคา

อาหารฮาลาล รวมทั้งมิไดรวบรวมขอมูลการนําเขาผลิตภัณฑอาหารฮาลาลโดยเฉพาะ หรือจัด

ทําการศึกษาสภาวะการตลาดของสินคาอาหารชนิดนี้ เนื่องจากผูนับถือศาสนาอิสลามในสหรัฐฯ มีจํานวน

นอยมากเมื่อเทียบกับผูนับถือศาสนาคริสต ดังนั้น โครงสรางภาษี กฏเกณฑ และมาตรการที่เกี่ยวกับ

สินคาอาหารฮาลาลในปจจุบันจึงไมแตกตางจากสินคาอาหารทั่วไป และในการนําเขาหรือสงออกสินคา

อาหารฮาลาล ยอมตองเปนไปตามกฏ ระเบียบหรือมาตรฐานตางๆที่บังคับใชอยูในปจจุบัน หากวาสินคา

นั้นๆ เขาขายประเภทที่ตองปฏิบัติตาม

อยางไรก็ตาม บางมลรัฐไดมีการประกาศใชกฎหมายเกี่ยวกับการใชคําวาฮาลาลบน

สินคาที่เรียกวา Halal Food Consumer Protection Act โดยมีจุดประสงคเพื่อใชควบคุมอุตสาหกรรมการ

ผลิตสินคาอาหารฮาลาล และเพื่อคุมครองสิทธิของผูบริโภคเกี่ยวกับ โดยมลรัฐ New Jersey เปนมลรัฐ

51

Page 56: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

แรกในสหรัฐฯ ที่มีการประกาศใชกฎหมายดังกลาว ดังกลาวไปแลวจํานวนทั้งสิ้น 6 มลรัฐ ไดแก มลรัฐ

New Jersey, Illinois, Minnesota, California, Michigan และ New York โดยสรุปสาระสําคัญของ

กฏหมายดังกลาวไดดังนี้

- เพื่อใชปองกันการหลอกลวงผูบริโภคเรื่องการจัดเตรียม การจําหนาย และจายแจก

สินคาที่มีการกลาวอางหรือใชคําวา “ฮาลาล” บนสินคา

สหรัฐฯ ไดกําหนดมาตรการการนําเขาสินคาอาหารหลายประเภท ทั้งมาตรการทางดาน

ภาษีและมาตรการที่มิใชภาษี (Non – Tariff measure) สามารถสรุปไดดังนี้

มาตรการภาษีศุลกากร

สหรัฐฯ เรียกเก็บภาษีสินคาอาหารนําเขาจากทุกประเทศ โดยอัตราภาษีศุลกากรใน

ปจจุบันสําหรับสินคาอาหารทั่วไปอยูระหวางรอยละ 0 – 15

มาตรการที่มิใชภาษีศุลกากร

ที่สําคัญ ไดแก การควบคุมความปลอดภัยอาหารทางดานสุขอนามัย และโรคพืชสัตว โดย

มีหนวยงานหลักที่ทําหนาที่ดูแลในเรื่องดังกลาวที่สําคัญ คือ คณะกรรมการอาหารและยา (Food and

Drug Administration: FDA) ภายใตการดูแลของ กระทรวงสาธารณสุข (U.S. Department of Health

and Human Services: HHS) กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (U.S. Department of Agriculture: USDA) และ

หนวยงานหนวยงานคุมครองสิ่งแวดลอม (Environmental Protection Agency: EPA)

(1) คณะกรรมการอาหารและยา (Food and Drug Administration: FDA

รับผิดชอบดูแลและกําหนดกฏระเบียบเร่ืองความปลอดภัยของอาหาร และผลิตภัณฑ

อาหารทุกชนิด รวมถึงอาหารสัตวและสัตวที่มนุษยใชในการบริโภค ทั้งที่ผลิตภายในประเทศและนําเขา

รวมถึงการปดฉลากยา เครื่องสําอาง และอุปกรณการแพทยตางๆ ยกเวน ผลิตภัณฑเนื้อสัตว สัตวปก ไข

แชเยือกแข็งและไขอบแหง การปดฉลากเครื่องดื่มแอลกอฮอลและยาสูบ และผลิตภัณฑอ่ืนใดที่อยู

ภายใตอํานาจการดูแลของหนวยงาน Food Safety and Inspection Service (FSIS/USDA) โดยอาศัย

อํานาจภายใตกฏหมายที่สําคัญ 3 ฉบับ คือ-

1. บทบัญญัติอาหาร ยา และเครื่องสําอางของรัฐบาลกลาง (The Federal Food Drug

and Cosmetic Act of 1938: FFDCA)

กําหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยอาหาร การปดฉลากสินคาอาหาร รวมทั้ง

มาตรฐานตางๆ เพื่อใชควบคุมสินคาอาหารเพื่อใหแนใจวา สินคานั้นสะอาด มีคุณคาสมบูรณ ปลอดภัย

52

Page 57: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

และผลิตภายใตสภาพที่ถูกสุขลักษณะ โดยใหอํานาจ FDA ในการหามนําเขาสินคาที่อาจกอใหเกิด

อันตรายหรือไมเปนธรรมตอผูบริโภคของสหรัฐฯ ในกรณีดังตอไปนี้

- สินคาอาหารที่ผลิตภายใตสภาพที่ไมถูกสุขลักษณะ ( Under unsanitary

condition)

- สินคาอาหารที่มีส่ิงแปลกปลอมตกคางที่อาจเปนอันตรายตอผูบริโภค

(Adulterated Food)

- สินคาอาหารที่มีการปลอมแปลงตราหรือยี่หอสินคา หรือมีขอความ รูปแบบ

หรือรูปภาพของสินคาปรากฏบนฉลากที่เปนเท็จ หรือทําใหเขาใจผิด

(Misbranded Food)

2. กฎหมายวาดวยการบรรจุหีบหอและการปดฉลากสินคา (Fair Packaging Act 5

U.S.C. 1451-1461) ควบคุมการปดฉลากสินคาอาหารและการบรรจุหีบหอวา จะตองตรงตามความเปน

จริงเปนประโยชนเชิงแนะนํา และไมหลอกลวง

3. กฏหมายเกี่ยวกับฉลากอาหารและโภชนาการ ( Nutrition Labeling and Education

Act : Public Law 103-80 , 103nd Congress, H.R. 2900) กําหนดใหสินคาอาหารตองมีการระบุ

สวนประกอบดานโภชนาการ

4. ระเบียบการนําเขาสินคาของ FDA

FDA อาศัยอํานาจการนําเขาภายใตกฎหมายดังกลาวขาวตน ประกาศกฎระเบียบใน

การควบคุมสินคาอาหารนําเขาตางๆ เพื่อใหสอดคลองกับกฏหมายดังกลาว รายละเอียดปรากฏใน Code

of Federal Regulations, Title 21, Chapter 1, Part 1-199

กฏระเบียบควบคุมการนําเขาสินคาอาหารของสหรัฐฯ ที่สําคัญมีดังนี้

1. ระเบียบการปดฉลากอาหาร (Food Labeling, 21 CFR Part 101) กําหนดรายละเอยีด

การปดฉลากและการแสดงขอมูลบนฉลากอาหาร รวมทั้งการแสดงขอมูลทางดานคูณคาทางโภชนาการ

ของฉลากสินคาอาหารตางๆ

2. ระเบียบเกี่ยวกับสีผสมอาหาร (Color Additives, 21 CFR Part 70) กําหนดชนิดสีผสม

อาหารที่ไมเปนอันตรายตอผูบริโภค

3. ระเบียบเกี่ยวกับการใชสารปรุงแตงอาหาร (Food Additives, 21 CFR 170) กําหนด

สวนผสมของอาหารที่ไมเปนอันตรายตอผูบริโภค (Generally Regarded as Safe, GRAs substance)

53

Page 58: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

4. ระเบียบ Low- Acid Canned Food (21 CFR Part 108, 113 และ 114) กําหนดสินคา

อาหารกระปอง Low- Acid (PH มากกวา 4.6) เชนสินคาอาหารทะเลกระปอง น้ําสับปะรดกระปอง

จะตองจดทะเบียนโรงงานผลิต รวมทั้งขั้นตอนการผลิตของสินคากอนที่จะมีการนําสินคาเขามาเพื่อ

จําหนายในสหรัฐฯ

5. ระเบียบการวิเคราะห ประเมินและควบคุมข้ันตอนการผลิตภายใตระบบวิเคราะห

อันตรายและจุดวิกฤติที่ตองควบคุม (Hazard Analysis and Critical Control Point: HACCP: 21 CFR

Part 123) กําหนดใหผูผลิตสินคาอาหารประเภท เนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑ (USDA) ผลิตภัณฑ

ประมง และผลิตภัณฑน้ําผักผลไม (FDA) ตองปฏิบัติตามระเบียบ HACCP ที่ระบุไวสําหรับสินคาแตละ

ชนิด

6. ระเบียบหลักปฏิบัติที่ดีและเหมาะสมในดานการผลิต Current Good Manufacturing

Practice (GMP; 21 CFR Part 110) กําหนดเกณฑและมาตรฐานสําหรับหลักการปฏิบัติที่ดีของ

โรงงานผลิตในการผลิตสินคาอาหาร ไมวาจะเปนการควบคุมความสะอาดดานตางๆ ระบบสุขอนามัย

ของกระบวนการผลิต ระบบสุขาภิบาลและการควบคุมกระบวนการผลิต การเก็บรักษา การจําหนาย และ

การขนสงสินคาอาหาร เปนตน

7. ระเบียบการนําเขาสินคาภายใตกฏหมายการเตรียมความพรอมและการปองกันการกอ

การรายทางชีวภาพ (The Public Health Security and Bioterrorism Preparedness and Responses

Act of 2002) ซึ่งมอบอํานาจใหแก USDA และ FDA ในการดําเนินการออกกฏ ระเบียบและมาตรการ

ตางๆ โดยเฉพาะดานการจัดการสุขอนามัยในกระบวนการขนสงสินคาเกษตร อาหารและยาให

ผูประกอบการหรือผูสงออกปฏิบัติตาม เพื่อใหแนใจวาสินคาอาหารที่ผลิตในประเทศและนําเขาของสหรัฐฯ

มีความปลอดภัยปราศจากสิ่งเจือปนหรือส่ิงแปลกปลอมซึ่งผูกอการรายอาจใชเปนอาวุธในการโจมตี

สหรัฐฯประกอบไปดวยระเบียบหลักที่สําคัญ 4 ประการไดแก การกักกันสินคา การขึ้นทะเบียนสถานที่

ประกอบการอาหาร การเก็บรักษาประวัติขอมูลสินคาอาหาร และการแจงขอมูลสินคานําเขาอาหาร

ลวงหนา

(2) กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ( U.S. Department of Agriculture : USDA)

ภายใตกฎหมาย The Federal Meat Inspection Act, the Poultry Products

Inspection Act, The Egg Product Inspection Act (21 USC 601, 21 USC 451) USDA ไดมอบหมาย

ใหหนวยงานบริการตรวจสอบความปลอดภัยดานอาหาร หรือ Food Safety and Inspection Service

((FSIS) ทําหนาที่หลักในการดูแล ตรวจสอบความปลอดภัยของผลิตภัณฑเนื้อสัตว สัตวปก และไข ทั้งที่

54

Page 59: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

คาขายในสหรัฐฯ และที่นําเขาวามีความสะอาด ปลอดภัย ปราศจากการปนเปอน และมีการแสดงขอมูล

ของอาหารอยางถูกตองตามระเบียบเรื่องการปดฉลากอาหาร และ หนวยงานบริการตรวจสอบสุขภาพพืช

และสัตว หรือ The Animal Plant Health and Inspection Service (APHIS) ทําหนาที่ดูแลควบคุม และ

บังคับใชระเบียบการนําเขาสงออกพืชและสัตว รวมทั้งผลิตผลทางการเกษตรบางชนิด ภายใตอํานาจ

กฎหมาย Plant Quarantine Act of 1912 (42 USC 264)

ระเบียบการนําเขาสินคาเกษตรและอาหารที่บังคับใชโดย USDA

1. ระเบียบการควบคุมโรคพืชและสัตว ภายใตระเบียบ Title 7 , Code of Federal Regulations, Part 319 ( 7 CFR part 319) และระเบียบ Title

9, Code of Federal Regulations, Part 94 ( 9 CFR part 94) ของหนวยงาน APHIS ใชควบคมุการนาํเขา

พืช สัตว ผักและผลไมสด เนื้อสัตว และสัตวปก ที่อาจกอใหเกิดโรคระบาด เชน Fruit flies , Salmonella

เปนตน

2. ระเบียบควบคุมความปลอดภัยดานสุขอนามัย

นอกจากระเบียบการควบคุมโรคสัตวสําหรับสินคาเนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑแลว

ภายใตระเบียบ Title 7 , Code of Federal Regulations, Part 59 ( 7 CFR part 59) และ Title 9 , Code

of Federal Regulations, Part 381 ( 9 CFR part 381) ของหนวยงาน FSIS ที่สหรัฐฯ ใชเพื่อการควบคุม

การนําเขาสินคาเนื้อสัตว และสัตวปก เพื่อควบคุมความปลอดภัยดานสุขอนามัย โดยแบงเปน 3 ลักษณะ

คือ

การควบคุมความปลอดภัยดานการผลิต จะตองผานขั้นตอนการผลิตที่มีการควบคุม

ทางดานสุขอนามัย (Sanitation) ทีเทียบเทากับมาตรฐานของสหรัฐฯ เชน การควบคุมความสะอาด

อุณหภูมิ ความชื้นของกระบวนการผลิต รวมทั้งการควบคุมส่ิงตกคาง หรือสารเจือปน (Residues) ตางๆ

ดวย

การปดฉลากสินคา โดยตองมีการแสดงขอมูลที่สําคัญบนฉลากสินคา เชน แหลงผลิต

สวนผสม และคุณคาทางโภชนาการ เปนตน

การตรวจสอบคุณภาพ ภายใตระเบียบ HACCP ที่กําหนดใหผูผลิตสินคาอาหารตอง

ตรวจสอบคุณภาพโดยวิเคราะหข้ันตอนการผลิตที่อาจกอใหเกดิเชื้อโรค และสิ่งปนเปอนในกระบวนการ

ผลิต ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค และจัดทําแผนปองกันที่เปนที่ยอมรับ และเปนไปตามระเบียบ

มาตรฐานสุขอนามัย เพื่อปองกันอันตรายดังกลาว

55

Page 60: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

(3) หนวยงานคุมครองสิ่งแวดลอม (Environmental Protection Agency: EPA)

มีหนาที่ในการดูแลคุมครองสุขภาพของประชาชนและการคุมครองความปลอดภัยของ

ประเทศทางดานสิ่งแวดลอม โดยการดําเนินการศึกษาวิจัยเพื่อหามาตรการสําหรับคุมครองดาน

ส่ิงแวดลอมของประเทศ ควบคุมและกําหนดระดับสารเคมีตกคางสูงสุดที่อนุญาตใหมีไดในสินคาเกษตร

และอาหารทุกชนิด ยกเวน เนื้อสัตวและสัตวปก รวมทั้งการกําหนดมาตรฐานคุณภาพและควบคุมการใช

สารเคมีในน้ําดื่ม เปนตน โดยมีกฏหมายสําคัญที่ใหอํานาจ คือ Federal Insecticide, Fungicide and

Rodenticide Act (7 USC 135) และ ระเบียบเกี่ยวกับการใชยาปราบศัตรูพืช (19 CFR 12, 40 CFR 162)

3.4.2 ประเทศแคนาดา

(1) หนวยงานดานความปลอดภัยอาหาร

เชนเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดาไดกําหนดโครงสรางการดูแลและจัดการระบบ

การรักษาความปลอดภัยอาหารภายในของประเทศ ภายใตการกอตั้งหนวยงานจากภาครัฐ ตางกันที่

ประเทศแคนาดา มีการรวมหนวยงานที่เกี่ยวของเปนหนวยงานเดียวกัน เพื่อทําหนาที่ในเร่ืองดังกลาว

ทั้งหมด โดยเปนระบบที่เกิดจากการรวมตัวของหนวยงานภาครัฐ 4 หนวยงาน คือ กระทรวงเกษตรและ

อาหาร (Ministry of Agriculture and Agri-Food Canada) , กระทรวงสาธารณสุข (Health Canada) ,

Fisheries and Oceans Canada , และ Industry Canada รวมเปน “ Canadian Food Inspection

Agency (CFIA)” หรือ“หนวยงานตรวจสอบอาหาร” ทําหนาที่เปนองคกรหลักของรัฐในการดูแลและ

จัดการระบบการรักษาความปลอดภัยอาหารของประเทศ โดย สรุปหนาที่สําคัญที่เกี่ยวของไดดังนี้

o รับผิดชอบดูแลและกําหนดกฏ ระเบียบและนโยบายเรื่องความปลอดภัยของอาหาร และ

ผลิตภัณฑอาหารทุกชนิดที่ผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศและสงออก ทั้งผลผลิตทาง

การเกษตร และสินคาอาหารที่ข้ึนตรงกับกระทรวงเกษตรฯ

o กําหนดกฎ ระเบียบ และมาตรการนําเขาสินคาอาหารภายใตการดูแลของหนวยงาน

Canada Border Service Agency

o ควบคุมดูแลระเบียบการนําเขาพืชและสัตว และตรวจสอบและปองกันโรคจากพืชและสัตว

o ดูแลจัดการและสงเสริมใหเกิดการตรวจสอบสินคาอาหารอยางเปนระบบ

o กํากับดูแลและบังคับใชนโยบายและมาตรฐาน ที่ Health Canada เปนผูจัดทํา รวมทั้ง

การตรวจสอบคุณภาพ โดยที่หนวยงานที่ Health Canada ทําหนาที่กําหนดนโยบายและ

56

Page 61: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

มาตรฐานที่เกี่ยวของกับคุณภาพความปลอดภัยดานอาหารที่จําหนายในประเทศ รวมทั้ง

เฝาระวังการเกิดโรคระบาดจากอาหาร โดยผูบริหารสูงสุดของ CFIA ข้ึนตรงกับ Ministry

of Agriculture and Agri-Food

o คุมครองความปลอดภัยของผูบริโภค

o กําหนดและบังคับใชระเบียบเรื่องการปดฉลากผลิตภัณฑอาหาร o บังคับใชระเบียบและมาตรการดานความปลอดภัยอาหารตางๆ โดยอาศัยอํานาจภายใต

กฏหมายดังตอไปนี้

- Canada Agricultural Products Act

- Canadian Food Inspection Agency Act

- Consumer Packaging and labeling Act Food and Drugs Act

- Health of Animal Act

- Meat Inspection Act

- Plant Breeders’ Right Act

- Plant Protection Act

- Fish Inspection Act

- Fertilizers Act - Seeds Act

- Agriculture and Agri-Food Administrative Monetary Penalty Act

3.3.3.2 กฏ ระเบียบควบคุมการนําเขาสินคาอาหารที่สําคัญของประเทศแคนาดา

1 . ระเบียบเรื่องการปดฉลากสินคาอาหารภายใตกฏหมาย The Consumer Packaging and

Labeling Act and Regulation

กําหนดเรื่องการแสดงขอมูลบนฉลากสินคาอาหารที่สําคญั ไดแก แหลงที่มาของสนิคา

อาหาร อันไดแก ชื่อทัว่ไปของอาหาร ชื่อผูประกอบการ ผูผลิต หรือผูจัดจําหนายในแคนาดา )แสดงเปน

ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส (รายละเอียดสวนประกอบอาหารและสารปรุงแตงตางๆ ขอมูลทางดาน

โภชนาการ ขอมูลหนวยปรมิาณในมาตรฐาน Metric (i.e. Kg, Gram) ขอมูล Best Before date (วัน

หมดอายุของสินคา( Country of Origin เปนตน

การปดฉลากอาหารกอภูมิแพ (Food Allergen Labeling)

57

Page 62: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ประเทศแคนาดา ไมไดกําหนดระเบียบขอบังคับเร่ืองการปดฉลากอาหารกอภูมิแพไวเปน

กฏหมายดังเชนประเทศสหรัฐอเมริกา แตถือเปนนโยบายโดยสมัครใจสําคัญที่ระบุใหผูประกอบการควร

ตองปฏิบัติตาม และการไมการถูกเรียกคืนได โดยหนวยงาน CFIA ไดแนะนําใหการปดฉลากสินคา

อาหารที่ประกอบไปดวยสวนผสมของโปรตีนซึ่งไดมาจากกลุมอาหารซึ่งถือเปนตนเหตุหลักของโรคภูมิแพ

(Major Food Allergen) จํานวน 8 ชนิด อันไดแก นม ไข สัตวน้ํา สัตวน้ําประเภทมีเปลือกหุมแข็ง

(Crustacean Shellfish) เมล็ดถั่วประเภท Tree nuts แปงสาลี และถั่วเหลือง ควรมีการแสดงขอมูลที่

ชัดเจนเกี่ยวกับสวนผสมในอาหารดังกลาว เพื่อเปนการใหขอมูลแกผูบริโภค

1.ระเบียบการใชสารปรุงแตงอาหาร

แคนาดามกีฏขอบังคับที่เขมงวดตอสารเคมีที่ใชในอาหารโดย สามารถหาขอมูลเพิ่มเติม

ของ ) สารตองหาม/ลิมิตของสารที่สามารถใชได

2. ระเบียบทางดานสุขอนามัย

สินคาเนื้อสัตว หรือผลิตภัณฑที่ไดจากเนื้อสัตว อาหารทะเล รวมทั้งผักและผลไม ตอง

ผานขั้นตอนการตรวจสอบดานมาตรฐานสุขอนามัย โดย เจาหนาที่จากหนวยงาน Agriculture and Agri

–Food Canada วา มีโรคเกี่ยวกับแมลง มีปริมาณสารตกคางหรือไม

3. ระเบียบควบคุมการนาํเขา

ผลิตภัณฑสินคาเกษตร จาก เนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑ นมและผลิตภัณฑ ที่อยูใน

Import Control List ตองไดรับการอนุญาตการนําเขาเปนพิเศษจาก the Special Trade Relations

Bureau of the Department of Foreign Affairs

- สินคาผัก/ผลไมสด

แคนาดาอนุญาตใหนาํเขาสนิคาผัก/ผลไมได (ผลไมทุกชนิดจากไทย)

ผูนําเขาจะตองมีใบอนุญาตนําเขา Produce License จาก CFIA

- สินคาอาหารกระปอง

ผูนาํเขาไมจําเปนตองม ีPermit/License

ตองมีฉลาก/ระบุ วนั เดือน ป ของวนัที่ผลิต ( Lot Number)

- สินคาปศุสัตว

ทั้ง ผูสงออก และ ผูนาํเขา ตองไดรับใบอนุญาต จาก CFIA

CFIA จะเปนผูตรวจสอบ โรงงาน/โรงฆาสตัวของประเทศผูสงออกวาไดมี

มาตรฐานและความสะอาดของสินคากอนออกใบอนุญาต

58

Page 63: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

การนําเขาเนือ้สัตว ( beed and veal) จะตองปฏิบัติตามระเบียบเรื่องโควตาการ

นําเขาตอป(ยกเวนประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนดซึ่งไดกําหนดปริมาณการนาํเขาเปนพิเศษไว )

ยังไมอนุญาตใหมีการนําเขาเนื้อสัตวจากไทย ยกเวน ไกปรุงสุก

4. ระเบียบการแจงลวงหนากอนการนําเขาสินคาอาหาร

นอกเหนือจากระเบียบขางตนดังกลาวมาแลว การผลิตสินคาอาหารเพื่อการ

สงออกของแคนาดา จะตองผานการตรวจสอบจากเจาหนาที่ของ CFIA โดยการสงออกเนื้อและผลิตภัณฑ

ทุกประเภท จะตองปฏิบัติตามระเบียบตางๆภายใตกฎหมาย Meat Inspection Regulations 1990 ที่

สําคัญไดแก ระเบียบเรื่องการปดฉลากสินคาอาหารของประเทศผูนําเขา และจะตองมีการแสดง

ใบอนุญาต “Certificate of Inspection Covering Meat Product” จาก CFIA นอกจากนี้ สินคาปศุสัตว

ทุกชนิดที่ผลิตเพื่อการสงออกของแคนาดา จะตองเปนสินคาที่ผานการผลิตจากโรงงานที่ไดข้ึนทะเบียนไว

กับ CFIA (CFIA registered establishment) เทานั้น ซึ่งในกรณียอมรวมถึงโรงงานผลิตเนื้อฮาลาลที่ไดรับ

การรับรอง (Halal Certified Establishment) ดวย โดยสามารถสืบคนขอมูลรายชื่อโรงงานผลิตตางๆ

ดังกลาว ไดที่ website ของ CFIA

3.3.3.3 มาตรฐานการผลิตสินคาอาหารฮาลาลของประเทศแคนาดา

เชนเดียวกับสหรัฐอเมริกา รัฐบาลแคนาดาไมมีสวนเกี่ยวของทางดานการกําหนด

มาตรฐานการผลิตสินคาอาหารฮาลาล รวมทั้งไมไดจัดใหมีบริการตรวจสอบหรือรับรองจากหนวยงาน

ของภาครัฐแกสินคาอาหารประเภทดังกลาวแตอยางใด โดยผูประกอบการหรือโรงงานผลิตในแคนาดาที่

ประสงคจะสงออกผลิตภัณฑอาหารฮาลาล มีหนาที่ตองติดตอเพื่อขอรับใบอนุญาตการรับรองมาตรฐาน

การเชือดสัตว (Certificate of Islamic Slaughter) จากองคกรผูตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินคา

อาหารฮาลาล ดวยตนเอง(Certification Bodies) ตัวอยาง เชน สมาคมอิสลามแหงอเมริกาเหนือ (Islamic

Society of North America: ISNA) สมาคมอาหารและโภชนาการอิสลามแหงสหรัฐอเมริกา (The

Islamic Food and Nutrition Council of America: IFANCA) กลุมผูบริโภคมุสลิม (Muslim Consumer

Group: MCG) หรือหนวยงานบริการติดตามสินคาฮาลาล ) Halal Monitoring Authority: HMA) เปนตน

ซึ่งเปนองคกรผูตรวจสอบฯ ที่รัฐบาลแคนาดาใหการยอมรับดานความนาเชื่อถือเกี่ยวกับระบบตรวจสอบ

และรับรองสินคาอาหารฮาลาล (รายละเอียดปรากฏดังบทที่ 4)

59

Page 64: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

บทที่ 4 มาตรฐานการผลิตและระบบตรวจสอบและรับรอง

สินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

4.1 ภาพรวม

การผลิตสินคาอาหารฮาลาล มีความเกี่ยวของโดยตรงกับหลักการทางศาสนาและ

วัฒนธรรม จึงนับไดวาเปนอุตสาหกรรมอาหารที่มีลักษณะเฉพาะตัว หรืออาจกลาวไดวา มาตรฐานอาหาร

ฮาลาล เปนมาตรฐานอาหารสําหรับชาวมุสลิม ซึ่งมีความแตกตางจากมาตรฐานอุตสาหกรรมอาหาร

ทั่วไป กลาวคือ มาตรฐานฮาลาลมีองคประกอบสําคัญที่ถูกกําหนดโดยบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม ซึ่ง

เนนยึดถือความ “ถูกตอง” และคุณคาอาหารตามหลักการทางศาสนา เปนหลัก ในขณะที่มาตรฐานอาหาร

ทั่วไป ซึ่งสวนใหญถูกกําหนดขึ้นโดยองคกรระหวางประเทศ มีพื้นฐานยึดถือคุณคาอาหารและความ

ปลอดภัยและโดยมิไดคํานึงถึงความถูกตองตามหลักศาสนาใดๆ

ดังไดกลาวมาแลววา ปจจุบัน ธุรกิจการผลิตสินคาอาหารฮาลาล ถือเปนตลาดสินคาที่มี

มูลคาสูงและกําลังเปนที่สนใจของผูผลิตสินคาอาหารตางๆทั่วโลก โดยเฉพาะกลุมประเทศผูสงออกสินคา

อาหารรายใหญที่มีศักยภาพการผลิตสูง ซึ่งมีปริมาณการสงออกอาหารไปยังกลุมประเทศผูบริโภคอาหาร

ฮาลาลคิดเปนมูลคาจํานวนมาก ทั้งๆที่ไมไดเปนประเทศมุสลิม เชน แคนาดา สหรัฐอเมริกา หรือ

ออสเตรเลีย เปนตน เนื่องมาจากแนวโนมความตองการนําเขาสินคาดังกลาวที่เพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง

จนกระทั่งเมื่อเร็วๆนี้ ที่มีการใชคําวา “ฮาลาล” บนสินคาตางๆ อยางหลากหลาย ขอเท็จจริงดังกลาว ได

ใหเกิดเปนความกังวลในกลุมผูบริโภควา สินคาอาหารที่วางจําหนายอยูทั่วไป ซึ่งไดรับการกลาวอางวาเปน

สินคาฮาลาล นั้น เปนจริงหรือไม เนื่องจากหัวใจสําคัญของธุรกิจการผลิตสินคาดังกลาวมีหลักอยูที่

กระบวนการผลิตตั้งแตเร่ิมตนถึงสิ้นสุด จะตอง “ฮาลาล” คือถูกตองตามหลักศาสนาตลอดกระบวนการ

ปญหาก็คือ จากเดิมที่เปนการผลิตอาหารในระดับทองถิ่น กลายเปนการผลิตสินคาเชิงพาณิชยขนาด

ใหญ ซึ่งมีระบบการผลิตที่ซับซอนมากขึ้น และตองอาศัยการดูแลควบคุมอยางเครงครัด ตัวอยางที่เห็นได

ชัดในเรื่องดังกลาว เชน ขอกําหนดเรื่องการมีมุสลิมประจําอยู ณ สถานที่ผลิตสินคา ซึ่งพบวา ผูผลิตบาง

รายละเลยไมปฎิบัติตาม หรืออาจจางคนงานชาวมุสลิมที่ไมมีความรูความสามารถเพียงพอมาทํางาน

เพียงเพราะใหไดชื่อวาไดปฏิบัติมาตรฐานขั้นต่ําแลวเทานั้น ผลที่เกิดขึ้นก็คือ สินคาที่ผลิตออกมาไม

เปนไปตามมาตรฐาน และอาจถือวาเปนการหลอกลวงผูบริโภคได

60

Page 65: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ในความเปนจริงแลว ปจจุบัน มาตรฐานการผลิตสินคาอาหารฮาลาลโดยทั่วไปยังถือวา

ขาดความเปนเอกเทศอยูมาก แมวาจะมีองคกรทางศาสนาหรือสมาคมมุสลิมตางๆ เขามาทําหนาที่

ใหบริการตรวจสอบและรับรองการผลิต เพื่อแกไขปญหาความไมแนใจในความเปนฮาลาลที่แทจริงของ

ผลิตภัณฑดังกลาว ข

อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ก็คือมาตรฐานที่กําหนดขึ้นโดยองคกรหรือสมาคมเหลานี้ ตางก็มี

รูปแบบและรายละเอียดที่ตางกันไป ข้ึนอยูกับมุมมองขององคกรเรื่องการนําหลักศาสนามาปรบัใช ซึง่ใน

ทายที่สุด มาตรฐานจะไดรับการยอมรับหรือไมยอมข้ึนอยูกับผูบริโภค วาใหความเชื่อถือกับตรารับรองของ

องคกรใด เปนสําคัญ

ดังนั้น วิธีการศึกษามาตรฐานการผลิตและระบบการตรวจสอบรับรองสินคาอาหารฮา

ลาลที่ปรากฏอยูในรายงานฉบับนี้ จึงเปนการรวบรวมและวิเคราะหมาตรฐานการผลิตอันเปนที่ยอมรับ

ปฏิบัติโดยทั่วไปในกลุมองคกรตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ ที่มีชื่อเสียงและ

อิทธิพลตอตลาดและมีตรารับรองฮาลาลเปนที่ยอมรับของผูบริโภคนานาชาติ ไดแก (1) สมาคมอิสลาม

แหงอเมริกาเหนือ (Islamic Society of North America: ISNA) (2) สมาคมอาหารและโภชนาการอิสลาม

แหงสหรัฐอเมริกา (The Islamic Food and Nutrition Council of America: IFANCA) และ (3) กลุม

ผูบริโภคมุสลิม (Muslim Consumer Group: MCG) ซึ่งทั้งสามถือเปนองคกรพันธมิตรความรวมมือกิจการ

ฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือที่สําคัญของไทย ที่ไดมีลงนามการแลกเปลี่ยนความรวมมืออยางเปนรูปธรรม

ในบันทึกขอตกลง (MOU) กับตัวแทนหนวยงานฮาลาลไทย เมื่อป 254928

กลาวโดยทั่วไป ข้ันตอนการขอรับรองมาตรฐานฮาลาลหรือการขอใชตรารับรองฮาลาลจาก

องคกรหรือสมาคมฯเหลานี้ มีภาพรวมที่คลายคลึงกัน คือ เร่ิมตนที่ผูประกอบการยื่นความจํานงขอรับบริการ

โดยการกรอกคําขอในใบสมัครหรือผานทางเวปไซตของสมาคมฯ พรอมเอกสารประกอบคําขอ หรือตัวอยาาง

ผลิตภัณฑ โดยสมาคมฯจะจัดสงเจาหนาที่หรือผูเชี่ยวชาญ ไปตรวจสอบการดําเนินงานดานกิจการฮาลา

ลของสถานประกอบการตั้งแต การวิเคราะหวัตถุดิบ กระบวนการผลิต แปรรูป จัดเก็บและบรรจุสินคา

ตลอดจนแนวทางปฏิบัติเร่ืองขอกําหนดดานความปลอดภัยและสุขอนามัยอาหารตางๆ พรอมอบรมและให

คําแนะนําภายใตมาตรฐานของสมาคมฯ หลังจากนั้นจึงจะออกใบอนุญาตรับรองมาตรฐานการผลิตหรือ

หนังสือสําคัญใหใชตรารับรองสินคาฮาลาลของสมาคมฯ แกผูประกอบการ ตอไป โดยสรุปรายละเอียดการ

ดําเนินงานขององคกรตรวจสอบฯ ทั้งสามได ดังนี้

28 รายละเอียดปรากฏตามภาคผนวก

61

Page 66: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

4.2 องคกรตรวจสอบและรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

4.2.1 . สมาคมอิสลามแหงอเมริกาเหนือ ประจําประเทศแคนาดา (Islamic Society of North America, Canada Office: ISNA Canada)

สมาคม ISNA เปนองคกรทางดานศาสนาชั้นนําที่เกาแกและใหญที่สุดในทวีปอเมริกา

เหนือ กอตั้งเปนครั้งแรกเมื่อป 2506 มีลักษณะเปนองคกรอิสระที่บริหารงานโดยไมมุงหวังผลกําไร ทํา

หนาที่เปนองคกรกลางศาสนาอิสลามในการดูแล ตรวจสอบ ใหบริการคําแนะนํา สงเสริมความรูและ

ประชาสัมพันธกิจกรรมตางๆ ที่เปนประโยชนและเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตประจําวันของชาวมุสลิมใน

ทวีป รวมทั้งการสรางความรวมมือทางดานกิจการศาสนาอิสลามระหวางชุมชนชาวมุสลิมทั่วโลก โดย

แบงการบริหารงานออกเปนหนวยงานยอยที่ทําหนาที่ใหบริการในดานตางๆ เชน สวัสดิการสังคม

สารสนเทศ การศึกษา การคนควาวิจัย สาธารณะสัมพันธ รวมทั้งการดูแลตรวจสอบกิจการทางดานฮาลาล

โดยในแตละปสมาคม ISNA จะทําการจัดประชุมประจําป ณ เมืองชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อ

ประชุมหารือเกี่ยวกับการดําเนินการดานกิจการศาสนา ซึ่งมีชาวมุสลิมและผูเกี่ยวของใหความสนใจเขา

รวมไมต่ํากวา 50,000 คน โดยมีสํานักงานใหญของสมาคมฯ ตั้งอยูที่เมือง Plainfield รัฐ Indiana ประเทศ

สหรัฐอเมริกา และเมือง Mississauga รัฐ Ontario ประเทศแคนาดา

สํานักงานใหญ สมาคม ISNA เมือง Mississauga รัฐ Ontario ประเทศแคนาดา

62

Page 67: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ในสวนของกิจการดานฮาลาล ISNA ถือเปนองคกรตรวจสอบรับรองผลิตภัณฑฮาลาลชั้น

นําระดับตนๆ ที่ไดรับการยอมรับจากกลุมผูบริโภคชาวมุสลิมทั่วโลก โดยใหบริการรับรองทั้งสินคาอาหาร

และกิจการที่เกี่ยวของอื่นๆ โดยมีหนวยงาน Halal Certification Agency (HCA) เปนองคกรตัวแทนของ

สมาคมฯ ที่ทําหนาที่ในเรื่องดังกลาว

ตัวอยางตรารบัรองสินคาฮาลาลของสมาคม ISNA29

ตรารับรองแบบเกา ตรารับรองที่ใชในปจจุบัน

สําหรับการดําเนินงานรวมกับประเทศไทย สมาคม ISNA ถือเปนองคกรพนัธมติรทีสํ่าคญั

ดานกิจการฮาลาล ที่มีการขยายผลความรวมมือและแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจระหวางกันมาโดย

ตลอด ทั้งนี้ เมื่อเดือน พฤษภาคม 2551 Dr. Mohammad Ashraf เลขาธิการสมาคม ISNA ไดเดินทาง

ไปเยือนประเทศไทย เพื่อรวมประชุมและศึกษาดูงานการจัดทําแผนความรวมมือดานกิจการฮาลาล

ระหวางไทย-แคนาดา และหารือถึงการสรางกลไกยอมรับรวมในระบบตรวจสอบและรับรองฯ รวมทั้งความ

รวมมือดานเทคนิค อ่ืนๆ กับหนวยงานหลักดานกิจการฮาลาลของไทย อาทิ คณะกรรมการกลางอิสลาม

แหงประเทศไทย สถาบันมาตรฐานฮาลาลแหงประเทศไทย ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กรมปศุสัตว และหนวยงานที่เกี่ยวของ

ทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งถือเปนการปูทางการดําเนินงานกาวสําคัญ ที่จะนําไปสูกับสรางการสรางความ

รวมมือในลักษณะเดียวกันระหวางไทยกับองค กรอื่นๆ อันจะเปนผลดีสูการเพิ่มความนาเชื่อใหกับสินคา

ฮาลาลที่ผลิตจากประเทศไทยในตลาดอเมริกาเหนือ ตอไป

การตรวจสอบเพื่อรับรองฮาลาลและการใชขอเครื่องหมายรับรองของสมาคม ISNA มี

ข้ันตอน สรุปโดยยอดังนี้

29 Source: Islamic Society of North America (ISNA).

63

Page 68: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

1. ผูประกอบการยื่นคําขอคําขอตรวจสอบรับรองฮาลาล พรอมเอกสารประกอบคําขอ โดยการ

กรอกรายละเอียดในใบสมัคร (ตัวอยางดังในภาคผนวก) โดยสามารถดาวนโหลดไดทาง

website www.isnahalal.ca หรือ www.isnacanada.com

2. การนัดพบเพื่อประชุมรวมกันระหวางตัวแทนผูประกอบการและตัวแทนสมาคมฯ เพื่อจัดทํา

ขอตกลงรวมกันเรื่องรายละเอียดการเขาตรวจสอบสถานที่ผลิต

3. คณะผูตรวจสอบไปตรวจสอบวัตถุดิบ กระบวนการผลิต อุปกรณ สถานที่ผลิต หรือสถานที่

จําหนายหรือขนสง การบรรจุ หรือการใหบริการ ณ โรงงาน รวมถึงกระบวนการทางสุขอนามัย

ตางๆ

4. จัดทํากระบวนการผลิตเพื่อใหสอดคลองกับขอกําหนดมาตรฐานอุตสาหกรรมอาหารทั่วไป

(มาตรฐาน ISO, มาตรฐาน Halal- HACCP หรืออ่ืนๆ )

5. คณะกรรมการฝายกิจการฮาลาลสมาคมฯ ( ISNA Halal Committee) พิจารณาอนุมัติรับรอง

ผลิตภัณฑที่ไดมาตรฐานองคกรและบทบัญญัติศาสนาอิสลาม

6. ผูประกอบการทําสัญญายอมรับปฏิบัติตามเงื่อนไขและรายละเอียดขอตกลงการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑฮาลาลของสมาคมฯ ( อายุการรับรอง การจัดทําบันทึกขอมูล

กระบวนการขอตออายุ และการชําระคาธรรมเนียมและคาใชจายในการตรวจสอบ)

7. คณะกรรมการพิจารณาออกหนังสือรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑฮาลาลและ/หรือหนังสอืสําคญั

เครื่องหมายรับรองฮาลาลใหแกผูประกอบการ ในกรณีผูประกอบการประสงคขอใช

เครื่องหมายรับรองฮาลาล

เงื่อนไขการเชือดสัตวตามมาตรฐานของสมาคม ISNA

1. ผูประกอบเชือดสัตวตองเปนผูนับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งไดรับการรับรองสมาคมฯ ISNA หรือ

องคกรสมาชิกที่ไดรับการรับรอง

2. การทําใหสัตวสลบกอนเชือดตองมีผลทําใหสัตวหมดสติเทานั้น30 และไมเปนการทรมานสัตว

3. สัตวที่ถูกทําใหสลบควรไดรับการเชือดทันที เพื่อประกันวาเลือดออกจากตัวสัตวจนหมด

4. การบงชี้ความเปนฮาลาลตองกระทําบนผลิตภัณฑที่มาจากการเชือดสัตวตามบทบัญญัติศาสนาอิสลามเทานั้น

30 อยูภายใตขอบังคับการเชือดสัตวของกระทรวงเกษตรฯแคนาดา

64

Page 69: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

5. ผูตรวจสอบสมาคม ฯ มีสิทธิ์เขาตรวจสอบที่ตั้งโรงงาน หรือสถานที่ผลิตโดยมิตองแจงให

ผูประกอบการทราบลวงหนาเปนระยะเวลาตามความเหมาะสม และผูประกอบการตอง

อํานวยความสะดวกในการตรวจสอบกระบวนการผลิตแกผูตรวจสอบของสมาคมฯทุกขั้นตอน

ทุกกรณี

6. การยกเลิกการรับรองฮาลาลสําหรับผูประกอบการที่ไมปฏิบัติตามระเบียบหรือขอกําหนด ถือ

เปนอํานาจโดยเด็ดขาดของสมาคมฯ

7. ประเด็นการเชือดดวยมือหรือเครื่อง มีหลักดังนี้

7.1 การกลาวนามอัลเลาะฮ (ซ.บ.) ขณะเริ่มเชือด (Tesmiyah) โดยหลักตองกระทําทุก

คร้ังตอการเชือดสัตวหนึ่งตัว ยกเวนการเชือดสัตวที่ปริมาณมาก ใหเร่ิมตนกลาวกอนเชือดและควรกลาวซ้ํา

ใหไดมากที่สุดเทาที่จะทําไดตอการเชือดนั้นๆ

7.2 การปลอยใหเลือดไหลออกจากตัวสัตวหลังการเชือด (Tazkiyah) โดยการตัดเสน

เลือดทั้งสองเสนที่อยูขางคอ เพื่อไมใหคอขาดและคงเซลลสมองไว ถือเปนวิธีการที่ดีที่สุดตามบทบัญญัติ

ศาสนา ในการเชือดวัว แกะ และสัตวปกตางๆ เนื่องจากมีผลทําใหเลือดออกจากตัวสัตวไดเร็วขึ้นและ

เปนการทรมานสัตวนอยลง

ภายใตมาตรฐานของสมาคม ISNA ถือวา การเชือดสัตวที่ไดปฏิบัติตามวิธีการทั้งสองขอ

นี้ เปนการเชือดที่สมบูรณตามหลักศาสนา (Dhabiha) แลว ไมวาจะสัตวนั้นจะผานการเชือดดวยมือหรือ

ดวยเครื่องก็ตาม

4.2.2 สมาคมอาหารและโภชนาการอิสลามแหงสหรัฐอเมริกา (The Islamic Food and Nutrition Council of America : IFANCA)

สมาคม IFANCA เปนองคกรอิสระดานกิจการอาหารฮาลาลและโภชนาการอิสลาม ที่ทํา

หนาที่ใหบริการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานการผลิตสินคาฮาลาลผานการออกใบอนุญาต และตรา

รับรองของสมาคมใหแกผูประกอบการในประเทศตางๆ กวา 20 ประเทศ โดยมีสัญลักษณตรารับรองรูป

ตัว “M” ซึ่งไดรับการยอมรับอยางกวางขวางทั้งในกลุมผูบริโภคอาหารฮาลาลและองคกรรัฐบาลของ

ประเทศมุสลิมชั้นนําตางเชน เชน Department of Islamic Development Malaysia (JAKIM) ,

The Majlis Ugama Islam Singapura : MUIS ( the Islamic Religious Council of Singapore) , the

Muslim World League (MWL) : Saudi Arabia และ Majelis Ulama Indonesia (MUI) เปนตน โดยมี

สํานักงานใหญของสมาคมฯ ตั้งอยูที่ เมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส ประเทศสหรัฐอเมริกา เมืองโตรอนโต รัฐ

65

Page 70: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ออนทาริโอ ประเทศแคนาดาและ กรุงบรัสเซลล ประเทศ เบลเยี่ยม รวมถึงตัวแทนบริหารสมาคมยอยหรือ

องคกรสมาชิกดานการตรวจสอบรับรองกิจการฮาลาล (sister organization or affiliates ) กระจายอยูใน

ประเทศผูสงออกสินคาฮาลาลตางๆ กวา 30 ประเทศ เชน Islamic Food council of Europe (IFCE) ,

Australian Federation of Islamic Councils (AFIC), Federation of Islamic Associations of New

Zealand (FIANZ) , South African National Halal Authority (SANHA) เปนตน

ตัวอยางสัญลักษณรับรองสินคาฮาลาลของสมาคม IFANCA รูปแบบตางๆ31

สําหรับสินคาประเภทที่ไมใชเนื้อสัตว

(Non-Meat Product) สําหรับสินคาประเภทเนื้อสัตว สัตวปก

และผลิตภัณฑ

ตรารับรองของสมาคม IFANCA สําหรับ

สินคาที่จําหนายในทวีปยุโรป สัญลักษณสําหรับผลิตภัณฑที ่

มีบรรจุภัณฑขนาดเล็ก

สัญลักษณตรารับรองรูปตัว “M” ที่เปนที่คุนเคยในกลุมผูบริโภค

มากที่สุด

31 Source : Islamic Food and Nutrition Council of America (IFANCA)

66

Page 71: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

การตรวจสอบและรับรองมาตรฐานการผลิตสินคาอาหารฮาลาลของสมาคม IFANCA

ครอบคลุมการตรวจสอบและควบคุมมาตรฐานการผลิตทุกขั้นตอนตั้งแต กระบวนการเชือดสัตว

(Slaughter House) การทําความสะอาดอาหาร จนถึงการบรรจุหีบหอสินคา โดยใหบริการตรวจสอบ

รับรองมาตรฐานฮาลาลกับอุตสาหกรรมอาหารและสินคาอื่นๆ ที่จัดวาเปนฮาลาลทุกประเภท

ภาพแสดงสัดสวนการยื่นคําขอรับรองมาตรฐานฮาลาลจากสมาคม

IFANCAของผูประกอบการในประเทศตางๆ

อินโดนีเซีย55%

มาเลเซีย20%

สหรัฐอเมริกา10%

สิงคโปร5%

อื่นๆ 10%

การขอรับรองมาตรฐานฮาลาลและการขอใชเคร่ืองหมายรับรองฮาลาลของสมาคม

IFANCA ครอบคลุมประเภทกิจการ ดังตอไปนี้

1. เนื้อสัตวและสัตวปก แปรรูปและแชแข็ง

2. ผลิตภัณฑอาหารประเภท non meat product และเครื่องดื่มอ่ืนๆ เชน นม เนยและ

ผลิตภัณฑอาหารพรอมปรุง อาหารสําเร็จรูปพรอมรับประทาน อาหารแชแข็ง ขนม

หวานและไอศกรีม สารปรุงแตงและสวนผสมอาหาร ผลิตภัณฑอาหารเสริม

(nutritional product) เปนตน

3. สินคาอุตสาหกรรม เชน บรรจุภัณฑ (Packaging Material) ยาและเครื่องสําอาง

4. ธุรกิจบริการอาหาร รวมถึงสินคาอุตสาหกรรมอื่นๆ เชน ยาและเครื่องสําอาง เปนตน

67

Page 72: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ตัวอยางสินคาอาหารฮาลาลของผูประกอบการในประเทศแคนาดาที่ไดรบัการรับรองจากสมาคม

สัญลักษณตรารับรอง

ของสมาคมฯ

ข้ันตอนการรับรองมาตรฐานฮาลาลและการขอใชตรารับรองของสมาคม IFANCA

1. ผูประกอบการยื่นความจํานงมายังสมาคมฯ โดยกรอกแบบฟอรมคําขอผานทางเวปไซต หรือ

ดาวนโหลดแบบฟอรมคําขอไดที่ http://www.ifanca.org/apply/ifanca_application.pdf.

2. คณะของเจาหนาที่สถานประกอบการนําคณะผูตรวจสอบเขาวิเคราะหและตรวจสอบตัวอยางผลิตภัณฑ วัตถุดิบ สถานที่ผลิต กระบวนการผลิต และมาตรฐานสุขอนามัยการผลิตตางๆ

ตามที่นัดหมาย

3. ผูประกอบการจัดสงเอกสารประกอบคําขอที่จําเปนใหแกสมาคมฯ เชน ลักษณะบงเฉพาะ

ของผลิตภัณฑ ตัวอยางฉลากสินคา แผนผังการดําเนินงาน (flowchart) กระบวนการทํา

ความสะอาด เปนตน

4. เจาหนาที่ฝายกิจการฮาลาลของสมาคมฯ รวบรวมสรุปผลการตรวจสอบเพื่อพิจารณาและแจง

ผลใหผูประกอบการทราบ

5. จัดทําสัญญาเงื่อนไขและรายละเอียดขอตกลงการรับรองตามมาตรฐานผลิตภัณฑฮาลาลของสมาคมฯ (เชน คาธรรมเนียมการตรวจสอบ ข้ึนอยูกับลักษณะและความซับซอนของ

ผลิตภัณฑและขอบเขตของตลาด)

6. คณะกรรมการสมาคมฯ ออกหนังสือรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑหรือหนังสือสําคัญใหใช

เครื่องหมายรับรองฮาลาลแกผูประกอบการ (ปกติมีอายุการรับรองไมเกินหนึ่งป ยกเวนระบุไว

เปนอยางอื่น)

68

Page 73: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

4.2.3 กลุมผูบริโภคมุสลิมแหงสหรัฐอเมริกา (Muslim Consumer Group: MCG)

MCG มีลักษณะเปนองคกรมุสลิมอิสระที่บริหารงานโดยไมหวังผลกําไร ประกอบไปดวย

ผูเชี่ยวชาญดานอาหารฮาลาล ซึ่งทําหนาที่ใหบริการการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานการผลิตสินคา

อาหารฮาลาลแกผูประกอบการทั้งในสหรัฐฯและประเทศอื่นๆ โดยเนนใหบริการครอบคลุมสินคาอาหาร

ประเภท Non-meat Product เปนหลัก (ยกเวนสินคาปศุสัตว ประเภทเนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑ)

รวมทั้งสินคาอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆดวย

สัญลักษณตรารับรองสินคาอาหารฮาลาลของกลุม MCG

นอกจากนี้ การดําเนินงานดานกิจการฮาลาลเพิ่มเติมของกลุม MCG ยังเนนการ

ศึกษาวิจัยและติดตามสํารวจสถานะความเปนฮาลาลของสินคาอุปโภคบริโภคตามรานคาปลีกตางๆ ใน

สหรัฐฯ เพื่อเผยแพรความรูใหแกผูบริโภคผานทางเวปไซต ซึ่งมีผูเขาเยี่ยมชมไมต่ํากวา 20,000 รายตอวัน

จากกวา 75 ประเทศทั่วโลก โดยมีสาขาบริหารงาน ตั้งอยูที่มลรัฐ New Jersey ประเทศสหรัฐอเมริกา

ขั้นตอนการขอรับรองมาตรฐานฮาลาลของกลุม MCG

1) เกณฑการตรวจสอบและวิเคราะหสวนผสมอาหารในตัวอยางผลิตภัณฑ ของสมาคมฯ

สวนผสมตองหาม ไดแก

- เนื้อหมูและผลิตภัณฑ

- เนื้อวัวที่มาจากการเชือดสัตวที่ไมไดปฏิบัติตามหลักศาสนา

- เครื่องดื่มทีมีสวนผสมของแอลกอฮอล หรือไวน

- เจลาตินสัตว ยกเวนเจลาตินที่มาจากสัตวที่เชือดตามหลักศาสนา

- โคเชอรเจลาติน

- สินคาอาหารที่ทอดดวยน้ํามันที่มีสวนผสมของเบียร (beer battered)

- L-Cysteine from human hair

69

Page 74: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- Rum Flavor, Carmine

- สวนผสมอาหารสกัดจากธรรมชาติบางชนิดที่มีแอลกอฮอลเจือปน เชน

ซีอ๊ิวขาวหมักธรรมชาติ สารสกัดจากยีสต สารสกัดจากวนิลา Wine vinegar สารปรุงแตงอาหารที่ผานการ

ละลายดวยแอลกอฮอล ผงโรยหนาขนมหวาน เปนตน

- ชีสจากสัตวบางประเภท

2) ข้ันตอนการขอตรวจสอบและรับรอง

2.1 ใหการรับรองมาตรฐานสินคาฮาลาลประเภท Non- Meat เทานั้น

2.2 ผูประกอบการยื่นความจํานงขอรับรองโดยการกรอกใบสมัคร โดยระบุรายละเอียด

เกี่ยวกับสวนผสมของอาหารและสวนผสมชวยในการผลิตอาหาร(Processing aid ingredient) หรือ

สวนผสมซอนเรน (hidden ingredient)

2.3 ผูประกอบการจัดสงขอมูลที่จําเปนใหแกตัวแทนกลุมฯไดแก

- สวนผสมจําเพาะของอาหารแตละชนิด

- สารเคมีที่ใชในการทําความสะอาดอาหาร ตองไมมีแหลงที่มาจากสัตว หรือ

แอลกอฮอลลเปนสวนผสม

2.4 ผูประกอบการนําคณะเจาหนาที่เขาตรวจสอบการบริหารงานของสถานประกอบการ

ไดแก สถานที่เก็บรักษาวัตถุดิบ สวนผสมอาหาร กระบวนการผสมและแปรรูปอาหาร การบรรจุอาหาร และ

สินคาสําเร็จ พรอมกําหนดแนวทางการบริหารสถานประกอบการเพื่อกิจการฮาลาลของกลุมฯ (Halal

HACCP Program) เพื่อใหผูประกอบการนําไปปฏิบัติตาม

2.5 คณะกรรมการของกลุมฯ พิจารณาผลการตรวจสอบ เพื่อจัดทําสัญญาขอตกลงการ

ออกใบรับรองมาตรฐานใหแกผูประกอบการ

3) แนวทางบริหารสถานประกอบการเพื่อการผลิตอาหารฮาลาล

3.1 จุดประสงค

แนวทางบริหารสถานประกอบการเพื่อการผลิตอาหารฮาลาลกําหนดขึ้นเปนมาตรการ

ปองกันเพื่อใชในการจัดทําระบบบริหารเพื่อการเตรียมสินคาอาหารฮาลาลประเภท Non- meat product

สําหรับผูบริโภคชาวมุสลิม และใชเปนเอกสารประกอบการรับรองสําหรับผูประกอบการที่ประสงคจะขอ

รับรองสินคาฮาลาล ภายใตมาตรฐานของสมาคมฯ โดยมีจุดประสงคเพื่อยืนยันและรับรองสถานะความ

เปนฮาลาลของแหลงที่มาของวัตถุดิบที่ใชในผลิต การแปรรูปและการบรรจุสินคาอาหารหรือการใช

สวนผสมในอาหารตามขอกําหนดบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม

70

Page 75: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

3.2 ขอบเขต : ใชสําหรับการรับรองสินคาอาหารประเภท Non-meat food product หรือสวนผสม

ในอาหาร (food-ingredient) เทานั้น

3.3 ขอกําหนด

- การบงชี้ความเปนไปไดของแหลงที่มาวัตถุดิบที่อาจเปนฮะรอมภายในบริเวณเก็บรักษา

สินคา

- การยืนยันความเปนฮาลาลของแหลงที่มาของสินคา จากการเขาเยี่ยมชมและตรวจสอบ

- สถานที่ประกอบการ และ/หรือโรงเก็บวัตถุดิบ เปนตน

- การจัดทําลักษณะจําเพาะของวัตถุดิบ ณ สวนควบคุมคุณภาพการผลิตของโรงงานหรือ

สถานที่ผลิตสินคา

- การตรวจสอบสารเคมีทางชีวภาพ จุลชีวภาพ และการวิเคราะหลักษณะทางกายภาพ

ของวัตถุดิบเพื่อใหแนใจวาไมมีสวนผสมของสิ่งตองหามภายใตบทบัญญัติของศาสนา

3.4 ข้ันตอน

(1) การจัดตั้งเจาหนาที่ประจําสถานประกอบการ

ประกอบไปดวย ผูตรวจการ ผูตรวจสอบฮาลาล และผูเชี่ยวชาญดานกิจการศาสนา โดย

คัดเลือกจากตัวแทนผูตรวจสอบของกลุมฯ

(2) การจัดทําการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน

กระทําโดยอาศัยขอมูลประกอบการรับรองตางๆที่ไดรับจากผูประกอบการ มีข้ันตอนที่

สําคัญ ไดแก

ตรวจรับใบสมัครขอรับรอง ที่ประกอบไปดวยขอมูลเกี่ยวกับเลขทะเบียนสินคา

อาหารและโรงงานผลิตที่ผูประกอบการประสงคจะขอรับรอง

ระบุจํานวนการเขาตรวจสอบประจําป

ตรวจรับเอกสารขอมูลประกอบการพิจารณา ไดแก

- รายชื่อสวนผสมซอนเรนในอาหารหรือสวนผสมที่ไมไดรับการเปดเผย

- เอกสารรับรองมาตรฐานฮาลาลซึ่งผูประกอบมีอยู ณ ปจจุบัน (ถามี)

เพื่อนํามาเปรียบเทียบและจัดทําสินคาใหไดมาตรฐานฮาลาลภายใตขอกําหนดขององคกร

- บรรจุภัณฑสินคา

- สารเคมีที่ใชในการทําความสะอาดอุปกรณเครื่องใชหรือสุขอนามัย

71

Page 76: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

(3) ศึกษาความเปนไปไดของการรับรองความเปนฮาลาลสําหรับสินคาที่ไดรับการกลาว

อางถึง

(4) การใหขอมูลสินคาและชองทางการจัดจําหนาย

เชน ชื่อสินคา จํานวนและลักษณะตลาด วิธีการเคลื่อนยายและขนสงสินคา เปนตน

(5) ยืนยันความถูกตองของการจัดทําแผนผังการดําเนินงาน

(6) เขาตรวจสอบมาตรฐาน Halal- HACCP อยางเปนทางการ

(7) ยืนยันความถูกตองของรายชื่อสวนผสมวัตถุดิบและสวนผสมทั้งหมด โดยการเขา

เยี่ยมชมโรงงานผลิต

4.2.4 หนวยงานบริการติดตามสินคาฮาลาล (Halal Monitoring Authority: HMA)

HMA เปนหนวยงานภายใตการดูแลของ The Department of the Jami’yyatul Ulama

Canada, Canadian Council Muslim Theologian (CCMT) ซึ่งมีลักษณะเปนองคกรมุสลิมอิสระที่

บริหารงานโดยไมมุงหวังผลกําไร ประกอบไปดวยผูเชี่ยวชาญชาวมุสลิมและนักวิชาการทางศาสนาอิสลาม

ที่ไดรับการรับรองจากรัฐบาล ทําหนาที่เปนองคกรกลางในการดูแล ตรวจสอบ ใหบริการคําแนะนํา และ

ประชาสัมพันธกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตประจําวันของชาวมุสลิมในประเทศแคนาดา

โดยแบงการบริหารงานออกเปนหนวยงานยอยที่ทําหนาที่ใหบริการในดานตางๆ เชน สวัสดิการสังคม

สารสนเทศ การศึกษาการคนควาวิจัย สาธารณะสัมพันธ รวมทั้งกิจการทางดานฮาลาล ซึ่งมีหนวยงาน

HMA ทําหนาที่เปนหนวยงานหลักในการใหบริการการติดตาม ตรวจสอบ และรับรองมาตรฐาน

อาหารฮาลาล โดยมีสํานักงานใหญอยูที่นครโตรอนโต มลรัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา

สัญลักษณตรารับรองฮาลาลขององคกร HMA

72

Page 77: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

4.3 มาตรฐานการขอรับรองฮาลาลและการขอใชเครื่องหมายรับรองฮาลาลขององครกรตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

4.3.1 หลักทั่วไปสําหรับผูประกอบการและองคกรผูตรวจสอบรับรองฯ

4.3.1.1 บทนํา: คําศัพทและคํานิยาม

“ฮาลาล” แปลวา เหมาะสม หรือไดรับอนุญาต

“อาหารฮาลาล” หมายถึง อาหารที่ไดรับอนุญาตตามบทบัญญัติศาสนาอิสลาม

ใหบริโภคได โดยทั่วไปหมายถึงอาหารที่ไดรับการเตรียมโดยชาวมุสลิมหรือผูนับถือศาสนาอิสลาม

“อาหารหะรอม” หมายถึง ส่ิงตองหาม ส่ิงที่ไมอนูญาตในศาสนาอิสลาม เชน

เนื้อหมูและ ผลิตภัณฑ หรือแอลกอฮอล เปนตน

4.3.1.2 ระบบการบริหารการจัดทําอาหารฮาลาลเบิ้องตน

1) การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย และการจัดฝกอบรมบุคลากรของสถาน

ประกอบการ

- ความสามารถ ความตระหนักและการผึกอบรมบุคลากรพนักงานประจําสถาน

ประกอบการ ที่สําคัญ ไดแก ผูตรวจสอบฮาลาลและผูตรวจตราฮาลาล (Inspector และ Supervisor)

- ตองเปนพนักงานประจําที่เปนมุสลิม ซึ่งยึดถือและมีความศรัทธาในการปฏิบัติ

ตนตามขอกําหนดหลักศาสนอิสลามาอยางเครงครัด มีความรูความเขาใจและประสบการณเบือ้งตนในการ

เตรียมอาหารฮาลาลภายใตบทบัญญัติของศาสนาเปนอยางดี

2) การฝกอบรมบุคลากรฯ ของสถานประกอบการ

- สถานประกอบการตองจัดหาหรือจัดจางองคกรตรวจตราที่มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับ

สําหรับการจัดอบรมบุคลากรผูจัดทําอาหารฮาลาลของสถานประกอบการ

- การฝกอบรมบุคลากร ไมเพียงแตจํากัดอยูที่การเตรียมความรูภายใตขอกําหนดการ

ผลิตอาหารตามหลักศาสนาเทานั้น แตรวมถึง การฝกอบรมดานการควบคุมและคุณภาพการผลิต

การศึกษาระบบความคลองตัวของการกระจายสินคา สุขอนามัยเบื้องตน และการใชอุปกรณเครือ่งมอื

ที่เหมาะสม ซึ่งรวมถึงความรูดานสวนผสมในอาหารและผูจัดหาวัตถุดิบ

- สําหรับสถานประกอบการที่ดําเนินธุรกิจสินคาฮาลาลควบคูกับธุรกิจสินคาอ่ืนๆ ควรจัด

ใหมีอบรมบุคลากรเปนพิเศษดานการแยกประเภทการบริหารงาน

73

Page 78: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- ผูตรวจสอบและผูตรวจการฮาลาล ตองไดรับการผึกอบรมจากองคกรฝกหัดที่มีความ

นาเชื่อถือในสาขาที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน โดยอาจมีการทําบันทึกสาขาการเรียนรูที่จําเปนไวเปน

ลายลักษณอักษรเพื่อใชอางอิงภายหลังได

- สาขาการเรียนรูที่สําคัญที่ตองมี ไดแก

- ความรูความสามารถดานกระบวนการควบคุมการผลิตสินคาและสุขอนามัยฮา

ลาลเบื้องตน เชน ระบบรับ-สง/ขนยายสินคา วิธีการเก็บรักษาสินคาในโรงงานบรรจุ การใชบรรจุ

ภัณฑที่เหมาะสม เปนตน

- ขอกําหนดเรื่องการผลิตสินคาอาหารฮาลาลภายใตบทบัญญัติศาสนา

- ความรูดานการทํางานกับผลิตภัณฑที่อยูภายใตการดูแล

- การจัดวางโครงงานสิ่งอํานวยความสะดวก การฝกซอมการจัดการและนโยบาย

การผลิต

- ระบบการผลิตสินคาที่เปนฮาลาลและไมเปนฮาลาล

- มาตรฐานการผลิตและระบบปฏิบัติการเครื่องกล

- วิธีการปดฉลาก การออกแบบ คํากลาวอาง ที่เปนที่ยอมรับบนผลิตภัณฑ

- ลักษณะการสัมผัสและการบรรจุผลิตภัณฑ

- การควบคุมและจัดการระบบการบันทึกขอมูลและเอกสาร

- การเก็บรักษาและคงไวซึ่งบันทึกขอมูลการผลิต

3) ขอกําหนดสําหรับองคกรผูตรวจสอบและรับรองสินคาอาหารฮาลาล

- มีหนาที่ใหคําแนะนํา ตรวจสอบ การผลิตสินคาอาหารฮาลาลของสถาน

ประกอบการ โดยการจัดสงผูเชี่ยวชาญไปใหการฝกหัดอบรมเจาหนาที่ผูตรวจสอบ และผูตรวจการ

ฮาลาล และพนักงานประจําอื่นๆ ดานกิจการฮาลาล ในสถานประกอบการ ผูผลิต หรือรานคา เพื่อ

เตรียมความรูดานระบบบริหารการเตรียมอาหารฮาลาล ทั้งตามบทบัญญัติศาสนาและมาตรฐานการ

ผลิตสินคาอาหารและสุขอนามัยอาหารที่เปนที่ยอมรับโดยทั่วไป

- องคกรตรวจสอบฯ ควรตองมีผูเชี่ยวชาญดานกิจการศาสนาเปนเจาหนาที่

ประจําอยู ณ สํานักงานฯ เพื่อใหคําปรึกษาในเรื่องตางๆ แกผูประกอบการ และทําหนาที่เก็บรักษา

ขอมูลความลับทางการคา ที่สําคัญ ไดแก

- เอกสารเรื่องการผลิตและมาตรฐานบรรจุภัณฑที่ผานการรับรอง

- รายละเอียดดานประสบการณและการฝกหัดผูตรวจสอบและผูตรวจการฮาลาล

74

Page 79: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- บรรจุภัณฑและฉลากสินคาที่ใชในการผลิต

- ผลการตรวจสอบหลังการเขาเยี่ยมชมสถานประกอบการ

- การละเมิดนโยบายหรือขอกําหนดขององคกรฯ

- อํานาจการควบคุมการใชชื่อทางการคาและเครื่องหมายการคาของผูประกอบการ

หมายความถึง กรณีที่มีการยกเลิกการรับรองสินคาชนิดใดทั้งหมดหรือบางสวน ใหรวมถึงการตัดสิทธิ

ผูประกอบการเรื่องการใชชื่อหรือเคร่ืองหมายการคาของผูประกอบการของสินคานั้นๆ พรอมแจงใหผูบริโภค

ทราบถึงสถานะการยกเลิกการรับรองสินคาดังกลาวดวย

4.3.2 มาตรฐานการผลิตสินคาอาหารฮาลาล

4.3.2.1 เนื้อสัตวและผลิตภัณฑ

“DHABIHA Halal”

- คําวา “Dhabiha Halal” หมายถึงสินคาเนื้อสัตว สัตวปกและผลิตภัณฑที่มาจากสัตวซึ่ง

ผานการเชือดโดยถูกตองตามหลักศาสนาอิสลาม (Islamic Jurisprudence: Shari’ah) มีหลักการสําคัญ

ในเบื้องตนดังนี้

1) ประเภทของสัตวที่อนุญาตใหรับประทานได

ที่พบไดทั่วไปและเปนที่นิยม ไดแก วัว แกะ แพะ สัตวปก เชนไก เปด เปนตน

สัตวฮะรอม – เนื้อหมูและผลิตภัณฑ

2) หลักปฎิบัติและวิธีการเชือดตามขอกําหนดศาสนา

กระทําโดยมุสลิมเทานั้น ตองเปนวิธีที่ไมทรมานสัตวหรือกอใหใหเกิดความ

เจ็บปวดตอสัตวนอยที่สุด เปนไปอยางมีมนุษยธรรม มีการเอยนามพระเจาทุกครั้ง

3) ขอกําหนดสําหรับผูตรวจสอบและผูตรวจการฮาลาล

มีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณดานวิธีการเชือด

4) การเชือดตามหลักศาสนา (Dhabiha Halal)

- ไมประกอบดวยหรือไมบรรจุส่ิงใดที่ไมถูกตองตามหลักศาสนาอิสลาม

- ไมไดผานการเตรียม แปรรูป ขนสงหรือเก็บรักษาโดยใชเครื่องมือหรืออุปกรณใด

ที่ปลอดจากสิ่งผิดบทบัญญัติศาสนา

- ไมอยูในขั้นตอนการเตรียม แปรรูป ขนสงหรือเก็บรักษาโดยสัมผัสโดยตรงกับ

อาหารที่ไมถูกหลักเกณฑ

75

Page 80: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- ตองไดรับการเตรียมแปรรูปหรือเก็บรักษาในบริเวณหรือสายการผลิตแยกจาก

การผลิตอาหารที่ไมใชฮาลาล

- เตรียม แปรรูป ขนสงเก็บรักษาโดยใชอุปกรณที่ผานการใชกับอาหารที่ไมใชฮา

ลาลโดยจัดหาวิธีการชําระลางทําความสะอาดที่เหมาะสมตามขอกําหนดของศาสนาอิสลาม

4.3.2.2 ขอกําหนดการฆาสัตวและหลักปฏิบัติในโรงงานฆาสัตว (Halal Control Point for Slaughter House: HCP) มีหลักการที่เปนที่ยอมรับโดยทั่วไป ดังนี้

HCP1: ประเภทของสัตว

ตองเปนสัตวที่ศาสนาอิสลามอนุมัติใหบริโภคได HCP 2: สัตวที่ถูกฆายังมีชีวิตหรือเชื่อวามีชีวิต ณ เวลาที่ฆา และตองไดรับการดูแลอยู

ภายใตสภาวะแวดลอมที่ไมทรมาน

HCP 3: การทําใหสัตวสลบ (Stunning)

- ไดแก การชอตไฟฟา การใชเครื่องกล การใชคอนตีกะโหลก (สําหรับสัตวใหญ

เปนวิธีที่ไดรับการยอมรับโดยทั่วไปในกลุมชาวมุสลิม) และการรมควันดวยกาซคารบอนไดออกไซค (ไม

เปนที่ยอมรับเนื่องจากเปนการใชสารเคมี)

- ตองมีหัวหนาคนงานเปนมุสลิมควบคุมการใชตลอดเวลาหรืออาจใชเจาหนาที่

รับรองฮาลาล

- สัตวตองถูกทําใหสลบเปนการชั่วคราวและควรฟนสูสภาวะปกติดวยตนเอง

ภายในเวลา 5 นาทีภายหลังที่ถูกทําใหสลบ

- ตองไมมีผลทําใหสัตวตายหรือบาดเจ็บอยางถาวร

HCP 4: ขอกําหนดเกี่ยวกับสัตวที่เชือด

- สัตวตองตายโดยการเชือดเทานั้น

- สัตวที่จะนํามาใหเชือดตองเปนสัตวที่ใหเชือดและรับประทานไดตามบทบัญญัติ

แหงศาสนาอิสลาม

- การเชือดสัตว ควรตองตัดหลอดลม หลอดอาหาร เสนเลือดแดงใหญ และเสน

เลือดทั้งสองขางลําคอขาดออกจากกัน เพื่อไมใหสัตวตองทรมาน

76

Page 81: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- ตองเชือดดวยอุปกรณหรือส่ิงที่มีคมตัดและทําใหขาดไดโดยคม และไมยกออก

จากตัวสัตวในระหวางการฆา

- ตามหลักศาสนาตองเชือดดวยมือเทานั้น แตปจจุบัน การฆาสัตวดวยเครื่องจักร

(machine-slaughter) โดยเฉพาะการเชือดคอไกดวยเครื่อง เร่ิมเปนที่ยอมรับในกลุมผูบริโภคชาวมุสลิม

มากขึ้น โดยตองมีแนวทางปฎิบัติที่เปนที่ยอมรับโดยทั่วไป ดังนี้

- การเชือดดวยเครื่องจักร ตองมีชาวมุสลิมประจําอยูที่เครื่องจักรตลอดเวลา เพื่อ

ควบคุมดูแลการเชือด หรือทําหนาที่เปนผูฆาสัตวดวยมือ ในกรณีที่การเชือดโดยเครื่องจักรไมเปนไปตาม

หลักศาสนา ( เชน ไมสามารถทําใหสัตวตายภายในครั้งเดียว )

- การเชือดสัตวปก ตองกระทํากอนสัตวตื่นจากสลบ (หากใชวิธีการทําใหสลบ)

จะตองแนใจวาสัตวนั้นไดตายแลวกอนการถูกถอนขน ไมวาจะเปนการเชือดดวยมือหรือเครื่องจักร

HCP5: คนฆาสัตวตองเปนชาวมุสลิม ผูยึดมั่นในหลักศาสนาอิสลามอยางเครงครัด และ

มีความรูในการเชือดสัตวตามหลักการของศาสนาอิสลาม

HCP6: เชือดโดยใชส่ิงมีคมตัด เร่ิมเชือดจากดานหนาของคอตลอดไปจนหลอดเลือดแดง

ใหญขาดอยางนอยหนึ่งเสน

HCP 7: ตองมีการเอยนาม (blessing) พระเจาทุกครั้งที่ทําการเชือด และการใชเครื่อง

บันทึกเสียงเปดนามของพระเจา ถือวายังไมเปนที่ยอมรับสําหรับผูบริโภคชาวมุสลิมที่เครงครัดบางกลุม

HCP8: ขอปฏิบัติหลังการเชือด

แยกชิ้นสวนสัตวที่ไมเกี่ยวของออก และตองแนใจวาไดปลอยใหสัตวไดตายสนิทแลวจึง

คอยนําเขาสูกระบวนการแปรรูปซากสัตวตอไป HCP 9: การบรรจุสินคาและการปดฉลาก ตองจัดทําลงในบรรจุภัณฑที่เหมาะสม และตองมีการปดฉลากประทับตราคําวาฮาลาล

บนกลอง

สินคาเนื้อสัตวแปรรูป

- ตองมีที่มาจากโรงงานฆาสัตวที่เปนฮาลาล

- ตองใชอุปกรณเครื่องมือที่สะอาดโดยอยูภายใตการควบคุมของผูตรวจสอบ และหาม

มิใหมีการปะปนระหวางอุปกรณเครื่องมือที่ใชแปรรูปสินคาฮาลาลกับสินคาอืน่ทีไ่มใช

สินคาฮาลาล

77

Page 82: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- การใชสวนผสมอาหารที่มาจากเนื้อสัตว (non-meat ingredient) ในสินคาเนื้อสัตว

แปรรูป ตองแนใจวาไมมีการใชสวนผสมตองหาม เชน เจลาติน สารสกัดจากหมู

หรือสวนประกอบในอาหารที่มีแอลกอฮอลผสมอยูมากกวา 0.5 % เปนตน โดย

ตรวจสอบแหลงผลิตที่เชื่อใจได

กลาวโดยสรุป การเชือดสัตวตามหลักศาสนาอิสลาม มีหลักการที่ควรคํานึงถึงดังนี้

ขอกําหนดที่ตองปฎิบัติตามอยางเครงครัด (Primary requirement)

ขอกําหนดที่เปนคําแนะนํา (Secondary requirement)

ตองเปนอาหารที่ไดจากสัตวประเภทที่อนุมัติใหรับประทาน

ไดและสัตวตองยังมีชีวิตอยู ณ ขณะเวลาที่ถูกฆา

สัตวตองมีสุขภาพดี ปลอดจากโรคตางๆ

การเชือดสัตวตองกระทําโดยชาวมุสลิมเทานั้นและตองมี

การเอยนามพระเจาระหวางการเชือดทุกครั้ง

สัตวตองไดรับการดูแลในสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมและมี

มนุษยธรรม

ตองเชือดโดยตอเนื่องในคราวเดียวและไมทรมานสัตว ไมควรมีการแบงแยกชิ้นสวนสัตวกอนการเชือด หรือหลัง

การเชือดตองรอใหแนใจวาสัตวนั้นไดตายสนิทแลว

ตองใชอุปกรณมีคมในการเชือด

หลังจากเชือดแลวตองเอาเลือดออกจากตัวสัตวใหหมด

โดยสัตวตองตายเอง โดยไมบาดเจ็บหรือถูกทารุณ

4.3.2.2 นม เนยและผลิตภัณฑ กลุมสินคาหลักคือ นม เนย ไอศกรีม โยเกิรต ของหวานแชแข็ง ชีสและผลิตภัณฑ เปน

ตน สามารถจัดอยูไดทั้งในกลุมโคเชอรและฮาลาล สวนใหญเปนผลิตภัณฑที่มีอิมัลซิไฟเออร เปน

สวนประกอบหลักในการผลิต หรือสวนผสมอื่นๆที่จําเปน จึงตองแนใจวาสวนผสมตางๆเหลานั้นไมไดมีที่มา

จากแหลงที่เปนฮะรอม (halal-approved animal) ตัวอยางที่สําคัญไดแก

ผลิตภัณฑ สวนผสมที่มักพบ

นม Emulsifier

เนย ครีม และ Half and Half Mono และ diglycerides

Dry milk powder Spray Drier

ชีส ( Cottage cheese, Mozzarella ,

Cheddar )

Milk - curding enzyme และ

Bacterial culture

78

Page 83: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

กลุมสินคาประเภทนี้ที่จัดวาเปนฮาลาล โดยหลักจะตองไมมีสวนผสมของเจลาติน ยกเวน

ที่เจลาตินที่มาจากสัตวตามหลัก Dhabiha Halal

4.3.2.3 สินคาประมง

ประเภทที่อนุญาตใหบริโภคได ไดแก ปลา และสัตวทะเลอื่นๆ (รวม shellfish) ที่ตายตาม

ธรรมชาติ จัดวาเปนฮาลาล และไมมีขอกําหนดวิธีการเชือด ยกเวน การปรุงสด (cooked alive) หรือ

ทรมานสัตวทั้งเปน ซึ่งถือวาตองหามตามหลักศาสนา สวนอาหารทะเลแปรรูปตองผานการตรวจสอบจาก

ผูตรวจการฮาลาล กอนจึงจะมีการกลาวอางคําวาฮาลาลบนผลิตภัณฑได

4.3.2.4 ผักและผลไม

- จัดเปนฮาลาลโดยธรรมชาติ ยกเวน ผักผลไมที่ผานการแปรรูปในสวนประกอบหรือ

เครื่องปรุงแตงที่ไมฮาลาล (น้ํามัน สารปรุงแตงอาหาร สีผสมอาหาร ไขมันสัตวบาง

ประเภท เปนตน)

- กระบวกการผลิตสินคาประเภทผักและผลไม ไมจําตองเปนตองมีชาวมุสลิมประจาํอยู

เพื่อควบคุมการผลิต แตตองแนใจไดวา วาวัตถุดิบ ผูจัดหาและกระบวนการแปรรูป

มีความเปนฮาลาลตลอดสาย ภายใตการรับรองจากองคกรผูตรวจสอบฯ ที่สถาน

ประกอบการใชบริการอยู

4.3.2.5 ขนมปง ผลิตภัณฑเบเกอรี่ตางๆ

เปนผลิตภัณฑที่บงบอกสถานะความเปนฮาลาลไดยาก เนื่องจากมักประกอบไปดวย

“สวนผสมอาหารซอนเรน” เชน ขนมปงสอดไส cheese stick หรือสวนผสมอาหารที่อาจเปนไดทั้งฮา

ลาลและฮะรอม (questionable ingredient) ประเภท ไขมัน น้ํามัน สีผสมอาหาร สารกันบูด หรือ

สวนผสมอาหารที่มีแอลกอฮอลผสม เปนตน

4.3.2.6 น้ํามันและไขมัน

ตองไมเปนไขมันที่มีที่มาจากสัตวตองหาม สําหรับน้ํามันพืชตองไมมีสวนผสมของสารปรุง

แตงหรือสารชวยผลิตอาหารที่เปนฮะรอม

4.3.2.7 สารปรุงแตงอาหาร สีผสมอาหาร สารกันบูด

ตองผานการแปรรูปโดยปราศจากแอลกอฮอลเปนวัตถุนํา

79

Page 84: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

4.3.2.8 แอลกอฮอลและผลิตภัณฑ

คําวา แอลกอฮอล หมายถึง Ethyl Alcohol ถือเปนสวนผสมตองหามบริโภคตามหลัก

ศาสนาอิสลามที่องคกรตรวจสอบและรับรองฯ ทั่วโลกใหความสําคัญ ในการตรวจสอบเพื่อรับรอง

สถานะความเปนฮาลาลของอาหาร โดยหลัก อาหารที่มีแอลกอฮอลปรากฏอยูจะถือเปนฮะรอมทันที

ยกเวน ไวนที่ถูกทําใหแปรสภาพเปนน้ําสมสายชู ซึ่งเปน alcohol- by-product แตถือวาเปนที่ยอมรับ

ในกลุมผูบริโภคทั่วไปวารับประทานได32

4.3.2.9 อาหารปรุงสําเร็จ หรือาหารที่มีสวนประกอบของสวนผสมหลายชนิด

เชน ซุป หรือสินคาอาหารที่มีเนื้อสัตวเปนสวนประกอบหลัก มักผานการแปรรูปดวยสวน

วัตถุดิบและสวนผสมอาหารหลายชนิดในหนึ่งผลิตภัณฑสําเร็จ ดังนั้น จึงเปนสินคาที่ควรตองไดรับการ

ตรวจสอบเปนพิเศษ และมีการควบคุมดูแลโดยผูตรวจการหรื

อผูตรวจสอบฮาลาลชาวมุสลิมตลอด

สายการผลิต (On-site Muslim control) เพื่อแนใจวาไมมีสวนผสมซอนเรนที่เปนฮะรอมปรากฏอยู

ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบไปยังแหลงที่มาของวัตถุดิบในสวนผสม (supplier source) ดวย

4.3.2.10 บรรจุภัณฑอาหาร

อาจเปนไดทั้งฮาลาลและฮะรอม ปกติ พลาสติก บรรจุภัณฑอาหารแชแข็งที่ใชอุนโดยเตา

ไมโครเวฟถือวาใชได อยางไรก็ตาม ตองระวังเรื่องแหลงที่มาวัสดุที่ใชในการผลิตของบรรจุภัณฑบาง

ชนิดซึ่งอาจมีสวนผสมซอนเรนที่เปนฮะรอมได เชน สาร stearate ซึ่งมักพบในกระบวนการผลิตบรรจุ

ภัณฑพลาสติก หรือบรรจุภัณฑที่มีโลหะเปนสวนประกอบซึ่งตองใชไขมันเปนตัวชวยในการผลิต ซึ่ง

อาจมีแหลงที่มาจากสัตวได เปนตน

การตรวจสอบและประเมินสถานะความเปนฮาลาลของบรรจุภัณฑกอนการอนุมัติรับรอง

สินคาอาหารฮาลาล ถือเปนอีกหนึ่งขั้นตอนสําคัญที่องคกรผูตรวจสอบฯ พึงบรรจุในกระบวนการ

ตรวจสอบและรับรองฯ และผูประกอบการตองเลือกใชบรรจุภัณฑประเภทที่ไดรับอนุมัติสําหรับการ

บรรจุสินคาอาหารเทานั้น

32 สมาคม IFANCA กําหนดอัตรายอมรับของแอลกอฮอลเปนสวนผสมในอาหารไวไมเกิน 0.5 % ในขณะทีก่ลุม Muslim Consumer Group ไมรับรองสินคาใดๆ ที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล

80

Page 85: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

4.3.2 มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติเพื่อการผลิตอาหารฮาลาลสําหรับผูประกอบการ 4.3.2.1 กระบวนการตรวจสอบและรับรอง

การกลาวอางสถานะความเปนฮาลาลของสินคาอาหาร สถานที่ผลิต นโยบายและหลัก

ปฏิบัติของผูประกอบการ จะตองไดรับการประเมินและตรวจสอบจากองคกรผูตรวจสอบฯ ที่มีชื่อเสียง

เปนที่ยอมรับจากกลุมผูบริโภค ในขณะที่องคกรผูตวรจสอบ ฯ ก็มีหนาทึ่ใหความชวยเหลือ

ผูประกอบการในการกําหนดแหลักปฏิบัติดานการผลิตและพัฒนามาตรฐานการดําเนินงานใหแก

ผูประกอบการ

สําหรับการผลิตสินคาอาหารฮาลาลที่มีระบบการผลิตแบบเดียวสม่ําเสมอ (non-

complex product) เชน การแปรรูปผักผลไมบรรจุกระปอง อาจไมจําตองมีผูตรวจการฯชาวมุสลิม

ขององคกรตรวจสอบฯ ประจําอยู ณ สถานประกอบการเพื่อควบคุมการผลิต ตลอดเวลาก็ได โดยอาจ

ใชวิธีจัดสุมตรวจสอบประจําปโดยไมตองแจงใหทราบลวงหนาเพื่อติดตามผลการดําเนินงานเปนครั้ง

คราวได ในกรณีนี้จะถือวาโรงงานและระบบการผลิตมีสถานะความเปนฮาลาลตลอดเวลา

การผลิตสินคาที่มีระบบการผลิตที่ซับซอน (Complex product) เชน สถานประกอบการที่

ประกอบธุรกิจการผลิตสินคาอาหารฮาลาลควบคูกับอาหารประเภทอื่นๆ ผูประกอบการมีหนาที่ตอง

กําหนดตารางเวลาการผลิตสินคาสินคาอาหารฮาลาล พรอมรายงานใหองคกรผูตรวจสอบอยาง

สม่ําเสมอ และตองมีการจัดเตรียมสถานที่ผลิตและอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชที่จําเปนกอนเริ่ม

กระบวนการผลิต รวมทั้งตองมีผูตรวจการชาวมุสลิมประจําอยู ณ สถานประกอบการเพื่อดูแลควบคุม

ตลอดสายการผลิต (วัตถุดิบ สวนผสมอาหาร บรรจุภัณฑ และการปดฉลาก)

องคกรตรวจสอบตองออกจดหมายยืนยันสถานะการรับรองมาตรฐานฮาลาลรายป ใหแก

ผูประกอบการ และเก็บรักษาขอมูลรายชื่อรหัสการผลิตสินคาแตละลอต เพื่อประโยชนในการอางอิง

ตอไป

สําหรับการรับรองสถานประกอบการเชือดสัตวเพื่อการผลิตเนื้อฮาลาลและผลิตภัณฑ

จะตองมีผูตรวจการชาวมุสลิมขององคกรฯ ประจําอยู ณ โรงเชือดเพื่อสังเกตการณและดูแลควบคุม

การดําเนินงานโดยตลอดสาย ตั้งแตเร่ิมเชือด การแยกชิ้นสวนเนื้อสัตว และการปดฉลากสินคา ซึ่งโดย

ปกติ มักเปนการออกใบอนุญาตสําหรับการเชือดแตละคร้ังเปนรายๆไป ยกเวนการรับรองโรงเชือด

สัตวฮาลาลโดยเฉพาะ

81

Page 86: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

2) การตรวจสอบและอนุมัติโรงงานและระบบการผลิต

หลักทั่วไป : ผูประกอบการตองคงความสม่ําเสมอในการปฏิบัติและดําเนินงานตาม

มาตรฐานที่องคกรกําหนดไว ทั้งการจัดการระบบการผลิต การคัดเลือกสวนผสมหรือสวนประกอบ

อาหาร และประเภทกลุมสินคาอาหารที่ผานการรับรอง โดยองคกรตรวจสอบมีหนาที่และอํานาจ

ดังตอไปนี้

- ทบทวนแผนผังโครงสราง นโยบาย และหลักปฏิบัติดานการผลิตของผูประกอบการ

ซึ่งรวมถึงการเขาตรวจสอบและประชุมหารือโดยตรงกับบุคลากรสวนบริหารจัดการของสถาน

ประกอบการดวย

-ประเมินความเปนเอกเทศและความนาเชือถือของการบริการจัดการ

-ทบทวนและอนุมัติรายชื่อสวนผสม/วัตถุดิบที่จัดซื้อและผูจัดหา และจัดทํากระบวนการ

ตรวจสอบเพิ่มเติมในกรณีที่มีรายชือผูจัดหารายใหมเกิดขึ้นระหวางที่ยังอยูในอายุการรับรองกอนการ

อนุญาตใหมีการใชสวนผสมหรือวัตถุดิบเชนวานั้น

- จัดทําเอกสารการอนุมัติรับรองเปนลายลักษณอักษรสําหรับการผลิตที่ไดรับการรับรอง

วาเปนฮาลาลเทานั้น

- กําหนดระยะเวลาและขอบเขตสิทธิของผูประกอบการในการใช กลาวอาง และโฆษณา

ชื่อ และ/หรือสัญลักษณตรารับรองขององคกรฯ บนสินคาที่ผานการรับรอง

- จัดทําการสุมตรวจสอบและเยี่ยมชมผลการดําเนินงานโดยไมตองแจงใหผูประกอบการ

ทราบลวงหนา ทบทวนกระบวนการทางสุขอนามัยและการใชสารเคมีเพื่อประเมินสุขลักษณะใน

โรงงาน

การอนุมัติโรงงานผลิตสําหรับการผลิตสินคาที่มีความซับซอน :

- หมายความถึงการผลิตสินคาที่มีเนื้อสัตวเปนสวนประกอบหลัก หรือการประกอบธุรกิจ

สินคาอาหารฮาลาลประเภท non-meat ควบคูกับการผลิตสินคาเนื้อสัตวสําหรับลูกคารายอื่นดวย โดย

มีขอกําหนดที่ตองปฏิบัติตาม ดังนี้

- ตองมีผูตรวจการของมุสลิมขององคกรตรวจสอบฯ ประจําอยู ณ สถานที่ผลิต เพื่อ

ควบคุมกระบวนการผลิตตลอดสาย ตั้งแต การคัดเลือกวัตถุดิบ สวนผสม การทําความสะอาดและ

ทบทวนการบรรจุและปดฉลากสินคา

82

Page 87: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- การผลิตสินคาที่ไมไดอยูในรายชื่อกลุมสินคารับรองควบคูผลิตสินคาฮาลาล ผูตรวจการ

ฮาลาลฯ จะตองแนใจวาไดมีการตรวจสอบสวนผสม วัตถุดิบ ความสะอาด และบรรจุภัณฑเพิ่มเติมทุก

คร้ัง

- ผูประกอบการมีหนาที่ตองรายงานสถานภาพการผลิตสินคาทั้งที่เปนฮาลาลและไมเปน

ใหองคกรผูตรวจสอบทราบอยางสม่ําเสมอ

- ตองมีการจัดทําระบบควบคุมการบรรจุสินคา เพื่อใหแนใจวาไดมีการปดฉลากกลาวอาง

ฮาลาลเฉพาะบนสินคาที่ผานการรับรองเทานั้น

ระบบการผลิตสินคาอาหารฮาลาลที่มีความซับซอน

มีข้ันตอนสําคัญที่ควรคํานึงถึง 3 ประการ ดังนี้

1. การเตรียมการผลิต ไดแก การทําความสะอาดสถานที่และอุปกรณเครื่องมือเครื่องใช

กอนการผลิต

2. การจัดทําเอกสารรับรองสถานภาพความเปนฮาลาลของสวนผสมและวัตถุดิบ

หมายถึงหนาที่ของผูประกอบการในการเตรียมและจัดสงรายชื่อสวนผสมและ

วัตถุดิบจัดซื้อ พรอมรายช่ือผูจัดหาสวนประกอบตางๆเชนวา ใหแกองคกรผูตรวจสอบฯ เพื่อพิจารณาใน

เบื้องตน (มอบใหผูตรวจการฮาลาลขององคกรฯ ระหวางการเขาตรวจเยี่ยมชมการผลิต สําหรับระบบการ

ผลิตสินคาแบบสม่ําเสมอ หรือ ใหกอนการเริ่มผลิตสําหรับการผลิตที่มีความซับซอน)

3. การจําแนก ขนสง เก็บรักษาสวนผสม/วัตถุดิบและบรรจุภัณฑ

การจําแนกสวนผสมหรือวัตถุดิบที่ใชเฉพาะกับการผลิตอาหารฮาลาลโดย

ผูประกอบการ ถือวาเปนขั้นตอนเสริมการตรวจสอบของผูตรวจการฮาลาลฯ ใหเปนไปอยางมี

ประสิทธิภาพมากขึ้น และชวยลดความเสี่ยงของการใชสวนผสมตองหามในอาหารฮาลาลโดยเฉพาะสินคา

อาหารที่มีเนื้อสัตวเปนสวนประกอบ ซึ่งเกิดการปนเปอนไดงาย

การจําแนกสินคา ยังหมายความถึง หนาที่ของผูประกอบการในการจัดเก็บ

ประเภทกลองหรือภาชนะที่ใชบรรจุสินคาฮาลาล (halal- certified box) แยกออกไมใหปะปนกับกลอง

บรรจุสินคาอาหารอื่นๆ ที่อยูในคลังสินคาเดียวกันดวย ในกรณีที่มีขอสงสัยเกิดขึ้น และผูประกอบการไม

สามารถอธิบายความสถานะความแตกตางของกลองสินคาแตละใบได องคกรผูตรวจสอบฯ มีอํานาจใน

การพิจารณายกเลิกใบอนุญาตรับรองที่ไดออกไปแลวใหกับสินคาอาหารฮาลาลซึ่งอยูในคลังสินคานั้นๆ

เปนการชั่วคราวได

83

Page 88: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ขอกําหนดเพิ่มเติมสําหรับโรงงานผลิตที่ผลิตสินคาอาหารที่ใชเนื้อหมูหรือผลิตภัณฑเปนสวนประกอบ

ตองมีการกําหนดระเบียบปฏิบัติเร่ืองการทําความสะอาดสถานที่ผลิตเปนพิเศษ และไม

อนุญาตใหมีการผลิตสินคาอาหารฮาลาลควบคูไปกับการผลิตอาหารที่ใชเนื้อหมูหรือผลิตภัณฑดังกลาว

โดยควรตองมีการแบงพื้นที่การผลิตออกจากกันโดยเด็ดขาด

ในกรณีนี้ ผูตรวจการขององคกรควรจัดใหมีการเขาเยี่ยมและตรวจสอบโรงงานผลิตกอน

เร่ิมการผลิต เพื่อแนใจวาไดมีการปฏิบัติตามระเบียบเรื่องความสะอาดและสุขอนามัยในโรงงานผลิตแลว

โดยหลักปฏิบัติที่ถือวาเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปไดแก การใชน้ําเดือด ไอน้ํา หรือสารเคมีเปนตัวชวยทํา

ความสะอาดพื้นที่ และอุปกรณเครื่องมือเครื่องใช เพื่อกําจัดสิ่งตกคางจากกระบวนการผลิตเนื้อหมูและ

ผลิตภัณฑ ดังกลาว ภายใตการควบคุมผูตรวจการฮาลาลชาวมุสลิมอยางใกลชิด

การควบคุมตรวจสอบการบรรจุภัณฑ

ไดแก การกําหนดขอตกลงระหวางองคกรผูตรวจสอบและผูประกอบการ เร่ือง วิธีการ

บรรจุสินคา ประเภทและลักษณะของบรรจุภัณฑที่จะใช รวมถึงการปดฉลากสินคาอาหาร โดยองคกรผู

ตรวจสอบฯ มีหนาที่คงไวซึ่งบันทึกขอมูลการเปรียบเทียบบัญชีสินคาคงคลัง สินคาที่จัดซื้อ และสินคาที่ใช

ในการผลิต เพื่อใหแนใจวาสินคาที่ไดรับการประทับตรารับรองทุกชิ้นไดผานการผลิตตามมาตรฐานฮาลาล

จริง

หามมิใหมีการใชตรายางประทับตราสินคาโดยมิไดผานการอนุมัติจากผูตรวจสอบ ณ

สถานที่ไมวาในกรณีใด สําหรับสถานประกอบการที่ใชฉลากที่ผลิตโดยผูประกอบการเอง ตองมีจดหมาย

รับรองจํานวนฉลากที่ใชสําหรับการผลิตแตละครั้ง ซึ่งมีการลงนามกํากับโดยตัวแทนเจาหนาที่ของ

ผูประกอบการ เพื่อจัดสงใหองคกรผูตรวจสอบรับทราบ

ระเบียบเรื่องการปดฉลาก

การใช กลาวอางชื่อ และหรือสัญลักษณตรารับรองขององคกรฯ บนผลิตภัณฑสินคา

อาหารของผูประกอบการตองไดรับการอนุญาตอยางเปนทางการจาก องคกรผูตรวจสอบฯ เจาของชื่อหรือ

สัญลักษณเชนวานั้นทุกครั้ง ยกเวนไดมีการตกลงกันเปนอยางอื่น ในกรณีที่มีการยกเลิกหรือระงับการให

การรับรองเปนการชั่วคราว

สินคาอาหารที่ไดรับการปดฉลากกลาวอางคําวา “ฮาลาล” ตองมีการระบุรายละเอียด

เกี่ยวกับองคกรผูใหการตรวจสอบและรับรองซึ่งสามารถอางอิงได อันประกอบไปดวย ชื่อและสัญลักษณ

ตรารับรองขององคกรฯ

84

Page 89: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ขอสังเกต สินคาที่มีคําวากลาวอางคําวา ฮาลาล โดยปราศจากแหลงที่มาอางอิงขององคกรผูตรวจสอบฯ

เปนไปไดวาเปนสินคาที่ผานการทบทวนจากกลุมชุมชนมุสลิมทองถิ่นเทานั้น

--------------------------------------------

85

Page 90: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

5บทที่

วิเคราะหปญหาและแนวทางการสงออกสินคาฮาลาลไทย กับตลาดในภูมิภาคอเมริกาเหนือ

5.1 ภาพรวม

จากรายงานการศึกษาภาวะตลาดสินคาอาหารฮาลาลของกระทรวงเกษตรแคนาดา

ระบุวา ปจจุบัน มีจํานวนชาวมุสลิมกวา 1,800 ลานคนในโลก จาก 186 ประเทศ และมีมูลคารวมของ

ตลาดอาหารฮาลาลโลกกวา 80, 000 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนอัตรารอยละ 20 ของมูลคาการซื้อขาย

ตลาดอาหารโลกทั้งหมด โดยมีความตองการนําเขาอาหารฮาลาลเฉลี่ยตอปกวา 256,000 ลานเหรียญฯ

ดังนั้น จึงมีความเห็นสอดคลองกันวา ตลาดอาหารฮาลาลเปนตลาดสินคามุสลิมขนาดใหญ ซึ่งมีลูทางที่จะ

ขยายตลาดไดอีกมาก และกําลังเปนที่สนใจของผูผลิตอาหารตางๆ ทั่วโลก

สําหรับประเทศไทย ในป 2549 สถิติการสงออกอาหารสินคาฮาลาลของไทย มีมูลคารวม

11,309.39 ลานเหรียญสหรัฐฯ โดยเพิ่มข้ึนจากป 2548 มูลคารวม 10,172.38 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิด

เปนมูลคาเฉลี่ยในชวง 2-3 ปที่ผานมา ปละประมาณ 3,700 ลานเหรียญสหรัฐฯ และมีสวนแบงประมาณ

375 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือรอยละ 0.2 ของตลาดอาหารฮาลาลโลก และหากเปรียบเทียบการสงออก

อาหารไปยังประเทศมุสลิมกับการสงออกอาหารทั้งหมดของไทย จะคิดเปนรอยละ 1.6 เทานั้น ในขณะที่

สวนแบงในตลาดโลกสําหรับการสงออกอาหารทุกชนิดของประเทศไทยอยูที่รอยละ 2.28 ซึ่งเปนอันดับที่

13 ของโลก โดยผลจากการที่ภาครัฐไดดําเนินการผลักดันอุตสาหกรรมฮาลาลตั้งแตป 2544 33 ทําให

แนวโนมการสงออกผลิตภัณฑอาหารไปยังประเทศมุสลิมในชวง 5 ป ที่ผานมาของไทยมีมูลคาเพิ่มข้ึน

ดังนั้น การจะบรรลุเปาหมายการเพิ่มมูลคาการสงออก 2-3 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ ภายในอีก 5 ป

ขางหนาดังที่รัฐบาลไทยไดตั้งไว ยังคงเปนเรื่องที่ตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝายทางภาครัฐและ

ผูประกอบการอยูมาก

ปจจุบัน การสงออกสินคาอาหารฮาลาลของไทย ยังคงมีตลาดที่สําคัญเปนกลุมประเทศ

ที่มีประชากรมุสลิมเปนหลัก ไดแก ประเทศในแถบแอฟริกาเหนือ กลุมประเทศตะวันออกกลาง ยุโรป

เอเซียใต อาเซียน และเอเซียกลาง เปนตน และมีกลุมอาหารที่ไดรับความนิยม คือ ไกแชเย็น แชแข็ง

33 ขอมูลจากกรมปศุสัตว

86

Page 91: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

อาหารทะเลแชเย็นและแชแข็ง แปรรูป ผัก - ผลไมสด กระปองและแปรรูป ผลิตภัณฑขาว อาหารสําเร็จรูป

พรอมรับประทานและซอสปรุงรสตาง ๆ เปนตน สําหรับสินคาเนื้อสัตวประเภทอื่น ๆ เชน เนื้อวัว แพะ แกะ

ไทยยังสงออกไมมากนัก เนื่องจากผลผลิตสวนใหญ ใชบริโภคภายในประเทศเปนสําคัญ และยังตอง

พัฒนาการผลิต และรูปแบบของผลิตภัณฑใหหลากหลาย และสอดคลองกับความตองการของตลาด โดย

ประเทศผูสงออกเนื้อฮาลาล ที่สําคัญ ไดแก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด เปนตน

5.2 ภาวะตลาดอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ ศักยภาพและโอกาสของประเทศไทย

ดังเปนที่เขาใจกันดีอยูแลววา ภาพรวมโอกาสในการการสงออกสินคาอาหารฮาลาลของ

ประเทศไทยนั้น มีขอไดเปรียบที่สําคัญ คือ การเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตสินคาอาหาร เพราะมี

วัตถุดิบและฐานการผลิตที่เพียบพรอม รวมถึงการผลักดันที่จริงจังจากหนวยงานภาครัฐทั้งทางดาน

นโยบายและกลยุทธการตลาดตางๆ

สําหรับตลาดในภูมิภาคอเมริกาเหนือ ซึ่งประกอบดวยประเทศสหรฐัอเมริกาและแคนาดา

ซึ่งเปนหนึ่งในกลุมประเทศเปาหมายการขยายโอกาสภายใตแผนงานสงเสริมและขยายตลาดสินคา

อาหารฮาลาลไทยในตางประเทศนั้น จากการศึกษาวิเคราะหโดยรวม พบวายังคงเปนตลาดที่มีศักยภาพ

โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา ถือเปนอีกประเทศหนึ่งที่มีอัตราการบริโภคอาหารฮาลาลสูง แมวาจะมีจํานวน

ของประชากรมุสลิมไมมาก แตเปนกลุมประเทศที่มีผูบริโภคกําลังซื้อขนาดใหญ บวกกับแนวโนมอัตราการ

ขยายตัวของประชากรมุสลิมในประเทศที่เพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง โดยมีมูลคาการบริโภคอาหารฮาลาลเฉลี่ย

กวา 1.3 พันลานเหรียญสหรัฐฯ ตอป คิดเปนรอยละ 6 ของมูลคาตลาดโลก อาหารฮาลาลจึงถือวายังขาด

อุปทานในตลาดดังกลาวอยูมาก จึงถือเปนตลาดที่นาสนใจสําหรับการเพิ่มชองทางการจําหนายสินคา

อาหารไทย เพื่อขยายฐานกลุมผูบริโภค

อยางไรก็ตาม ประเทศไทยมีขอจํากัดในการขยายตลาด เชน สินคาปศุสัตวประเภทเนื้อวัว

และผลิตภัณฑ ซึ่งเปนสินคาที่ไทยยังไมไดรับอนุญาตใหนําเขาในตลาดทั้งสองได ยกเวน เนื้อไกปรุงสุก

สําหรับประเทศแคนาดา ซึ่งเปนจัดไดวาเปนกลุมสินคาฮาลาลที่ไทยมีศักยภาพ แตยังคงตองมีขอควรระวัง

เร่ืองการระบาดของไขหวัดนก ซึ่งอาจเปนอุปสรรคสําคัญตอการสงออกดังกลาว ในขณะที่สหรัฐอเมริกา

เอง ก็ถือเปนคูแขงที่สําคัญของไทยสําหรับสินคาดังกลาวในตลาดแคนาดาดวย

ในสวนของประเทศไทย ทั้งสหรัฐฯ และแคนาดา ตางเปนประเทศคูคาสินคาอาหารที่สําคัญ

ของไทยอยูแลว ซึ่งในแตละป ไทยมีแนวโนมมูลคาการสงออกสินคาอาหารไปยังประเทศทั้งสองโดยรวม

87

Page 92: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

เพิ่มข้ึนทุกป )ป 2550 มูลคาการนําเขาสินคาเกษตรและอาหารของไทยในสหรัฐฯ ประมาณ 771.3 ลาน

เหรียญฯ และแคนาดา 247.5 ลานเหรียญฯ ( 34 มีกลุมสินคาอาหารที่นําเขาจากไทยสวนใหญ เปน

ผลิตภัณฑสินคาอาหารที่สามารถจัดเขากลุมอาหารฮาลาลได เชน อาหารทะเล ไกและผลิตภัณฑ )

แคนาดา (ผักและผลไมสดแชเย็น แชแข็งและแปรรูป เปนตน ซึ่งอาหารเหลานี้จัดเปนอาหารฮาลาลได

เพียงแตตองอาศัยการปรับกระบวนการผลิตใหถูกตองตามหลักศาสนาอิสลามและคํานึงถึงลักษณะความ

ตองการของผูบริโภคเปนสําคัญ โอกาสที่มีคือการเปลี่ยนสินคาเหลานี้ใหเปนฮาลาล เพื่อขยายตลาดและ

สงเสริมสินคาอาหารไทยในเวลาเดียวกัน ดังนั้นจึงเปนโอกาสดีในการขยายฐานกลุมผูบริโภค

5. 3 กิจกรรมการดําเนินงานที่สําคัญของสํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรตางประเทศ ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี . ภายใตโครงการศึกษาสินคากฏ ระเบียบ และมาตรฐานและระบบตรวจสอบและรับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

5.3.1 การสํารวจตลาดอาหารฮาลาลในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา เพื่อศึกษาและคนควาภาพรวมพฤติกรรมการบริโภคอาหารฮาลาล และปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อสินคาของผูบริโภค

สําหรับการศึกษาและคนควาพฤติกรรมการบริโภคอาหารฮาลาลในประเทศสหรัฐอเมริกา

และแคนาดาดังเนื้อหาที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้ คณะผูศึกษาวิจัยของสํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรฯ

นําโดย นายระพีภัทร จันทรศรีวงศ อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝายการเกษตร) และที่ปรึกษาโครงการศึกษา

กฏ ระเบียบ มาตรฐาน และระบบตรวจสอบรับรองสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ ) นางสาว

ยุพาวรรณ อุทิศกูล ( พรอมดวยคณะเจาหนาที่จากหนวยงานที่เกี่ยวของฯ ไดเดินทางไปสํารวจตลาด

สินคาฮาลาล ณ เมืองชิคาโก มลรัฐอิลลินอยส ประเทศสหรัฐอเมริกา และเมืองโตรอนโต เขตออนตาริโอ

ประเทศแคนาดา ซึ่งทั้งสองถือเปนแหลงพื้นที่ที่มีการเกาะกลุมของชุมชนชาวมุสลิมหนาแนน โดยสรุป

สาระสําคัญจากผลการสํารวจดังกลาว ได ดังนี้

- แหลงตลาดสินคาฮาลาล สวนใหญ มักกระจายอยู ณ เมืองหลวงของมลรัฐหรือเขต

การปกครองใหญๆ ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ หรือตามชานเมืองและมีจํานวนชาวอเมริกันมุสลิม

ปรากฏอยูหนาแนน โดยเฉพาะเมืองใหญที่มีอัตราการเกาะกลุมของประชากรสูง ซึ่งพบวามีรานจําหนาย

สินคาอาหารฮาลาลปรากฏอยูหลายรอยแหง และมักตั้งอยูในละแวกหรือทําเลใกลเคียงกัน เชน เมือง

34 ที่มา : U.S. International Trade Commission และ Canada Statistic

88

Page 93: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

นิวยอรก ลอสแองเจลิส ชิคาโก และพื้นที่ในเขตกรุงวอชิงตันดี .ซี .ในสหรัฐฯ หรือเมืองโตรอนโต เขตออน

ตาริโอ ในแคนาดา ซึ่งมีประชากรจํานวนประชากรมุสลิมของประเทศกวาครึ่ง เปนตน โดยมีรายไดหลัก

มาจากธุรกิจบริการอาหารประเภท Grocery Store และการจําหนายอาหารสําเร็จรูปตามภัตตาคาร

รานอาหารตางๆ เปนสวนใหญ ทั้งนี้ โดยจากการสํารวจและสอบถามกลุมผูบริโภคอาหารบางสวนพบวา

ปญหาหลักที่พบ คือ ภาวะขาดแคลนแหลงจําหนายสินคา และความยุงยากในการตามหาซื้อประเภท

ผลิตภัณฑที่ตรงความตองการ โดยเฉพาะในซุปเปอรมาเกตคาปลีกรายใหญ ซึ่งแมจะมีสาขากระจายอยู

หลายแหง แตเจาของธุรกิจรานคาประเภทนี้ สวนใหญพบวามักไมใหความสําคัญกับการจัดวางผลิตภัณฑ

ฮาลาลแยกเปนหมวดหมู ทําใหหาซื้อสินคาไดยาก ตางจากการแสดงสินคาอาหารโคเชอรซึ่งมีการแยกเปน

สัดสวนใหเห็นอยางชัดเจน ผูบริโภคจึงตองทดแทนดวยการซื้ออาหารฮาลาลจากรานคาปลีกทองถิ่น ซึ่งก็

มีขอจํากัดเรื่องประเภทผลิตภัณฑที่อาจมีใหเลือกนอย ไมตรงกับความตองการ เปนตน นอกจากนี้ ยังมี

สาเหตุมาจากผลิตภัณฑอาหารที่วางจําหนายอยูตามตลาด ซึ่งบางครั้งอาจจัดวาเปนสินคาที่อยูในกลุมฮา

ลาลได แตไมไดรับการระบุวาเปนสินคาฮาลาล เนื่องจากไมมีตรารับรองหรือการปดฉลากแสดงสถานะของ

อาหาร ทําใหเกิดปญหาความไมแนใจในผลิตภัณฑ และทําใหมีผูบริโภคบางสวนหันไปเลือกทานอาหารโค

เชอรซึ่งมีใหเลือกเยอะกวาและหาซื้อไดงายกวาแทน

- ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑอาหารฮาลาล ที่สําคัญที่สุด คือ ตรารับรอง

สินคาอาหารฮาลาล ราคา รูปแบบของสินคา การประชาสัมพันธ แนะนํา และสงเสริมการขายสินคา

ตามลําดับ

ดังไดกลาวมาแลววา มาตรฐานการผลิตอาหารฮาลาล มีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับความ

เชื่อทางศาสนา ซึ่งมีองคประกอบสําคัญที่ตางจากมาตรฐานการผลิตสินคาอาหารทั่วไป และมีกลุม

ผูบริโภคที่มีความตองการแบบลักษณะเฉพาะ ดังนั้น สินคาอาหารฮาลาลที่มีตรารับรอง โดยเฉพาะผาน

การรับรองจากองคกรตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน ฯ ที่มีชื่อเสียงและเปนที่ยอมรับในตลาด จึงถือเปน

ปจจัยหลักมีสวนชวยในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑอาหารฮาลาลของผูบริโภคในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

อยางมาก เพราะจะมั่นใจในสินคาที่มีตราฮาลาลมากกวาที่ไมมีตรา และ การใชเครื่องหมายฮาลาลบน

ฉลากของผลิตภัณฑฮาลาลทุกชนิด ถือวามีบทบาทสําคัญที่ชวยสงเสริมการขาย โดยเฉพาะกับการสงเสรมิ

ภาพลักษณที่ดีใหกับสินคาที่ผลิตจากประเทศที่ไมใชมุสลิม แมวาผลิตภัณฑบางชนิด อาจไมจําเปนที่

จะตองแสดงเครื่องหมายฮาลาล เพราะถือเปนอาหารฮาลาลโดยธรรมชาติอยูแลว เชน ผลิตภัณฑจาก

อาหารทะเล ผักและผลไมสด เปนตน แตถามีเครื่องหมายฮาลาลแสดงอยูที่หีบหอ หรือฉลากก็จะมีผลตอ

การเลือกซื้อของผูบริโภคมากยิ่งขึ้น

89

Page 94: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

สําหรับผลิตภัณฑสินคาอาหารไท ที่มีสัญลักษณตรารับรองจากสถาบันมาตรฐานฮาลาล

สํานักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย จากการสอบถามกลุมชาวมุสลิมในเมืองชิคาโก

และโตรอนโตบางสวนพบวา ตรารับรองของไทยยังไมเปนที่รูจักแพรหลายในตลาดดังกลาวมากนัก

อยางไรก็ตาม ปจจุบัน ประเทศไทย กําลังเริ่มเปนที่รูจักของกลุมผูสงออกอาหารฮาลาลในฐานะประเทศ

ผูบุกเบิกตลาดรายใหม ซึ่งมีระบบบริหารการรับรองมาตรฐานการผลิตที่เปนที่ยอมรับ โดยเฉพาะ

ชื่อเสียงดานแนวคิดการริเร่ิมนําหลักการวิทยาศาสตรมาประยุกตใชกับกิจการตรวจสอบและวิเคราะห

อาหารฮาลาลเปนรายแรกของโลก ภายใตการดําเนินงานของศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย ผนวกกับการมีสัมพันธภาพดานกิจการฮาลาลที่ดีกับองคกรผูตรวจสอบและรับรองสินคา

อาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือและภูมิภาคอื่นๆ มาโดยตลอด จึงถือเปนจุดแข็งที่ไทยควรนํามาใช

ประชาสัมพันธ เพื่อสงเสริมภาพลักษณอาหารฮาลาลไทยใหเปนที่เชื่อถือของชาวมุสลิมในตลาดดังกลาว

ตอไป

- พฤติกรรมการบริโภค ปจจุบัน ผูบริโภคมีแนวโนมใหความสนใจการบริโภคอาหารเพื่อ

สุขภาพมากขึ้น โดยมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงทดแทนการบริโภคเนื้อสัตวดวยอาหารประเภทผัก ผลไม มาก

ข้ึน

2 5.3. การติดตามและขยายผลความรวมมือดานกิจการฮาลาลกับองคกรตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือ

ไดแก การนําคณะผูแทนจากฯ สํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรฯ และหนวยงานภาครัฐ

ของไทยเขารวมศึกษาดูงานและประชุมหารือ พรอมแลกเปล่ียนขอคิดเห็นเรื่องการขยายแนวทางความ

รวมมือดานกิจการฮาลาล กับตัวแทนคณะผูบริหารระดับสูง จากองคกรตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน

สินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือทั้งสามแหง ไดแก สมาคมอิสลามแหลงอเมริกาเหนือ (Islamic

Society of North America: ISNA) สมาคมอาหารและโภชนาการอิสลามแหงสหรัฐอเมริกา (the

Islamic Food and Nutrition Council of America: IFANCA) และกลุมคุมครองผูบริโภคชาวมุสลิมแหง

สหรัฐอเมริกา (Muslim Consumer Group) สรุปสาระสําคัญ ดังนี้

) Islamic Society of North America: ISNA) 5.3.2.1 สมาคมอิสลามแหงอเมริกาเหนือ

1) ภารกิจของสํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรตางประเทศฯ

วันที่ 12 กรกฎาคม 2550 คณะผูแทนไทย นําโดยอัครราชทูตที่ปรึกษา )ฝายการเกษตร

( สํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรฯ พรอมดวย ผูอํานวยการสํานักสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ นครโต

90

Page 95: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

รอนโต (นายศรีวัฒน สุวรรณ) คณะผูแทนจากสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ และที่

ปรึกษาโครงการวิจัยสินคาอาหารฮาลาลในทวีปอเมริกาเหนือฯ ไดเดินทางไปยังเมือง Toronto เขต

Ontario ประเทศแคนาดา เพื่อเขาพบและรวมประชุมหารือกับ Dr. Mohammad Ashraf เลขาธิการ

สมาคม ISNA และนาย Ehsan Sailrally ที่ปรึกษาสมาคมฯ โดยที่ประชุม ไดหารือและแลกเปลี่ยนความรู

ดานระบบการตรวจสอบและรับรองสินคาฮาลาลระหวางทั้งสองฝาย พรอมติดตามความคืบหนาและ

ขยายผลการลงนามในบันทึกขอตกลง (MOU) ระหวางสมาคม ISNA กับสถาบันมาตรฐานฮาลาลและ

ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ไดลงนามไปเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2549 อันมี

จุดประสงคเพื่อสรางความรวมมือดานกิจการฮาลาระหวางทั้งสองฝาย ภายใตการดําเนินงานตามโครงการ

เจาะตลาดอาหารฮาลาลเชิงรุกในภูมิภาคอเมริกาเหนือ และแผนงานสงเสริมและขยายตลาดสินคาอาหาร

ฮาลาลไทยในตางประเทศ

ในการนี้ เพื่อใหเกิดผลประโยชนที่เปนรูปธรรมระหวางสองฝายโดยเร็ว อัครราชทูตที่

ปรึกษา )ฝายการเกษตร (ไดเชิญ เลขาธิการสมาคมฯ และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของจาก ISNA เดินทางมายัง

ประเทศไทยเพื่อศึกษาดูงานและหารือแนวทางความรวมมือที่เปนรูปธรรมเรื่องการสรางกลไกการยอมรับ

รวมระบบการตรวจสอบสินคาฮาลาลระหวางไทย- ISNA และความรวมมือดานเทคนิคอ่ืนๆ เพื่อการ

ขยายการสงออกสินคาฮาลาลระหวางกัน โดยเลขาธิการสมาคม ISNA ไดตอบรับคําเชิญ พรอมแสดง

ความสนใจเขารวมประชุมหารือในเรื่องดังกลาวกับหนวยงานของไทยที่เกี่ยวของ

คณะผูแทนจากสํานักงานที่ปรึกษาการเกษตร ฯ และสํานักสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ นครโตรอนโต เขาพบและรวมประชุมหารือกับ เลขาธิการสมาคม ISNA และเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของ

ภาพที่ 1 จากซาย ( ท่ีปรึกษาโครงการอาหารฮาลาล ฯ, เลขาธิการสมาคม ISNA (Dr.Mohammad Ashraf) , อัครราชทูตท่ีปรึกษา )ฝายการเกษตร ( นายระพีภัทร จันทรศรีวงศ)

ผูอํานวยการสํานักสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ นครโตรอนโต (นายศรีวัฒน สุวรรณ) และท่ีปรึกษาสมาคม ISNA ( Mr. Ehsan Sairally)

91

Page 96: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

2) สถานการณความคืบหนาลาสุด

จากผลการเจรจาหารือดังกลาว เมื่อวันที่ 18-24 พฤษภาคม 2551 Dr. Mohammad

Ashraf เลขาธิการสมาคม ISNA ไดเดินทางมาเยือนประเทศไทย เพื่อศึกษาดูงานและรวมประชุมหารอืการ

จัดทําแผนความรวมมือดานกิจการฮาลาลระหวางไทย-แคนาดา และความรวมมือดานเทคนิคอ่ืนๆ กับ

ตัวแทนคณะผูบริหารและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของจากหนวยงานภาครัฐและผูประกอบการของไทย และเพื่อ

กระชับความสัมพันธและสรางการยอมรับในคุณภาพและมาตรฐานสินคาอาหารฮาลาลสงออกของไทยไป

ยังแคนาดา โดยมีประเด็นตางๆ สรุปได ดังนี้ 35

(1) การศึกษาดูงานและประชุมหารือการจัดทําแผนความรวมมือดานกิจการฮาลาลไทย-

แคนาดา กับหนวยงานภาครัฐและผูประกอบการของไทย ไดแก

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ -

- กรมปศุสัตว

ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย -

คณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย -

- สถาบันมาตรฐานฮาลาลแหงประเทศไทย

สมาคมผูผลิตไกเพื่อการสงออกไทย -

บริษัท CPF ผลิตภัณฑอาหาร จํากัด -

บรรยากาศภายในหองประชุม คณะสหเวชศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (จากซาย) ดร. วินัย ดะหลัน ผูอํานวยการ ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาฯ

เลขาธิการสมาคม ISNA และคณาจารยจากคณะสหเวชศาสตรจุฬาฯ

35 ขอมูลจาก สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาต ิ มิถนุายน 2551

92

Page 97: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ภาพการเขารวมประชุมหารือดานกิจการฮาลาลไทยระหวางเลขาธิการ สมาคม ISNA และ คณะผูบริหารจากศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณหาวิทยาลัย เม่ือวันที 20 พฤษภาคม 2551

ภาพจาก : ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย http://www.halalscience.org)

ภาพจาก : สํานักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย (http://www.cicot.or.th)

ภาพการเขาเยี่ยมชมและศึกษาดูงานของเลขาธิการสมาคม ISNA เม่ือวันท่ี 20 พฤษภาคม 2551 ณ สถาบันมาตรฐานฮาลาลแหงประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย

โดยมีศ.พล.ท ดร .สมชาย วิรุฬหผล ผูอํานวยการสถาบันฯ ดร .อดิศักดิ์ อัสมิมานะ ท่ีปรึกษาสถาบันฯ และคณะผูบริหารระดับสูงของสถาบันฯ

พรอมดวยผูแทนสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติใหการตอนรับ

(2) ผลการศึกษาผลของการศึกษาดูงานและหารือดานกิจการอาหารฮาลาลของ

เลขาธิการสมาคมอิสลามแหงอเมริกาเหนือภายใต MOU ระหวาง ISNA และองคกรของไทย ซึ่ง

ประกอบดวยศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันมาตรฐานฮาลาลแหงประเทศไทย

และคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย ดังนี้

2.1 มาตรฐานอาหารฮาลาลไทยไดรับการรับรองและตราสัญลักษณฮาลาลไทยเปนที่รูจัก

และยอมรับในตลาดอาหารของแคนาดาโดยสถาบันมาตรฐานอาหารฮาลาลแหงประเทศไทย มีระบบใน

การตรวจสอบรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลของไทยที่ไดมาตรฐานและมีคุณภาพ โดยความรวมมือของ

คณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทยและศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ

ในเดือนพฤศจิกายน 2551 จะมีการจัดประชุม Conference Halal Food ที่กรุงเทพฯ

2.2 เดือนตุลาคมและพฤศจิกายน 2550 ไดมีเจาหนาที่จาก CFIA (Canadian Food

Inspection Agency) มาตรวจรับรองระบบมาตรฐานและระบบควบคุมโรงงานสัตวปกของไทย โดยการ

ประสานของกรมปศุสัตว และสมาคมผูผลิตไกเพื่อการสงออกไทยมีความสนใจเรื่องการเปดตลาดใหมใน

93

Page 98: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ประเทศแคนาดา ซึ่งในเรื่องดังกลาวทางสมาคมผูผลิตไกเพื่อการสงออกไทยจะไดมีการหารือรวมกับ

กระทรวงพาณิชยตอไป

.มกอช .(3) ในโอกาสเขาเยี่ยมคารวะ ผอ ซึ่งไดมีการหารือเร่ืองการใชตราสัญลักษณ

อาหารฮาลาลของ ISNA คูกับตราสัญลักษณอาหารฮาลาลของคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศ

ไทย เลขาธิการสมาคม ISNA ไดกลาววาตราสัญลักษณอาหารฮาลาลของ ISNA ประกอบดวยสัญลักษณ

2 ชนิด คือ ตราสัญลักษณสําหรับอาหารปรุงสุก และตราสัญลักษณสําหรับอาหารสด และการใชชื่อ

ผลิตภัณฑอาหารฮาลาลใหเหมาะสม

5.3.2.2 สมาคมอาหารและโภชนาการอิสลามแหงสหรัฐอเมริกา (the Islamic Food and Nutrition Council of America: IFANCA) และกลุมคุมครองผูบริโภคชาวมุสลิม (Muslim Consumer Group: MCG)

- เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2551 คณะตัวแทนจากสํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรฯ ไดนํา

คณะผูแทนจากสํานักสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ นครชิคาโก ซึ่งประกอบดวย ผูอํานวยการฯ (นาง

สมรรัตน สนิทวงศ ณ อยุธยา) และ ผูชวยผูอํานวยการฯ (นายนิวัฒน หาญสวัสด์ิ) เขาพบและประชุม

หารือกับ Dr. Mahammad Munir Chaudry ประธานสมาคม IFANCA ณ ศูนยวิจัยสินคาฮาลาล

สํานักงานใหญสมาคม IFANCA เมืองชิคาโก มลรัฐอิลลินอยส และในชวงบายของวันเดียวกัน ไดเขาพบ

Mr. Syed Rasheeduddin Ahmed ประธานกลุมผูบริโภคมุสลิมแหงสหรัฐอเมริกา (MCG) ณ สํานักงาน

ใหญMuslim Consumer Group เมือง Huntley มลรัฐอิลลินอยส ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีประเด็น

ตางๆ สรุปไดดังนี้

1. การแลกเปลี่ยนความรูดานระบบการตรวจสอบและรับรองสินคาอาหารฮาลาล

(รายละเอียดดังปรากฏตามเนื้อหาในบทที่ 4)

2. การติดตามความคืบหนาเพื่อขยายผลการลงนามความรวมมือดานกิจการฮาลาลใน

บันทึกขอตกลง (MOU) ฉบับลาสุดระหวางองคกรตรวจสอบฯ ทั้งสองและฝายไทย

ที่ประชุม ไดหยิบยกประเด็นเรื่องความคืบหนาลาสุด ณ ปจจุบัน เกี่ยวกับดําเนินงาน

ภายหลังจากการลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือดานกิจการฮาลาลระหวางระหวางฝายไทยและ

องคกรทั้งสอง พบวา โดยรวมขณะนี้ยังไมมีความคืบหนาเพิ่มเติมมากนัก โดยทางตัวแทนผูบริหารสมาคม

ฯ คาดหวังวา จะไดมีการขยายผลความรวมมือที่เปนรูปธรรมในเรื่องดังกลาวกับหนวยงานที่เกี่ยวของของ

ฝายไทยทั้งภาครัฐและภาคเอกชนมากกวานี้ โดยตองการใหฝายไทยสนับสนุนใหผูประกอบการเล็งเห็นถึง

94

Page 99: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ความสําคัญของการสงเสริมความรวมมือดานการรับรูรวมกัน ตอการอางอิงมาตรฐานการผลิตสินคา

อาหารฮาลาล หรือการสรางกลไกการยอมรับรวมระบบการตรวจสอบและรับรองที่มีแนวทางคลายคลึงกัน

อันจะกอใหเกิดประโยชนรวมกันทั้งแกผูประกอบการและผูบริโภคของทั้งสองประเทศ

3. ภาวะตลาดสินคาอาหารฮาลาลในสหรัฐอเมริกาและทิศทางการขยายตลาดสินคาฮาลาลของ

ประเทศไทย

ที่ประชุม ไดหารือในเรื่องดังกลาว โดยทางสมาคม IFANCA ไดใหความเห็นวา ตลาด

อาหารฮาลาลในสหรัฐฯ ถือเปนตลาดสินคาอาหารประเภท Ethnic Food ใหมที่มีศักยภาพการเติบโตสูง

มาก โดยเฉพาะเมื่อคํานึงถึงปจจัยดานแนวโนมการเจริญเติบโตของชาวมุสลิมในประเทศ และกําลังการ

ซื้อของกลุมกลุมชาวอเมริกันมุสลิมรุนใหม ที่พบวาปจจุบันหันมาใหความสนใจกับการบริโภคสินคาอาหาร

ฮาลาลในรูปแบบใหมๆมากขึ้น เชน การรับประทานอาหารนอกบานหรืออาหารสําเร็จรูป สืบเนื่องมาจาก

การเปลี่ยนแปลงรูปแบบชีวิตความเปนอยูใหเขากับวัฒนธรรมของชาวอเมริกัน โดยเฉพาะการซึมซับ

พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เนนความสะดวกสบายเปนหลัก

นอกจากนี้ แนวโนมการรุกเจาะตลาดสินคาอาหารฮาลาลโดยผูคาปลีกสินคาอาหารขนาด

ใหญของสหรัฐฯ เชน การเปด section สินคาอาหารฮาลาลพื้นที่ขนาดใหญโดยเฉพาะของหาง Wal-Mart

ในเมือง Detroit มลรัฐ Michigan เมื่อเดือนมกราคม ยังถือวาเปนปจจัยหนึ่งแสดงใหเห็นวาทิศทางการคา

อาหารฮาลาลในสหรัฐฯ ยังสามารถขยายตัวออกไปไดอีก ดังนั้น การนําเขาอาหารฮาลาลเพื่อจําหนายใน

รานคาปลีกสินคาอาหารของสหรัฐฯ ดังกลาว จึงถือเปนอีกหนึ่งชองทางการขยายตลาดอาหารฮาลาลของ

ไทยที่นาสนใจ โดยเฉพาะการเจาะตลาดผูคาปลีกสินคาอาหารรายใหญเชน หาง Wal-Mart, Costco หรือ

ซุปเปอรมาเก็ตรายยอยในเครือ ซึ่งมีสาขากระจายอยูหลายแหงทั่วประเทศ และมีชื่อเสียงเปนที่รูจักในกลุม

ผูบริโภคของสหรัฐฯ อยูแลว

สําหรับกลุมสินคาอาหารฮาลาลที่สมาคม IFANCA เห็นวาไทยนาจะมีโอกาสสงออก

มายังตลาดสหรัฐฯ ไดแก สินคาอาหารทะเลแชเย็นหรือแชแข็ง ผักและผลไมสด และผลิตภัณฑประเภท

Non-Meat Product ซึ่งสินคาเหลานี้สามารถจัดอยูในกลุมฮาลาลและไทยอยูในวิสัยที่จะดําเนินการ

สงออกมา ไดอยูแลว เพียงแตตองปรับกระบวนการผลิตใหถูกตองตามหลักศาสนาอิสลาม และคํานึงถึง

ลักษณะความตองการของตลาด โดยการนําเสนอรูปแบบสินคาใหสอดคลองความกับวิถีความเปนอยูของ

กลุมผูบริโภคใหมากที่สุด เชน การสงออกอาหารฮาลาลในรูปแบบอาหารสําเร็จรูปพรอมรับประทาน

อาหารกระปอง หรืออาหารแชแข็งซึ่งจัดวาเปนที่นิยมอยูแลว เนื่องจากชาวอเมริกันมักมีพฤติกรรมการ

บริโภคที่เนนความสะดวกเปนหลัก เปนตน

95

Page 100: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

5.4 สรุปปญหา ขอเสนอแนะและขอคิดเห็นการวิเคราะหศักยภาพตลาดสินคาอาหารฮาลาลในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา

5.4.1 ปญหาและขอจํากัด

- ปญหาสินคากระจายไดไมทั่วถึงและขอจํากัดดานชองทางการจําหนายสินคา

ดังไดกลาวมาแลววา การจําหนายสินคาอาหารฮาลาลในสหรัฐฯและแคนาดา ครอบคลุม

ถึงธุรกิจการจําหนายอาหารไดหลายลักษณะ ตั้งแตรานคาทองถิ่นไปจนถึงธุรกิจการจําหนายอาหารบน

เครื่องบิน อยางไรก็ตาม จากการสํารวจตลาดตามตลาดในเมืองใหญในสหรัฐฯและแคนาดา พบวา

สินคาอาหารฮาลาลของไทยมีจุดออน คือ ยังกระจายไดไมทั่วถึง โดยสวนใหญจะมีขายในหางใหญๆ และ

เมืองใหญเทานั้น และมีการวางอยางกระจัดกระจาย เนื่องจากสวนใหญผูคาปลีกไมคอยใหความสําคัญ

กับการจัดวางสินคา ทําใหผูบริโภคอาหารไทยมีขอจํากัดอยูเฉพาะผูมีฐานะเทานั้น ในขณะที่จากการ

สอบถามผูบริโภคชาวมุสลิมบางสวน พบวา แหลงที่สามารถพบสินคาอาหารฮาลาลไดงายที่สุดในตลาดดงั

กลาวคือรานคาอาหารฮาลาลทองถิ่น ซึ่งมีประเภทสินคาใหเลือกหลากหลาย แตการเจาะตลาดกลุม

ธุรกิจประเภทนี้ ถือวากระทําไดคอนขางยาก เพราะรานคาเหลานี้สวนใหญมีลักษณะเปนกิจการเปนผูคา

รายยอย ในลักษณะของธุรกิจครอบครัว )Family own) ซึ่งมักจะผูกมัดกับผูขายสงเจาประจํา จึงคาดวาจะ

มีการเปดรับสินคาใหมๆ จากตางประเทศยาก โดยเฉพาะสินคาที่ผลิตจากประเทศที่ไมไดมีภาพลกัษณเปน

มุสลิมเชนไทย จึงเปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหสินคาอาหารฮาลาลไทยอาจยังไมเปนที่รูจักเทาที่ควรของกลุม

ผูบริโภคตลาดดังกลาว

- ปญหาภาพลักษณของประเทศ (มิใชเปนประเทศมุสลิม)

เชนเดียวกับชาวมุสลิมทั่วโลก ผูบริโภคสวนใหญในตลาดตะวันตก ยังคงยึดติดกับ

ภาพลักษณของประเทศไทยที่ไมไดเปนประเทศมุสลิมอยู ซึ่งสงผลกระทบตอความนาเชื่อถือของสินคา

ฮาลาลที่ผลิตจากประเทศไทยอยางมาก เนื่องจากสวนใหญไมทราบวาไทยมีฐานชาวมุสลิมอาศัยอยู

หนาแนน และมีการระบบการบริหารจัดการดานศาสนาอิสลามและการรับรองมาตรฐานฮาลาลที่ชัดเจน

ในขณะที่คูแขงสําคัญอยางประเทศมาเลเซีย มีขอไดเปรียบในเร่ืองการเปนประเทศมุสลิม และรัฐบาลได

ดําเนินการอยางจริงจังเพื่อผลักดันใหประเทศเปนศูนยกลางธุรกิจสินคาฮาลาลโลก โดยใชกลยุทธ

การตลาดแบบมุงไปยังฐานกลุมลูกคาโดยตรง ซึ่งมีตลาดอเมริกาเหนือเปนกลุมเปาหมายใหมที่สําคัญ

เชนเดียวกันกับไทย ในขณะเดียวกัน การสงออกอาหารฮาลาลไทยมักอยูในรูปวัตถุดิบ หรือรับจางผลิต

96

Page 101: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

อาหารแปรรูปสงไปยังมาเลเซียและอินโดนีเซียเพื่อติดยี่หอของตนเองแลวสงตอไปทําใหไดมูลคาเพิ่มอยาง

สูง ในสวนนี้จึงถือไดวาเปนทั้งตลาดและคูแขงที่สําคัญของไทย

ปญหาดานความสนใจของผูประกอบการไทย -

เปนขอจํากัดที่สําคัญอีกประการที่สําคัญของการขยายโอกาสตลาดสินคาฮาลาลไทยใน

ภูมิภาคอเมริกาเหนือ คือ นอกจากจะมีจํานวนผูประกอบการธุรกิจดานนี้นอยแลว สวนใหญยังพบวาไม

คอยเห็นความสําคัญของโอกาสในตลาดดังกลาว หรือขาดทักษะความรูความเขาใจอยางแทจริงใน

หลักการผลิตสินคาอาหารฮาลาล ซึ่งสวนหนึ่งอาจเปนเพราะการขาดความเปนเอกเทศของมาตรฐานการ

ผลิตสินคาดังกลาว จึงทําใหเกิดความเขาใจที่แตกตางกันไป ดังนั้น การโอกาสในการขยายสินคาดังกลาว

ของไทยใหเปนที่รูจักในกลุมผูบริโภคตลาดใหมในลักษณะนี้ จะตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝาย โดย

ตองมีหนวยงานกลางจากภาครัฐเขาไปประสานและกระตุนใหผูประกอบการไทยเห็นความสําคัญของ

กําลังซื้อของผูบริโภคในตลาดที่อยูในประเทศที่ไมใชกลุมประเทศมุสลิม และหันมาใหความสนใจกับการ

ลงทุนเพื่อชวยขยายฐานกลุมผูบริโภคอาหารไทยในของตลาดดังกลาวมากขึ้น โดยไมไดมองแตขนาดของ

ประชากรมุสลิม อยางเดียว พรอมเรงสรางความเขาใจถึงความสําคัญของการจัดทําระบบการผลิตสินคาที่

ไดคุณภาพตามมาตรฐาน ทั้งมาตรฐานอาหารสากลอาหารฮาลาล ( Halal Codex, HACCP, GMP) และ

มาตรฐานเอกชนขององคกรที่มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับในกลุมผูบริโภค

- ปญหาขอจํากัดการนําเขาสินคาบางอยางและมาตรการกีดกันทางการคาอื่นๆที่มิใชภาษี

สินคาบางประเภท ประเทศไทยมีขอจํากัดในการขยายตลาด เชน สินคาปศุสัตวประเภท

เนื้อวัวและผลิตภัณฑ ซึ่งเปนสินคาอาหารฮาลาลที่ไดรับความนิยมบริโภคสูงสุด แตเปนสินคาที่ไทยยัง

ไมไดรับการเปดตลาดใหนําเขาในประเทศทั้งสองดังกลาว ยกเวน เนื้อไกปรุงสุกสําหรับประเทศแคนาดา

ซึ่งเปนจัดไดวาเปนกลุมสินคาที่จะจัดเขากลุมฮาลาลได แตยังคงตองมีขอควรระวังเรื่องมาตรการดาน

สุขอนามัย เชน ปญหาการระบาดไขหวัดนก และกฏระเบียบความปลอดภัยอาหารตางๆ ที่บังคับใชโดย

รัฐบาลสหรัฐฯและแคนาดา เชน สินคาอาหารถูกปฏิเสธการนําเพราะมีส่ิงปนเปอน ซึ่งเปนปญหาที่พบ

บอยในสินคาอาหารของไทย และเปนอุปสรรคสําคัญสําหรับการ สงออกไปยังตลาดในประเทศทั้งสองมา

โดยตลอด

97

Page 102: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

5. 4 .2 ขอเสนอแนะ/ขอคิดเห็น

5. 4.2.1 ภาครัฐของไทยควรใหความสําคัญกับการเรงประชุมหารือแนวทางความรวมมอืที่

เปนรูปธรรมเพื่อจัดทําแผนงานการอางอิงมาตรฐานหรือตรารับรองฮาลาลรวมกัน (Dual

Branding/Standard) ระหวางฝายไทยกับองคกรตรวจสอบและรับรองฯในทวีปอเมริกาเหนือทั้งสาม

เปาหมาย : เพื่อเพิ่มความนาเชื่อถือใหกับภาพลักษณสินคาอาหารที่มีตรารับรองจาก

ประเทศไทย

ขอเสนอแนะ : การจะทําใหอาหารฮาลาลไทยสามารถแขงขันไดในตลาดภูมิภาคอเมริกา

เหนือนั้น ไมเพียงแตจะตองควบคุมมาตรฐานการผลิตใหไดตามมาตรฐานอาหารระดับสากล แตยังรวมถึง

พัฒนาการระบบรับรองฮาลาลของไทยใหไดมาตรฐานเทียบเทาหรือสอดคลองกับมาตรฐานที่กําหนดโดย

องคกรผูตรวจสอบและรับรองที่ไดรับความเชื่อถือจากผูบริโภคในภูมิภาคดังกลาวดวย เนื่องจาก ตรา

รับรองของไทยยังไมเปนที่รูจักแพรหลายในตลาดอเมริกาเหนือ ดังนั้น ประเทศไทยควรวางแผนการ

ดําเนินงานใหตรารับรองฮาลาลของไทยเปนที่รูจักในภูมิภาคแถบนี้มากขึ้น โดยหนวยงานที่เกียวของของ

ไทยตองมีความชัดเจนในการกําหนดทิศทางยุทธศาสตรดานการเจรจากับตัวแทนผูบริหารองคกร

ตรวจสอบฯทั้งสามองคกร ที่สําคัญคือ การเรงผลักดันการจัดทําแผนพัฒนาระบบการอางอิงมาตรฐาน

หรือตรารับรองฮาลาลรวมกัน รวมทั้งการจัดทําบันทึกขอตกลง (MOU) เพิ่มเติมดานกิจการฮาลาลและ

ความรวมมือที่เกี่ยวของอื่นๆ ระหวางฝายไทยและองคกรฯ เหลานี้ เพื่อเพิ่มความนาเชื่อถือใหกับสินคา

อาหารฮาลาลที่ผลิตจากประเทศไทยในตลาดดังกลาว โดยเฉพาะหนวยงานที่เกี่ยวของทางภาครัฐของ

ไทย ควรจัดมีการประชุมหารือในเบื้องตน เพื่อเรงผลักดันการดําเนินงานภายใตกิจกรรมดังกลาวใหเปน

รูปธรรม โดยเร็ว

สํานักงานที่ปรึกษาการเกษตรฯ เห็นวาสถาบัน ISNA ซึ่งเปนสถาบันที่เกาแกที่สุดในทวีป

อเมริกาเหนือ และไดรับการยอมรับจากชาวมุสลิมทั่วโลกเกี่ยวกับความนาเชื่อถือทางดานระบบการ

ตรวจสอบและรับรองอาหารฮาลาล ในการนี้ สํานักงานฯ จึงเห็นวาฝายไทยควรใหความสําคัญกับการ

ติดตามความคืบหนาผลการประชุมหารือเร่ืองการจัดทําแผนความรวมมือดานดานกิจการฮาลาลระหวาง

ไทย-แคนาดากับเลขาธิการสมาคม ISNA คร้ังลาสุด ดังกลาว โดยเฉพาะการหาแนวทางความรวมมือที่

เปนรูปธรรมเรื่องการจัดทําแผนพัฒนาเพื่ออางอิงมาตรฐานการตรวจสอบรับรองและ/หรือตรารับรองรวม

ระหวางกัน ซึ่งถือเปนกาวสําคัญที่จะจะนําไปสูการตอยอดเพื่อสรางความรวมมือในลักษณะเดียวกัน

ระหวางไทยกับองคกรตรวจสอบฯ อ่ืนๆ เชน สมาคม IFANCA หรือ Muslim Consumer Group ในขณะที่

ทางสมาคม ISNA ไดแสดงความสนใจที่จะจัดตั้งศูนยวิจัยสินคาอาหารฮาลาล ณ นครโตรอนโต ที่มี

98

Page 103: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ลักษณะการดําเนินงานที่คลายคลึงกับศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยตองการ

หารือในเรื่องดังกลาวอยางจริงจังเพื่อขอความชวยเหลือจากฝายไทย ดังนั้น สํานักงานที่ปรึกษา

การเกษตรฯ เห็นวา จึงควรอาศัยขอไดเปรียบในสวนนี้ เปนขอแลกเปลี่ยนเรื่องการเจรจาขอใชมาตรฐาน

หรือตรารับรองรวมดังกลาว ตอไป

- ประเทศไทยควรเชิญผูบริหาร และเจาหนาที่จากองคกรตรวจสอบและรับรอง อ่ืนๆไดแก

สมาคม IFANCA หรือ Muslim Consumer Group ไปศึกษาดูงานความกาวหนากิจการอาหารฮาลาลไทย

เพื่อสรางความมั่นใจ และนําไปสูการอางอิงหรือการยอมรับระหวางกันในมาตรฐานการตรวจสอบและ

รับรองกับสินคา เชนเดียวกับการหารือในเบื้องตนกับสมาคม ISNA เมื่อเดือนพฤษภาคม 2551 ที่ผานมา

ซึ่งเห็นวาจะเปนการชวยลดภาระความยุงยาก และประหยัดทั้งคาใชจายและเวลามากกวา การสง

เจาหนาที่จากองคกรตรวจสอบฯ ดังกลาวไปใหการรับรองระบบมาตรฐานฮาลาล ณ ประเทศไทยโดยตรง

5.4.2.2 ภาครัฐและผูประกอบควรจัดใหการสงเสริมกิจกรรมการประชาสัมพันธสงเสริม

และแนะนําสินคาอาหารไทยในงานแสดงสินคาหรือซุปเปอรมาเกตรานคาปลีกตางๆ ในประเทศสหรัฐฯ

และแคนาดา โดยอาศัยความรวมมือจากชุมชนชาวไทยที่อาศัยอยูในประเทศดังกลาว

- เปาหมาย : เพื่อแกไขปญหาภาพลักษณของประเทศที่ไมไดเปนมุสลิม และชวยขยาย

ฐานกลุมผูบริโภคใหมีความคุนเคยกับสินคาอาหารไทยมากขึ้น

- ขอเสนอแนะ :

- หนวยงานที่เกี่ยวของของไทย ควรจัดใหมีกิจกรรมสงเสริมการประชาสัมพันธสินคา

อาหารฮาลาลไทย(food show/road show) ในภูมิภาคดังกลาว โดยเชิญเจาหนาที่จากภาครัฐและ

ผูประกอบการที่เกี่ยวของ เขารวมและจัดบูตทดลองชิมอาหารฮาลาลไทย ในงานแสดงสินคาอาหารที่

สําคัญทั้งในสหรัฐฯและแคนาดา เชน งาน Taste of Thailand ณ เมืองโตรอนโต ประเทศแคนาดา ซึ่งถือ

เปนงานรวมตัวของชุมชนชาวไทยในแคนาดา เพื่อรวมประชาสัมพันธสินคาอาหารและกิจกรรมของ

ประเทศที่ใหญที่สุดในแคนาดา และมีการจัดติดตอกันมาทุกป ณ ชวงเทศกาลงานสงกรานต

นอกจากนี้ การเจรจากับกลุมซุปเปอรมารเกตรายใหญเพื่อขอนําเสนอประชาสัมพันธ

สินคาอาหารไทยในรูปแบบของอาหารฮาลาลตามเทศกาลตางๆ เชน หาง T&T Supermarket ซึ่งเปน

Asian Chain Supermarket ที่ใหญที่สุดในแคนาดา มีสาขากระจายอยูตามเมืองตางๆ กวา 14 สาขา,

Save-On-Food Inc. ซึ่งเปน Mainstream Chain Market ที่ใหญที่สุดในพื้นที่ภาคฝงตะวันตกของแคนาดา

หรือหาง Wal-Mart ซึ่งเปนผูคาปลีกสินคาอาหารประเภท Mainstream รายใหญที่สุดของประเทศ

สหรัฐอเมริกา เปนตน

99

Page 104: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

- หนวยงานภาครัฐของไทยในตางประเทศ ควรมีสวนรวมในเรื่องการชวยประชาสัมพันธ

สงเสริม และแนะนําสินคาอาหารฮาลาลไทยดังกลาว โดยอาจขอความรวมมือกลุมชาวชุมชนชาวไทยที่

อาศัยในภูมิภาคดังกลาว เชน กลุมธุรกิจเจาของรานอาหารไทย เปนตน

5. 4 .2.3 กลยุทธดานการตลาดอื่นๆ

- สินคาไทยควรคํานึงถึงลักษณะการออกแบบผลิตภัณฑและเครื่องหมายการคา โดย

ฉลากบรรจุภัณฑ ควรตองมีขอความที่แสดงอยางเดนชัดหรือเปนที่สังเกตไดงายวาเปนสินคาที่มาจาก

ประเทศไทย เพื่อใหผูบริโภคมีโอกาสไดรูจักสินคาอาหารฮาลาลของไทยอยางแทจริง

- รูปแบบของสินคา ควรคํานึงถึงปจจัยดานพฤติกรรมการบริโภคเปนสําคัญ โดยใน

ระยะแรกอาจเริ่มที่กลุมสินคาอาหารที่ไทยมีความไดเปรียบในตลาดดังกลาว เชน อาหารทะเล แลวนํามา

ปรับกระบวนการผลิตเพื่อใหแนใจวาสินคาไดรับการผลิตตามมาตรฐานฮาลาล เพื่อทดลองศึกษารูปแบบ

ความตองการของผูบริโภคในเบื้องตน ในขณะที่ชุมชนมุสลิมในประเทศไทยมีกวา 5-6 ลานคน ซึ่งมี

จํานวนเทียบเทากับประชากรมุสลิมในบางประเทศ จึงนับเปนตลาดอาหารฮาลาลในตัว และไทยควรใชขอ

ไดเปรียบนี้เปนพื้นฐานในการศึกษาและวิจัยพฤติกรรมการบริโภคและรูปแบบสินคาสําหรับตลาดใน

สหรัฐฯและแคนาดา ตอไป

-----------------------------------------------------------

100

Page 105: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

เอกสารอางอิง ภาษาอังกฤษ

Bryant, Darrol M. “Some notes on Muslims in Canada and the U.S.” The Hamdard Islamicus Jan-

March 2001. Jan 22, 2008. <http://www/renassance.com.pk.Seprefl2y1.html>

Muslim Student Association (MSA). A Brief History of Islam in the United States.

15 May 2007. < http://www.colostate.edu/orgs/MSA/find_more/iia.html >

Canadian food Inspection Agency (CFIA). “The CFIA at a Glance” .14 Jul. 2007.

<www.ccag.com.cn/downloads/h_foodsafety/EMT4/eng/%5Beng%5DCFIA_at_a_glance.PPT>

Agriculture and Agri-Food Canada, Food Bureau. “Influence of Immigration on the Ethnic Food

Market in Canada”. October 2001.

Ira M. Sheskin and Arnold Dashefsky, “Jewish Population of the United States, 2006,” in the

American Jewish Year Book 2006, Volume 106, David Singer and Lawrence Grossman, Editors.

NY: “Jewish Population of the United States by State , 2006”

http://www.jewishvirtuallibrary.org/jsource/US-Israel/usjewpop.html 13.3

International Kosher Market: Australia Brazil Canada Mexico United Kingdom: Opportunities for

U.S. Exporter http://www.fas.usda.gov/cmp/publications/kosher99/kosher.pdf USDA/FAS

“Canadian Halal Meat Market Study.” Alberta, Agriculture, Food and Rural Development. Jan 2005

Page 106: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

Morris Josie. “Marketing to Muslim in America.” 2 May 2007.

<http://newpersuasion.typepad.com/new_persuasion/2007/05/marketing_to_mu.html>

United States Department of state “Demographic Fact.” April 2001.

<http://usinfo.state.gov/products/pubs/muslimlife/demograp.htm>

“Right Truth, Fast Food Halal Food.”12 Jan 2007

.http://righttruth.typepad.com/right_truth/2007/01/fast_food_halal.html

Food Consumption, Economic Research Service, USDA,

<www.ers.usda.gov/Briefing/Consumption/>

Surasak Riangkrul.“Muslim Market (Halal Food) in USA”.Thai Trade Center New York.

“Outlook for US Agricultural Trade” US Department of Agriculture. Economic Research Service&

Foreign Agriculture Service (FAS/ERS/USDA).30 Nov. 2007.

http://www.fas.usda.gov/cmp/outlook/2008/Feb-08/AES-02-21-2008.pdf

“American Muslim.Demographic Facts.” Allied Media Corp. http://www.allied-media.com/AM/.

About Marketing Solutions, <www.aboutmarketingsolutions.com>

Hispanic American Influence on the U.S. Food Industry, USDA, 2002,

<http://www.nal.usda.gov/outreach/HFood.html>

U.S. Census Bureau, www.census.gov

Page 107: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

Religious identification in the U.S. :“How American adults view themselves”. Religious practices and

faith. 19 Jul 2007 groupshttp://www.religioustolerance.org/chr_prac2.htm

Dr. Muhammad Munir Chaudry,Mary Anne Jackson, Mohammad Mazhar Hussani and Dr. Mian

Nadeem Riaz.“Halal Industrial Production Standard.” Jan 2000.

http://foodprotein.tamu.edu/extrusion/documents/publications/Halal%20Industrial%20Production%2

0Standards.pdf

Cultural Diversity: Eating in America series, Ohio State University, <http://ohioline.osu.edu/hyg-

fact/5000/>

THAI fully Operate Certified “Halal” food Kitchen. Thai Airway International.

“A brief History of Islam In the United State.” http://www.islamfortoday.com/historyusa1.htm

International Markets Bureau, Market and Industry Service Branch. Agriculture and Agri-food

Canada. “Halal Food Product Report : June 2006.” <http://www.ats.agr.gc.ca/asean/4282_e.htm>

International Markets Bureau, Agriculture and Agri-food Canada. Ethnic&Specialty Food Expo 2007

: Key Industry Trends, January 2008.” <http://www.ats.agr.gc.ca/events/4391_e.pdf>

Geisler, Malinda. “Ethnic Foods Market Profile.” March 2008

http://www.agmrc.org/agmrc/markets/Food/ethnicfoodsmarketprofile.htm

Canada Agri Food Trade Service, U.S. Ethnic Food Market July 2005.

Page 108: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

Promar International. “Orienting the US food and Beverage Market: Strategies for Targeting Asian

American to 2010.” June 2000

<http://www.promarinternational.com/pdfs/IndustryStrategicStudies/ConsumerInsights/Orienting%2

0the%20US%20food%20and%20bev%20market.pdf

ภาษาไทย

อนุช อาภาภิรม. พฤศจิกายน 2549. รายงานโครงการตะวันออกกลางศึกษา (Middle East Monitoring

Project - MEMP). สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) http://memp.trf.or.th/

ศูนยบริการขอมูลเศรษฐกิจระหวางประเทศ.กรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ กระทรวงตางประเทศ.“การพัฒนา

อุตสาหกรรมฮาลาล.”

กรมปศุสัตว. “โครงการอาหารฮาลาล.”<www.dld.go.th/certify/certify/page/project/halan_project.pdf>

ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. “ฮาลาล สินคาอีกกลุมหนึ่งที่ทาทายยอดสงออก” 2548.

<www.halalscience.org>

“วิดิทัศนบทเรียน: อาหารฮาลาล.สถานการณการแขงขันและการผลิตอาหารฮาลาลของโลก.” www.food-

halal.com.

อรนุช เจษฎาธรรมสถิต.“อาหารฮาลาลในตลาดโลกและความคืบหนาดานมาตรฐานอาหารฮาลาลใน

ตลาดโลก.” ฝายวิจยั ธนาคารกรุงศรีอยุธยา.

2549http://www.krungsri.com/pdf/research/04_seminar/seminar051_49.pdf

Page 109: การศึกษากฎระเบ ียบมาตรฐาน และระบบตรวจสอบ และรับรองสิ นคา ... · และรับรองสิ

ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย. “ศักยภาพในการสงออกอาหารฮาลาลของไทย.”มิถุนายน

2544

“ผลงานวิจยัตลาดอาหารฮาลาลไทยในโมรอกโก: บทสรปุการวิจยัตลาดอาหารฮาลาลไทยในโมรอกโก.” สถาน

เอกอัครราชทตู ณ กรุงราบตั. 2549http://www.mfa.go.th/internet/radio/book/Saranrom_34_11.pdf

ขอมูลสถิติ : U.S. Census of Bureau Statistic

Agri-Culture and Agri Food Canada

กรมปศุสัตว

กรมประมง

สถาบันอาหาร

กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ

กรมสงเสริมการสงออก

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

กรมเศรษฐกิจการเกษตร

สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ นครชิคาโก และ นครนิวยอรก


Recommended