+ All Categories
Home > Documents > ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

Date post: 30-Dec-2021
Category:
Upload: others
View: 6 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
27
ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION .นพ. พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร บทนํา การอักเสบ (inflammation) เปนกระบวนการที่รางกายตอบสนองตอสิ่งที่ทําใหเนื้อเยื่อของรางกาย ไดรับบาดเจ็บ เชน เชื้อโรค การตายของเซลลจากการขาดเลือดหรือขาดออกซิเจน โดยการตอบสนองโดย กระบวนการอักเสบประกอบดวย การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด การเขามาของเซลลเม็ดเลือดขาว และ ผลกระทบที่เกิดกับรางกายทั้งระบบ (systemic effect) กระบวนการอักเสบจัดเปนกลไกสําคัญในการปองกันสิ่งแปลกปลอม หรือสิ่งที่จะทําใหเซลลหรือเนื้อ เยื่อของรางกายไดรับบาดเจ็บ ผลของการอักเสบจะทําใหเกิดการกําจัดสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคออกไป นอกจากนี้ยังกําจัดเซลลที่ไดรับบาดเจ็บหรือตายจากการเขามาของสิ่งแปลกปลอมดังกลาว หากไมมี กระบวนการอักเสบเกิดขึ้น รางกายจะไมสามารถกําจัดสิ่งแปลกปลอมนั้นออกไปได เนื้อเยื่อจะเกิดการบาดเจ็บ โดยที่ไมมีการซอมแซม ทําใหการทํางานของเนื้อเยื่อนั้นๆ ผิดปกติไป อยางไรก็ตามกระบวนอักเสบมีผลเสีย เกิดขึ้นไดดวยเชนกัน หากเกิดการอักเสบมากเกินไป หรือเกิดการอักเสบแบบเรื้อรังเปนเวลานาน จะเกิดการ ทําลายเนื้อเยื่อทําใหเกิดการทํางานของเนื้อเยื่อนั้นผิดปกติไดเชนกัน กระบวนการอักเสบประกอบดวยการปฏิกิริยาของเนื้อเยื่อหลักๆ 2 ชนิด นั่นคือ การเปลี่ยนแปลงของ หลอดเลือด และการตอบสนองของเซลลชนิดตางๆ ไดแก เซลลอักเสบ และเซลล fibroblasts ซึ่งพบในเนื้อเยื่อ เกี่ยวพัน การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดและเซลลดังกลาวจะไดกลาวถึงในรายละเอียดตอไป กระบวนการ อักเสบสามารถแบงไดเปน 2 ชนิด คือ การอักเสบเฉียบพลัน (acute inflammation) และการอักเสบเรื้อรัง (chronic inflammation) การอักเสบแบบเฉียบพลันจะเกิดขึ้นรวดเร็ว ภายในระยะเวลาเปนวินาทีหรือเปนนาที หลังจากไดรับสิ่งกระตุนและคงอยูประมาณ 2 ถึง 3 วัน แตมักไมเกิน 1 สัปดาห ลักษณะสําคัญของการอักเสบ เฉียบพลัน คือ การบวมของเนื้อเยื่อ (edema) มีสารน้ําซึ่งมีโปรตีน (exudate) ภายในเนื้อเยื่อ และพบเซลล อักเสบชนิด neutrophils สวนการอักเสบแบบเรื้อรังนั้นจะเกิดนานกวา อาจเกิดตามหลังการอักเสบแบบ เฉียบพลัน หรือเกิดจากรางกายตอบสนองตอสิ่งแปลกปลอมบางชนิดก็ได ขึ้นกับปจจัยหลายๆ ดาน ลักษณะ สําคัญของการอักเสบเรื้อรัง คือ มีการสรางเนื้อเยื่อพังผืดขึ้น (fibrosis) มีการสรางหลอดเลือดขึ้นจํานวนมาก และพบเซลลอักเสบชนิด macrophages และ lymphocytes การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดและเซลลที่พบในการอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง เกิดจากการ กระตุนจากสารเคมี ซึ่งสารเคมีนั้นอาจพบในกระแสเลือดอยูแลวหรือจากเซลลตางๆ หลั่งออกมา หลังจากเกิด เอกสารประกอบการสอนรายวิชาหลักพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เรื่อง Acute and Chronic Inflammation .นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
Transcript
Page 1: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

AACCUUTTEE AANNDD CCHHRROONNIICC IINNFFLLAAMMMMAATTIIOONN

อ.นพ. พีรยุทธ สทิธิไชยากุล

ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

บทนํา

การอักเสบ (inflammation) เปนกระบวนการที่รางกายตอบสนองตอส่ิงที่ทําใหเนื้อเยื่อของรางกาย

ไดรับบาดเจ็บ เชน เชื้อโรค การตายของเซลลจากการขาดเลือดหรือขาดออกซิเจน โดยการตอบสนองโดย

กระบวนการอักเสบประกอบดวย การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด การเขามาของเซลลเม็ดเลือดขาว และ

ผลกระทบที่เกิดกับรางกายทั้งระบบ (systemic effect)

กระบวนการอักเสบจัดเปนกลไกสําคัญในการปองกันส่ิงแปลกปลอม หรือส่ิงที่จะทําใหเซลลหรือเนื้อ

เยื่อของรางกายไดรับบาดเจ็บ ผลของการอักเสบจะทําใหเกิดการกําจัดส่ิงแปลกปลอมหรือเชื้อโรคออกไป

นอกจากนี้ยังกําจัดเซลลที่ไดรับบาดเจ็บหรือตายจากการเขามาของสิ่งแปลกปลอมดังกลาว หากไมมี

กระบวนการอักเสบเกิดขึ้น รางกายจะไมสามารถกําจัดสิ่งแปลกปลอมนั้นออกไปได เนื้อเยื่อจะเกิดการบาดเจ็บ

โดยที่ไมมีการซอมแซม ทําใหการทํางานของเนื้อเยื่อนั้นๆ ผิดปกติไป อยางไรก็ตามกระบวนอักเสบมีผลเสีย

เกิดขึ้นไดดวยเชนกัน หากเกิดการอักเสบมากเกินไป หรือเกิดการอักเสบแบบเรื้อรังเปนเวลานาน จะเกิดการ

ทําลายเนื้อเยื่อทําใหเกิดการทํางานของเนื้อเยื่อนั้นผิดปกติไดเชนกัน

กระบวนการอักเสบประกอบดวยการปฏิกิริยาของเนื้อเยื่อหลักๆ 2 ชนิด นั่นคือ การเปลี่ยนแปลงของ

หลอดเลือด และการตอบสนองของเซลลชนิดตางๆ ไดแก เซลลอักเสบ และเซลล fibroblasts ซึ่งพบในเนื้อเยื่อ

เกี่ยวพัน การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดและเซลลดังกลาวจะไดกลาวถึงในรายละเอียดตอไป กระบวนการ

อักเสบสามารถแบงไดเปน 2 ชนิด คือ การอักเสบเฉียบพลัน (acute inflammation) และการอักเสบเร้ือรัง

(chronic inflammation) การอักเสบแบบเฉียบพลันจะเกิดขึ้นรวดเร็ว ภายในระยะเวลาเปนวินาทีหรือเปนนาที

หลังจากไดรับส่ิงกระตุนและคงอยูประมาณ 2 ถึง 3 วัน แตมักไมเกิน 1 สัปดาห ลักษณะสําคัญของการอักเสบ

เฉียบพลัน คือ การบวมของเนื้อเยื่อ (edema) มีสารน้ําซึ่งมีโปรตีน (exudate) ภายในเนื้อเยื่อ และพบเซลล

อักเสบชนิด neutrophils สวนการอักเสบแบบเรื้อรังนั้นจะเกิดนานกวา อาจเกิดตามหลังการอักเสบแบบ

เฉียบพลัน หรือเกิดจากรางกายตอบสนองตอส่ิงแปลกปลอมบางชนิดก็ได ขึ้นกับปจจัยหลายๆ ดาน ลักษณะ

สําคัญของการอักเสบเรื้อรัง คือ มีการสรางเนื้อเยื่อพังผืดขึ้น (fibrosis) มีการสรางหลอดเลือดขึ้นจํานวนมาก

และพบเซลลอักเสบชนิด macrophages และ lymphocytes

การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดและเซลลที่พบในการอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง เกิดจากการ

กระตุนจากสารเคมี ซึ่งสารเคมีนั้นอาจพบในกระแสเลือดอยูแลวหรือจากเซลลตางๆ หล่ังออกมา หลังจากเกิด

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 2: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

2

กระบวนการอักเสบและกําจัดสิ่งแปลกปลอมนั้นออกไปแลว รางกายจะมีกลไกยับยั้งเพื่อปองกันไมใหเกิดการ

อักเสบมากเกินไป ซึ่งอาจจะทําอันตรายใหกับเนื้อเยื่อได

ลักษณะทางคลินิกของการอักเสบ โดยเฉพาะการอักเสบเฉียบพลันจะประกอบอาการหลัก 4 อาการ

คือ ปวด (pain, dolor), บวม (swelling, tumor), แดง (redness, rubor) และรอน (heat, calor)

ACUTE INFLAMMATION OVERVIEW OF ACUTE INFLAMMATION

กระบวนการอักเสบเฉียบพลัน

ประกอบดวยลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ

1) การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด ทํา

ใหเกิดการไหลเวียนของเลือดมายังบริเวณที่ไดรับ

บาดเจ็บมากขึ้น

2) การเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางของ

หลอดเลือดขนาดเล็ก ทําใหสารน้ํา โปรตีนและ

เซลลเม็ดเลือดขาว ร่ัวออกมาภายนอกหลอดเลือด

3) การเคลื่อนที่ของเซลลเม็ดเลือดขาว

มายังบริเวณที่ไดรับบาดเจ็บ และไดรับการกระตุน

เพื่อใหสามารถกําจัดส่ิงแปลกปลอมตางๆ ได

จากผลที่เกิดขึ้นจะทําให permeability

ของหลอดเลือดสูงขึ้น สารน้ําและโปรตีนจึงรั่ว

ออกมาในชองวางระหวางเซลล (intercellular

space) และชองวางตางๆ ในรางกาย ไดแก ชองใน

เยื่อหุมหัวใจ (pericardial cavity) ชองปอด

(pleural cavity) และชองทอง (peritoneal cavity)

ไดงาย สารน้ํ าที่ มี โปรตีนปริมาณสูงดังกลาว

เรียกวา exudate ซึ่ง exudate ที่มีเซลลเม็ดเลือด

ขาวโดยเฉพาะ neutrophils เปนจํานวนมาก จะ

เรียกวา หนอง (pus) หรือ purulent exudate สวน

สารน้ํ าที่ มี ป ริมาณโปรตีนปริมาณต่ํ า เ รี ยก

transudate

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดและ

เซลลอักเสบในการอักเสบเฉียบพลัน (Kumar V, Abbas

AK, Fausto N, eds. Robbins and Cotran Pathologic

Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier

Saunders, 2005: 51.)

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 3: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

3

STIMULI FOR ACUTE INFLAMMATION ส่ิงที่สามารถกระตุนใหเนื้อเยื่อของรางกายเกิดการอักเสบแบบเฉียบพลัน คือ

- เชื้อโรคชนิดตางๆ รวมทั้งสารพิษที่สรางจากเชื้อโรคเอง

- อุบัติเหตุซึ่งทําใหเกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ

- สารทางกายภาพและสารเคมี เชน ความรอน ความเย็น และสารรังสี เปนตน

- การตายของเนื้อเยื่อ (tissue necrosis)

- ส่ิงแปลกปลอม (foreign body)

- ปฏิกิริยาทางภูมิคุมกัน (immune reaction) เชน hypersensitivity reactions

VASCULAR CHANGES การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด เปนหัวใจหลักและเปนจุดเริ่มตนของกระบวนการอักเสบเฉียบพลัน

การเปลี่ยนแปลงที่พบ คือ

CHANGE IN VASCULAR FLOW AND CALIBER หลังจากเนื้อเยื่อไดรับบาดเจ็บ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนภายในหลอดเลือด รวมทั้ง

ขนาดของหลอดเลือดในบริเวณนั้น สรุปไดเปนขั้นตอนดังนี้

- หลอดเลือดขยายตัว (vasodilation) เปนเหตุการณแรกที่พบหลังจากเนื้อเยื่อไดรับบาดเจ็บ

อยางไรก็ตามในการบาดเจ็บบางกรณี อาจพบการหดตัวของหลอดเลือดอยูชั่วขณะ (transient

vasoconstriction) กอนที่จะมีการขยายตัวของหลอดเลือด การเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะเริ่มเกิดใน

หลอดเลือด arteriole กอน จากนี้จึงเกิดในหลอดเลือดฝอย (capillaries) ตามมา การขยายตัว

ของหลอดนี้เปนผลมาจากสารเคมีหลายชนิด เชน histamine และ nitric oxide เปนตน ทําใหเกิด

การคลายตัวของกลามเนื้อเรียบรอบหลอดเลือด

- เกิดการเพิ่ม permeability ของหลอดเลือด ซึ่งจะเกิดตามหลังการขยายตัวของหลอดเลือดอยาง

ทันที ทําใหสารน้ําและโปรตีนภายในกระแสเลือดรั่วออกมานอกหลอดเลือด ความเขมขนของ

เลือดในหลอดเลือดจึงสูงขึ้น และเลือดจะไหลไดชาลง (stasis)

- เม็ดเลือดขาวโดยเฉพาะ neutrophils จะไปสะสมรวมกันที่ผนังดานในของหลอดเลือด จากการที่

เลือดไหลไดชาลง จากนั้นเซลลเม็ดเลือดขาวจะแทรกผานผนังหลอดเลือดออกสูชองวางระหวาง

เซลล (intercellular space)

INCREASED VASCULAR PERMEABILITY (VASCULAR LEAKAGE)

ภาวะที่ permeability ของหลอดเลือดสูงขึ้น จะทําใหสารน้ําและโปรตีนรั่วออกจากหลอดเลือดไดงาย

ขึ้น การเปลี่ยนแปลงดังกลาวทําใหความดันออสโมติกภายในหลอดเลือด (intravascular osmotic pressure)

ลดลง ในขณะความดันออสโมติกภายในของวางระหวางเซลล (interstitial osmotic pressure) เพิ่มขึ้น

นอกจากนี้ความดันไฮโดรสเตติกภายในหลอดเลือด (intravascular hydrostatic pressure) สูงขึ้น เนื่องจาก

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 4: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

4

หลอดเลือดขยายตัวทําใหมีปริมาณเลือดสูงขึ้น จากผลดังกลาวทําใหเกิดการรั่วของสารน้ําออกมาสูที่ชองวาง

ระหวางเซลล เรียกภาวะดังกลาววา ภาวะบวมน้ํา (edema) นั่นเอง

กลไกที่สารน้ําและโปรตีนเกิดการรั่วผานผนังหลอดเลือด เชื่อวามีหลายกลไก คือ

- Formation of endothelial gaps in venules เกิดชองวางระหวางเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือดชนิด

venule กลไกนี้เปนกลไกที่พบไดบอยที่สุด เปนการตอบสนองของหลอดเลือดทันทีหลังการ

บาดเจ็บ จากสาร histamine, bradykinin, leukotriene และ neuropeptide substance P การ

ตอบสนองของหลอดเลือดดังกลาวมักจะเกิดไมนาน โดยมากจะไมเกิน 30 นาที นอกจากนี้การ

เกิดชองวางระหวางเซลลอาจเกิดจาก cytokines ไดแก interleukin-1 (IL-1), tumor necrotic

factor (TNF), และ interferon- (IFN- ) ซึ่งจะเกิดไดชากวากลุมแรก แตจะเกิดยาวนานกวา

อาจเกิดเปนเวลานานมากกวา 24 ชั่วโมงได

- Direct endothelial injury เกิดจากมีการบาดเจ็บของเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด มักพบในบริเวณ

ที่มีการตายของเนื้อเยื่อ และเกิดการตายของเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือดรวมดวย กลไกชนิดนี้เกิด

ไดทั้งกับหลอดเลือด arteriole หลอดเลือดฝอย และหลอดเลือด venule กลไกนี้จะเกิดขึ้นทันที

หลังการบาดเจ็บ และคงอยูเปนเวลาหลายชั่วโมง

- Delayed prolonged leakage กลไกการเกิดยังไมทราบแนชัด อาจเกิดจากสิ่งกระตุนทําลายเซลล

เยื่อบุโดยตรงหรือจากสารเคมีคลายกับกลไกแรก การรั่วของสารน้ําชนิดนี้จะเกิดกับหลอดเลือด

ฝอยและหลอดเลือด venule เกิดหลังการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อประมาณ 2 ถึง 12 ชั่วโมง

- Leukocyte-mediated endothelial injury กลไกนี้พบในหลอดเลือดชนิด venule และหลอดเลือด

ฝอยในปอดและไต เกิดจากเซลลเม็ดเลือดขาวที่เกาะอยูที่ผนังหลอดเลือดในขณะที่มีการ

เปล่ียนแปลงของหลอดเลือดในชวงแรกของการอักเสบ หล่ังสารซึ่งทําใหเกิดการทําลายเซลลเยื่อบุ

ผนังหลอดเลือด

- Increased transcytosis เกิดการเคลื่อนที่ของสารน้ําผาน vesiculovacuolar organelle ภายใน

ไซโตพลาสม กลไกชนดินี้เกิดจากการกระตุนของสาร vascular endothelial growth factor

(VEGF), histamine และสารเคมีอีกหลายชนิด

- Leakage from new blood vessels หลังจากเกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ นอกจากจะเกิดการ

อักเสบแลว ยังเกิดกระบวนการซอมแซมของเนื้อเยื่อรวมดวย ซึ่งจะมีการสรางหลอดเลือดใหม แต

หลอดเลือดที่สรางขึ้นยังไมมีความแข็งแรง และพบวาเซลลเยื่อบุมีการสราง receptor ตอสาร

histamine, substance P และ VEGF จึงเกิดการรั่วของสารน้ําและโปรตีน

โดยทั่วไปพบวาในการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ จะเกิดการรั่วของสารน้ําและโปรตีนโดยอาศัยหลายๆ กลไก

ดังที่กลาวมา

CELLULAR EVENTS: LEUKOCYTE EXTRAVASATION AND PHAGOCYTOSIS หลังจากที่เซลลเม็ดเลือดขาวรวมตัวกันที่ผนังหลอดเลือดในเนื้อเยื่อที่ไดรับบาดเจ็บ จะแทรกผานผนัง

หลอดเลือดเขาไปในเนื้อเยื่อ เรียกกระบวนการดังกลาววา extravasation เพื่อจะเตรียมตัวทําลายสิ่งที่ทําใหเกิด

การบาดเจ็บตอไป เชน เชื้อโรค สารแปลกปลอม และเก็บกินเซลลตายที่เกิดขึ้น

กระบวนการ extravasation เกิดหลังจากหลอดเลือดขยายตัว สามารถแบงเปนขั้นตอนได คือ

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 5: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

5

1) Margination เกิดหลังจากที่เกิด stasis ของการไหลเวียนของเลือด เซลลเม็ดเลือดจึงไปสะสมที่

ผนังหลอดเลือดดานใน

2) Rolling หลังจากเซลลเม็ดเลือดขาวมารวมกลุมกัน จะเกาะกันอยางหลวมๆ

3) Adhesion เซลลเม็ดเลือดขาวจะจับกับเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือดแนนขึ้น

4) Transmigration (diapesis) เซลลเม็ดเลือดขาวยื่นไซโตพลาสม (pseudopod) ผานรอยตอของ

เซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด แทรกผานผนังหลอดเลือดออกมา

5) Migration หลังจากเคลื่อนออกจากหลอดเลือดแลว เซลลเม็ดเลือดขาวจะเคลื่อนไปสูบริเวณที่มี

การบาดเจ็บของเซลลหรือเนื้อเยื่อ

ภาพแสดงการเคลื่อนตัวของเซลลเม็ดเลือดขาวจากหลอดเลือดเขาสูเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบ (Kumar V, Abbas AK,

Fausto N, eds. Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 53.)

LEUKOCYTE ADHESION AND TRANSMIGRATION กระบวนการ adhesion และ transmigration เปนกระบวนการที่ถูกควบคุมโดยสารซึ่งอยูบนเซลลเยื่อบุ

ผนังหลอดเลือดและเซลลเม็ดเลือดขาว เรียก adhesion molecules รวมทั้งสารเคมีอื่นๆ ซึ่งควบคุมการทํางาน

ของ adhesion molecule โดยทั่วไป adhesion molecule สามารถแบงออกไดเปน 4 กลุม คือ

Selectins แบงออกเปนหลายชนิด เชน E-selectin พบบนผิวเซลลเยื่อบุดานในผนังหลอดเลือด P-

selectin พบบนผิวเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือดและเกล็ดเลือด L-selectin พบบนผิวเซลลเม็ดเลือดขาว

Immunoglobulin family ที่สําคัญมี 2 ชนิด คือ ICAM-1 (intercellular adhesion molecule 1) และ

VCAM-1 (vascular cell adhesion molecule 1) พบบนเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด ทําหนาที่ยึดเกาะกับ

integrin ซึ่งอยูบนเซลลเม็ดเลือดขาว

Integrins พบในเซลลหลายๆ ชนิด ทําหนาที่จับกับ integrin ligand (ICAM-1, VCAM-1) ซึ่งอยูบน

เซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด เซลลเม็ดเลือดขาว และ extracellular matrix

Mucin-like glycoprotein ตัวอยางเชน heparan sulfate พบไดทั้งได extracellular matrix และบนผิว

เซลลหลายชนิด ทําหนาที่จับกับ CD44 ซึ่ง adhesion molecule บนเซลลเม็ดเลือดขาว

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 6: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

6

กลไกที่รางกายชักนําใหเม็ดเลือดขาวเขามาในเนื้อเยื่อท ี่มีการบาดเจ็บ ตองอาศัยการทํางานของ ad-

hesion molecules ดังกลาว โดยเกิดหลังจากที่รางกายหลั่งสาร histamine, thrombin และ platelet activating

factor (PAF) จะกระตุนให Weibel-Palade body ปลอย P-selectin ซึ่งสะสมอยูภายในใหออกมาปรากฏที่ผิว

เซลล นอกจากนี้เซลล macrophages, mast cells และเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือดในเนื้อเยื่อที่ไดรับการบาดเจ็บ

จะหลั่งสาร tumor necrotic factor (TNF) และ interleukin-1 (IL-1) ซึ่งสามารถกระตุนเซลลเยื่อบุผนังหลอด

เลือดที่อยูขางเคียงใหสราง E-selectin ขึ้นบนผนังเซลล สวนเซลลเม็ดเลือดขาวจะสราง selectin ligand ซึ่งจะ

จับกบั selectin ที่อยูบนผิวเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด ทําใหเซลลเม็ดเลือดขาวสามารถจับกับเซลลเยื่อบุผนัง

หลอดเลือด นอกจากนี้ TNF และ IL-1 จะกระตุนใหเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือดสราง integrin ligand ไดแก

VCAM-1 และ ICAM-1 ทําหนาที่จับกับ integrin บนผิวเซลลเม็ดเลือดขาว รวมทั้งมีสารเคมีอีกหลายชนิดที่

สงเสริมใหการจับกันของ integrin กับ VCAM-1 และ ICAM-1 มีความแนนหนามากขึ้น

หลังจากที่เซลลเม็ดเลือดขาวจับกับเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือดอยางสมบูรณแลว (adhesion) เซลลเม็ด

เลือดขาวจะเริ่มเคลื่อนแทรกผานรอยตอของเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด ซึ่ง adhesion molecule ซึ่งมีบทบาทใน

กระบวนการดังกลาว คือ platelet endothelial cell adhesion molecule (PECAM-1 หรือ CD31) หลังจากที่

เซลลเม็ดเลือดขาวเขามาใน extracellular matrix จะเกิดการสราง integrin และ CD44 ทําใหเม็ดเลือดขาว

สามารถจับ extracellular matrix ไดม่ันคงยิ่งขึ้น

การพบเม็ดเลือดขาวในรอยโรคจะมีความแตกตางกัน ตามระยะเวลาของการเกิดการบาดเจ็บ นั่นคือ

ในชวง 6 ถึง 24 ชั่วโมงแรก เซลล neutrophils จะเขามาในบริเวณรอยโรค หลังจากนั้นจะถูกแทนที่ดวยเซลล

monocytes และ macrophages แทน สาเหตุเนื่องจากเซลล neutrophils มีจํานวนมากในกระแสเลือดจึงเขามา

ในบริเวณที่มีการบาดเจ็บไดรวดเร็วกวา แตเซลล neutrophils มีอายุคอนขางสั้น หลังเขามาในรอยโรคแลวจะ

เกิด apoptosis ใน 24 ถึง 48 ชั่วโมง ในขณะที่ monocytes มีอายุยาวนานกวา อยางไรก็ตามในการบาดเจ็บของ

เนื้อเยื่อบางชนิดอาจพบเซลลอักเสบที่แตกตางออกไป เชน ในการติดเชื้อแบคทีเรียกลุม Pseudomonas อาจพบ

เซลล neutrophils ไดถึง 4 วัน การติดเชื้อไวรัสอาจพบเซลล lymphocytes เปนเซลลชนิดแรก หรือในปฏิกิริยา

ทางภูมิคุมกันบางชนิด (hypersensitivity reaction) เซลลที่มีบทบาทอาจเปน eosinophils

CHEMOTAXIS เปนกระบวนการที่เซลลเม็ดเลือดขาวเคลื่อนตัวไปยังเนื้อเยื่อที่เกิดการบาดเจ็บ ภายหลังที่ไดเคลื่อน

ผานผนังหลอดเลือดออกมาแลว กระบวนการดังกลาวจําเปนตองอาศัยสาร หรือปจจัยตางๆ ในการชักนําให

เซลลเม็ดเลือดขาวเขามาในเนื้อเยื่อนั้น (chemotactic stimuli) ซึ่งอาจเปนสารจากภายนอกของรางกาย (exo-

genous stimuli) เชน เชื้อโรค หรือเปนสารที่พบอยูภายในรางกาย (endogenous stimuli) ซึ่งไดแก

1) Complement ไดแก C5a

2) สารที่เกิดจากกระบวนการ lipoxygenase pathway เชน leukotriene B4 (LTB4)

3) Cytokine

Chemotactic stimuli เหลานี้จะจับกับ receptors ที่อยูบนผิวเซลลของเม็ดเลือดขาว กระตุนใหเซลล

เม็ดเลือดขาวสราง actin มากขึ้นซึ่งสารดังกลาวทําหนาชวยใหเม็ดเลือดขาวเคลื่อนไปยังเนื้อเยื่อที่มีการบาดเจ็บ

LEUKOCYTE ACTIVATION

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 7: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

7

เปนกระบวนการกระตุนเซลลเม็ดเลือดขาว ใหสามารถทําลายสิ่งแปลกปลอมที่เขามาทําความบาดเจ็บ

แกเนื้อเยื่อ กระบวนการ leukocyte activation ประกอบดวย

- การสรางสารจาก arachidonic acid

- การหลั่งเอนไซมจากไลโซโซม (lysozomal enzyme) จากเซลลเม็ดเลือดขาว

- การหลั่ง cytokines เพื่อควบคุมกระบวนการอักเสบ

- การสราง adhesion molecule บนเซลลเม็ดเลือดขาว

ในกระบวนการกระตุนเซลลเม็ดเลือดขาว จําเปนตองอาศัยสารตางๆ มาควบคุมเซลลเม็ดเลือดขาว

ผาน receptors ชนิดตางๆ คือ

- Toll-like receptors (TLRs) เปน receptor ซึ่งมีหนาที่จับกับสารที่พบในเชื้อแบคทีเรีย เชน

bacterial lipopolysaccharide และ bacterial proteoglycans รวมทั้งเชื้อไวรัสบางชนิด การจับ

กับ receptor ดังกลาวจะทําใหเซลลเม็ดเลือดขาวเกิดการสราง cytokines และสารชนิดตางๆ เพื่อ

ใชในการทําลายเชื้อโรค (microbicidal substance)

- Different seven-transmembrane G-protein-coupled receptors สารที่จะจับกับ receptor

ชนิดนี้ คือ chemokine, C5a, platelet activating factor (PAF), prostaglandin E (PGE) และ

leukotriene B4 (LTB4) การจับกันทําใหเซลลเม็ดเลือดขาวสรางสารเพื่อทําลายเชื้อโรค นอกจากนี้

ยังสงเสริมใหเกิดกระบวนการ migration ของเซลลเม็ดเลือดขาวอีกดวย

- Receptors for cytokines พบในเซลลกลุม phagocytes สารที่จับกับ receptor นี้ คือ cytokine

ตัวที่สําคัญและมีบทบาทชัดเจน คือ IFN- ซึ่งสรางจากเซลล lymphocytes ชนิด natural killer

cells (NK cell) และ T lymphocytes ทําหนาที่กระตุนเซลล macrophages

- Receptors for opsonins สารที่ทําหนาที่เปน opsonin เชน antibody, complement proteins

และ lectin ซึ่งจะจับกับส่ิงแปลกปลอมทําใหเซลล phagocytes สามารถเก็บกินส่ิงแปลกปลอม

นั้นไดงาย ตัวอยางของ receptor เหลานี้ เชน Fc receptor บนเซลล phagocytes ซึ่งจับกับ

IgG antibody หรือ complement receptor type 1 (CR1) ซึ่งจับกับ complement protein C3

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 8: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

8

ภาพแสดงกลไกการกระตุนเซลลเม็ดเลือดขาวโดยผาน receptor ชนิดตางๆ (Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds.

Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 58.)

PHAGOCYTOSIS กระบวนการเก็บกินและทําลายสิ่งแปลกปลอม แบงเปนขั้นตอนยอย 3 ขั้นตอน คือ

Recognition and attachment เปนกระบวนการที่เซลลเม็ดเลือดขาวเขาจับกับเชื้อโรคหรือส่ิง

แปลกปลอม โดยอาศัย receptors ที่อยูบนผิวเซลลเม็ดเลือดขาวจับกับสารซึ่งเปนสวนประกอบของผนังเซลล

เชื้อโรค กระบวนการนี้อาศัย mannose receptors และ scavenger receptors นอกจากนี้สารจําพวก opsonin

ยังมีสวนรวมใหเซลลเม็ดเลือดขาวจับกับเชื้อโรคไดงายขึ้น

Engulfment เปนกระบวนการที่เซลลจับเชื้อโรคใหเขามาภายใน โดยการยื่นสวนของไซโตพลาสม

เรียกวา pseudopods เขาโอบลอมเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอม เกิดเปน phagosome ใหเขามาในเซลล หลังจาก

นั้น phagosome จะรวมเขากับ lysosome เกิดเปน phagolysosome สารจาก lysosome จึงเขาทําลายเชื้อโรค

หรือส่ิงแปลกปลอมดังกลาวภายใน phagolysosome กระบวนการนี้สวนใหญอาศัยการทํางานของ actin ดังนั้น

จึงอาศัยสารเคมีและ receptors ที่คลายกับกระบวนการ chemotaxis

Killing and Degradation กระบวนการนี้อาศัยปฏิกิริยาทางเคมีซึ่งใชออกซิเจน (oxygen-dependent

mechanism) ทําใหเกิดการสราง reactive oxygen intermediates (ROIs) หรือ reactive oxygen species เขา

ทําลายเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมภายใน phagolysosome นอกจากนี้เซลลเม็ดเลือดขาวอาจใชปฏิกิริยาซึ่งไม

ตองอาศัยออกซิเจนก็ได (oxygen-independent mechanism) เชน การใชเอนไซมชนิดตางๆ หรือ bactericidal

permeability increasing protein (BPI) เปนตน

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 9: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

9

ภาพแสดงกระบวนการ phagocytosis ของเซลลเม็ดเลือดขาว (Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds. Robbins

and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 60.)

RELEASE OF LEUKOCYTE PREDUCTS AND LEUKOCYTE-INDUCED TISSUE INJURY ในขณะที่เซลลเม็ดเลือดขาวทําลายหลั่งสารชนิดตางๆ เขาภายใน phagolysosome เพื่อทําลายเชื้อ

โรคหรือส่ิงแปลกปลอมภายใน จะเกิดการหลั่งสารชนิดอื่นๆ อีกออกมานอกเซลลได เชน lysosomal enzymes,

reactive oxygen intermediates และสารกลุมซ่ึงเปลี่ยนแปลงมาจาก arachidonic acid ทําใหเกิดการ

บาดเจ็บของเนื้อเยื่อ และสงผลใหเกิดอาการทางคลินิก โรคและความเจ็บปวยตามมาได

DEFECT IN LEUKOCYTE FUNCTION จะเห็นไดวาการที่เซลลเม็ดเลือดขาวจะเขาจับกับเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมไดนั้น จําเปนตองอาศัย

กระบวนการตางๆ หลายขั้นตอน เมื่อมีความผิดปกติของกระบวนการดังกลาวดังกลาว ยอมทําใหเกิดความ

ผิดปกติของการกําจัดเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมดังกลาว ตัวอยางเชน

- Defects in leukocyte adhesion สวนใหญจะทําใหเกิดอาการติดเชื้อซ้ําซาก แบงเปน leukocyte

adhesion deficiency type 1 (LAD1) ซึ่งมีความผิดปกติของ integrin และ leukocyte adhesion

deficiency type 2 (LAD2) ซึ่งมีการขาด sialyl-Lewis X-modified glycoprotein ซึ่งเปน

receptor ที่ทํางานรวมกับ E-selectin

- Defect in phagolysosome function ตัวอยางเชน Chédiack-Higashi syndrome เปนโรคที่มี

ความผิดปกติของกระบวนการ degranulation นั่นคือมีความผิดปกติของการหลั่ง lysosomal

enzyme เขาสู phagosome ทําใหทําลายเชื้อโรคไดคอนขางชา นอกจากนี้ยังพบวาผูปวยมีเม็ด

เลือดขาวในเลือดต่ําดวย โรคนี้ถายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive

- Defect in bactericidal activity เชน chronic granulomatous disease มีความผิดปกติของ

เอนไซม NADPH oxidase ที่มีความจําเปนตอการสราง reactive oxygen intermediate

- Bone marrow suppression เปนสาเหตุซึ่งไมใชโรคทางพันธุกรรมที่สําคัญที่สุดที่ทําใหเกิดความ

ผิดปกติของการทํางานของเม็ดเลือดขาว เชน ในผูปวยที่ไดรับการฉายแสง ไดรับยาเคมีบําบัด

หรือผูปวยที่มีการแพรกระจายของเซลลมะเร็งเขามาในไขกระดูก

CHEMICAL MEDIATORS OF INFLAMMATION

ในกระบวนการอักเสบจะประกอบดวยขั้นตอนตางๆ ที่ซับซอน ซึ่งตองอาศัยเซลลและเนื้อเยื่อหลาย

ชนิด รวมทั้งสารเคมีซึ่งทําหนาที่เปนส่ือ (chemical mediator) ในการชักนําใหเซลลหรือเนื้อเยื่อเกิดการ

เปล่ียนแปลงขึ้น คุณสมบัติที่สําคัญของสารเคมีซึ่งทําหนาที่เปนส่ือในกระบวนการอักเสบ สรุปได คือ

- Chemical mediator พบไดทั้งในพลาสมาและในเซลล โดยในพลาสมา จะอยูในสภาพที่ยังไม

สามารถทํางานได ตองไดรับการกระตุนกอน เชน complement proteins และ kinin สวนที่สราง

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 10: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

10

มาจากเซลล เชน histamine, prostaglandins และ cytokines สารเหลานี้สรางไดจากเซลลหลาย

ชนิด เชน เกล็ดเลือด เซลลเม็ดเลือดขาว เซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด เซลลกลามเนื้อ เซลล

fibroblasts เปนตน

- Chemical mediators เหลานี้สามารถถูกกระตุนใหสรางขึ้นโดยเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมที่เขา

มาในรางกาย หรือจาก chemical mediators ชนิดอื่นๆ

- Chemical mediators สวนใหญจะออกฤทธิ์โดยการเขาจับกับตัวรับ (receptor) ที่จําเพาะในเซลล

เปาหมาย ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในเซลล

- Chemical mediators สามารถกระตุนใหเซลลสราง chemical mediators อื่นๆ ออกมาได ซึ่งจะ

ชวยให chemical mediators ชนิดแรกทํางานไดดียิ่งขึ้น

- Chemical mediators แตละตัวจะออกฤทธิ์จําเพาะตอเซลลเปาหมายชนิดใดชนิดหนึ่ง แตบาง

ชนิดสามารถออกฤทธิ์ไดกับเซลลหลายๆ ชนิด อยางไรก็ตามผลที่เกิดขึ้นจะแตกตางออกไป

- หลังจากถูกสรางหลั่งออกมา chemical mediators จะมีอายุคอนขางสั้น เนื่องจากจะถูกกลไก

อื่นๆ ของรางกายทําลายอยางรวดเร็ว เพราะหากปลอยใหสารเหลานี้ออกฤทธิ์มากเกินความ

จําเปน มักจะมีผลเสียตอเนื้อเยื่อมากกวา

VASOACTIVE AMINES สารในกลุมนี้ที่มีบทบาทในกระบวนการอักเสบ คือ histamine และ serotonin โดยเฉพาะ histamine

เปนสารตัวแรกที่มีการหลั่งออกมาในกระบวนการอักเสบ

HISTAMINE เปนสารที่สรางจาก mast cells นอกจากนี้อาจพบใน basophils และเกล็ดเลือด ภาวะที่สามารถ

กระตุนใหเกิดการหลั่ง histamine ไดคือ

1) การบาดเจ็บทางกายภาพ (physical injury) เชน การไดรับอุบัติเหตุ (trauma) ความรอน หรือ

ความเย็น

2) ปฏิกิริยาทางภูมิคุมกันที่กระตุนให mast cells จับกับแอนติบอดี

3) Anaphylatoxins ไดแก C3a และ C5a

4) เซลลเม็ดเลือดขาวบางชนิดสามารถสรางสารกระตุน mast cells ใหหลั่ง histamine ได

5) Neuropeptide เชน substance P

6) Cytokine เชน interleukin-1, interleukin-8

Histamine จะจับกับ H1 receptor บนเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด มีผลทําใหหลอดเลือด arteriole

ขยายตัว และทําให vascular permeability ของหลอดเลือด venule เพิ่มขึ้น

SEROTONIN Serotonin ถูกสรางมาจากเกล็ดเลือดและ enterochromaffin cells สารที่สามารถกระตุนใหมีการหลั่ง

serotonin ได คือ platelet-activating factors (PAF) นอกจากนี้ระหวางที่เกิดกระบวนการ platelet aggre-

gation จะพบการหลั่ง serotonin ได ผลของ serotonin จะเหมือนกับ histamine

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 11: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

11

PLASMA PROTEINS เปนกลุมที่ประกอบดวยสารตางๆ จํานวนมาก สามารถจําแนกไดเปน 3 กลุม คือ complement, kinin

และ clotting systems

COMPLEMENT SYSTEM Complement system ประกอบดวย complement proteins ตั้งแต C1 ถึง C9 ซึ่งสารเหลานี้จะอยูใน

สภาพที่ยังไมสามารถทํางานได (inactive form) ตองไดรับกระตุนกอน สารตัวที่มีความสําคัญ คือ C3 ซึ่งจะถูก

กระตุนได 3 วิธี คือ

- Classical pathway เกิดจากการจับกันของแอนติเจน แอนติบอดี และ C1 ทําใหเกิดการ

เปล่ียนแปลงอีกหลายขั้นตอน และเกิดเอนไซม classical pathway C3 convertase เขากระตุน

C3

- Alternative pathway สารในผนังเซลลของเชื้อโรค เชน lipopolysaccharide (LPS) จะกระตุน

C3 โดยตรงทําใหเกิดเอนไซม alternative pathway C3 convertase

- Lectin pathway เกิดจาก lectin ซึ่งเปนสารอยูในพลาสมาจับกับสารในผนังเซลลของเชื้อโรค และ

กระตุน C1 และทําใหเกิดเอนไซม C3 convertase เชนกัน

หลังจากนั้น C3 จะถูกเขาทําปฏิกิริยาโดย C3 convertase เกิดเปน C3a และ C3b ซึ่ง C3b จะไปจับ

complement proteins อื่นๆ เกิดเปน C5 convertase ทําหนาที่ยอย C5 เกิดเปน C5a และ C5b โดย C5b จะ

ไปจับ complement proteins อื่นๆ อีกเชนกัน คือ C6 ถึง C9 เกิดเปน membrane attack complex (MAC) ซึ่ง

สามารถทําหนาที่ทําลายเชื้อโรคได

ภาพแสดงกลไกตางๆ ในการกระตุน complement protein (Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds. Robbins and

Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 66.)

นอกจากนี้สารในกลุมนี้ยังทําหนาที่เปนส่ือชักนําในกระบวนการอักเสบอีกดวย คือ

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 12: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

12

- C3a และ C5a สามารถกระตุนให mast cells หล่ังสาร histamine นอกจากนี้ C5a ยังกระตุน

เซลล neutrophils และ monocytes ใหสรางสารตางๆ จาก arachidonic acid โดยเอนไซม

lipoxygenase ทําใหเกิดสารเคมีซึ่งเปนส่ือในกระบวนการอักเสบ

- C5a เปน chemotactic stimuli ตอเซลลเม็ดเลือดขาว ดังนั้นจึงมีบทบาทสําคัญในกระบวนการ

leukocyte adhesion, chemotaxis และ activation

- C3b สามารถทําหนาที่เปน opsonin จึงมีสวนชวยในกระบวนการ phagocytosis

หากมองเฉพาะสารในกลุม complement system จะพบวา C3 และ C5 เปนสารที่มีบทบาทมากที่สุด

ตอกระบวนการอักเสบ นอกจากจะถูกกระตุนโดยกลไกที่กลาวมาแลว ยังสามารถถูกกระตุนไดโดยเอนไซม เชน

lysosomal enzyme และ plasmin ที่สรางจากเซลล neutrophils ดังนั้นจะเห็นไดวาทั้ง complement system

และ neutrophils ตางสามารถทําหนาที่สงเสริมการทํางานซึ่งกันและกัน

ภาพแสดงบทบาทของ complement system ในกระบวนการอักเสบ (Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds.

Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 65.)

KININ SYSTEM สารในกลุมนี้เปล่ียนแปลงมาจากโปรตีนในกระแสเลือด มีชื่อวา kininogen โดยอาศัยเอนไซม

kallikreins การกระตุนสารในกลุม kinin system ทําใหเกิดหลั่งสาร bradykinin ซึ่งมีผลทําใหเกิดการขยายตัว

ของหลอดเลือด และ permeability ของหลอดเลือดเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังทําใหเกิดการหดตัวของกลามเนื้อและ

ทําใหมีความรูสึกเจ็บ หลังจากที่มีการหลั่ง bradykinin ออกมาจะถูกสลายโดย kininase

CLOTTING SYSTEM สารที่สําคัญในกลุมนี้ คือ thrombin และ fibrin โดย fibrin มีบทบาทเกี่ยวของกับกระบวนการแข็งตัว

ของเลือด สวนสารที่มีบทบาทในกระบวนการอักเสบคือ thrombin โดย thrombin จะจับกับ protease-activated

receptors (PARs) ซึ่งพบในเซลลหลายๆ ชนิด เชน เกล็ดเลือด เซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด เซลลกลามเนื้อ เปน

ตน การจับกันของ thrombin และ receptor ดังกลาวทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล คือ กระตุนใหเกิดการ

สราง P-selectin, chemokines, integrins, PAF, nitric oxide และกระตุนเอนไซม cyclooxygenase-2 ทําให

เกิดการสราง prostaglandins

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 13: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

13

ในขณะที่มีกระบวนการสราง fibrin จะเกิดกระบวนการสลาย fibrin (fibrinolytic system) เชนกันเพื่อ

ปองกันไมใหเกิดการสรางลิ่มเลือด (clot) มากเกินไป โดยเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด หรือเซลลเม็ดเลือดขาวจะ

หล่ัง plasminogen activator ทําหนาที่สลาย plasminogen ที่พบอยูในลิ่มเลือดเกิดเปน plasmin ทําหนาที่

สลายลิ่มเลือด และยังสามารถกระตุน complement protein C3 นอกจากนี้ยังสามารถกลับไปกระตุน

กระบวนการสราง clotting factors เกิดเปน thrombin และ fibrin ไดอีก

ภาพแสดงความสัมพันธของสารกลุม complement , kinin, clotting และ fibrinolytic sytem ในกระบวนการอักเสบ

(Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds. Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier

Saunders, 2005: 67.) ARACHIDONIC ACID METABOLITES: PROSTAGLANDINS, LEUKOTRIENES AND LIPOXINS Arachidonic acid (AA) เปนสารซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจาก phospholipids ที่อยูในผนังเซลลโดยอาศัย

การทํางานของเอนไซม phospholipase ภาวะตางๆ ที่สามารถกระตุนเอนไซม phospholipase ได เชน สารเคมี

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สารหลายๆ ชนิดในรางกาย เชน C5a เปนตน arachidonic acid สามารถถูกทํา

ปฏิกิริยาโดยเอนไซม cyclooxygenases เกิดเปน prostaglandins และ thromboxanes และโดยเอนไซม

lipoxygenases เกิดเปน leukotrienes และ lipoxin อาจเรียกสารกลุมที่เปล่ียนแปลงมาจาก arachidonic acid

ทั้งหมดนี้วา eicosanoids สารกลุมนี้มีบทบาทสําคัญในเกือบทุกขั้นตอนของกระบวนการอักเสบ สรุปไดดัง

ตาราง

Action Eicosanoids

Vasoconstriction

Vasodilatation

Increased vascular permeability

Chemotaxis and Leukocyte adhesion

Thromboxane A2, Leukotrienes C4, D4, E4

Prostacyclin (PGI2), Prostaglandins E1, E2, D2

Leukotrienes C4, D4, E4

Leukotrienes B4, HETE, lipoxins

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 14: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

14

การเปลี่ยนแปลงของ arachidonic acid โดยเอนไซม cyclooxygenases จะทําใหได prostaglandins

(PG) หลายชนิด ตัวที่มีความสําคัญในกระบวนการอักเสบ คือ PGE2, PGD2, PGF2 , PGI2 (prostacyclin) และ

TxA2 (thromboxane) สารที่มีบทบาทสําคัญที่ทําใหเกิดอาการเจ็บปวดและมีไขในการอักเสบ คือ PGE2

เนื่องจากทําใหผิวหนังตอบสนองตอส่ิงกระตุนไดงายกวาปกติ สวนสารที่ทําใหเนื้อเยื่อเกิดการบวม คือ PGE2,

PGD2 และ PGF2 เนื่องจากสารดังกลาวทําใหหลอดเลือดขยายตัวและ permeability ของหลอดเลือดสูงขึ้น

เอนไซม lipoxygenase สามารถแบงไดหลายชนิด ที่สําคัญ คือ 5-lipoxygenase (5-LO) พบในเซลล

neutrophils มีผลทําใหเกิดการสราง 5-hydroxyeicosatetraenoic acid (5-HETE) ซึ่งเปน chemotactic stimuli

สําหรับเซลล neutrophils เอง นอกจากนี้ 5-HETE ยังสามารถเปลี่ยนแปลงตอไปเปน leukotrienes อีกหลาย

ชนิด เชน LTB4 ซึ่งเปน chemotactic stimuli ที่สําคัญและสามารถกระตุน neutrophils ในกระบวนการ

leukocyte adhesion and aggregation กระตุนใหสราง oxygen free radicals และหลั่ง lysosomal enzyme

สวน leukotriene อื่นๆ คือ LTC4, LTD4 และ LTE4 มีผลทําใหหลอดเลือดหดตัว permeability ของหลอดเลือด

สูงขึ้น นอกจากนี้ LTA4 บางสวนจะถูกเซลลเม็ดเลือดขาวสงตอไปยังเกล็ดเลือด หลังจากนั้นจะถูกเอนไซม 12-

lipoxygenase (12-LO) เกิดเปน lipoxin A4 (LXA4) และ lipoxin B4 (LXB4) ซึ่งมีหนาที่เกี่ยวของกับการยับยั้ง

กระบวนการอักเสบ

ภาพแสดงการสรางสารตางๆ จาก archidonic acid รวมทั้งหนาที่ของสารเหลานี้ในกระบวนการอักเสบ (Kumar V,

Abbas AK, Fausto N, eds. Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders,

2005: 69.) PLATELET-ACTIVATING FACTORS PAF เปนสารที่เปล่ียนแปลงมาจาก phospholipid เชนเดียวกับกลุม arachidonic acid มีผลทําให

หลอดเลือดหดตัว และหลอดลมหดเกร็ง (bronchoconstriction) แตหากถูกหลั่งในปริมาณที่นอย จะทําใหหลอด

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 15: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

15

เลือดขยายตัวและ permeability ของหลอดเลือดสูงขึ้น นอกจากนี้ PAF ยังกระตุนกระบวนการ leukocyte

adhesion, chemotaxis สงเสริมกระบวนการ phagocytosis และสงเสริมใหเกิดการสราง chemical mediators

ชนิดอื่นๆ อีกดวย PAF ถูกสรางไดจากเซลลหลายชนิด เชน เกล็ดเลือด basophils, mast cells, neutrophils,

macrophages และเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด CYTOKINES AND CHEMOKINES Cytokine เปนสารที่สรางไดจากเซลลหลายๆ ชนิด สวนใหญจะทําหนาที่กระตุน lymphocytes และ

macrophages สารที่มีบทบาทในกระบวนการอักเสบเฉียบพลัน คือ

TUMOR NECROSIS FACTOR AND INTERLEUKIN-1 Tumor necrotic factor (TNF) และ interleukin-1 (IL-1) ถูกสรางมาจากเซลล macrophages มี

บทบาทในการกระตุนเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด เซลลเม็ดเลือดขาว และเซลล fibroblasts ทําใหเกิด acute-

phase reactions ภาวะที่สามารถกระตุนใหเกิดการหลั่งสารดังกลาว เชน endotoxin ในเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ

สารประกอบจากระบบภูมิคุมกัน (immune complexes) เปนตน

ภาพแสดงผลของ TNF และ IL-1 ตอการเกิด acute phase reaction (Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds.

Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 71.) CHEMOKINES เปนสารที่ชักนําใหเซลลเขามาในบริเวณที่มีการหลั่งสารดังกลาว (chemoattractant) แบงออกเปน 4

กลุม คือ

- chemokines ตัวอยางของสารกลุมนี้ คือ interleukin-8 ซึ่งถูกหลั่งมาจาก macrophages

เซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด สารหรือภาวะที่สามารถกระตุนใหเกิดการหลั่ง IL-8 คือ TNF, IL-1

และสารที่พบในเชื้อโรค IL-8 จะมีผลทําใหเกิดกระบวนการ activation และ chemotaxis ในเซลล

neutrophils

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 16: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

16

- chemokines ตัวอยางเชน monocyte chemoattractant protein (MCP-1), eotaxin, macro-

phage inflammatory protein-1 (MIP-1 ) และ RANTES (regulate and normal T cell

expressed and secreted) ทําหนาที่เปน chemoattractant ตอเซลล monocytes, eosinophils,

basophils และ lymphocytes

- chemokines เชน lymphotaxin ทําหนาที่ชักนําเซลล lymphocytes

- CX3C chemokines ไดแก fractalkine ทําหนาที่ชักนําเซลล monocytes และ lymphocytes

NITRIC OXIDE Nitric oxide (NO) ถูกสรางจากเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด เซลล macrophages มีหนาที่สําคัญในการ

ทําใหหลอดเลือดขยายตัว และมีหนาที่ในการตอตานกระบวนการอักเสบ เพื่อปองกันการเกิดการอักเสบที่มาก

เกินไป นอกจากนี้ยังพบวา NO มีบทบาทในการทําลายเชื้อแบคทีเรียไดดวย

LYSOSOMAL CONSTITUENTS OF LEUKOCYTES ในเซลล neutrophils และเซลล monocytes จะพบ lysosomal granules อยูภายใน ซึ่งมีสารชนิด

ตางๆ ที่สามารถกระตุนกระบวนการอักเสบได โดยในเซลล neutrophils จะพบ granules 2 ชนิด คือ

- Specific (secondary) granules เอนไซมที่พบอยูภายใน เชน lysozyme, collagenase,

gelatinase, lactoferrin, plasminogen activator, histamine และ alkaline phosphatase

- Azurophil (primary) granules พบเอนไซมหลายชนิดเชนกัน เชน myeloperoxidase, bacteri-

cidal factors (lysozyme, defensins), acid hydrolase, neutral protease เปนตน

การหลั่งเอนไซมเหลานี้ อาจพบใน phagolysosome ดังที่ไดกลาวไปแลว นอกจากนี้อาจพบวาเซลล

เม็ดเลือดขาวสามารถหลั่งสารเหลานี้เขาสู extracellular matrix ไดอกีดวย และสงผลตอกระบวนการอักเสบได

เชน neutral protease สามารถกระตุน C3 และ C5

การหลั่งเอนไซมจาก lysosomal granules ที่ขาดการควบคุมที่เหมาะสมจะกอใหเกิดผลกระทบที่

รุนแรงกับเนื้อเยื่อ รางกายจึงมีกลไกมาควบคุมเอนไซมดังกลาว คือ antiprotease เชน 1-antitrypsin ที่

สามารถยับยั้งการทํางานของ neutral protease การขาด 1-antitrypsin ( 1-antitrypsin deficiency) จะทํา

ให protease จากเซลลเม็ดเลือดขาวสามารถออกฤทธิ์ทําลายเนื้อเยื่อไดมากกวาปกติ และเกิดพยาธิสภาพขึ้นใน

ผูปวยที่ขาดสารดังกลาว

OXYGEN-DERIVED FREE RADICALS สารกลุม free radicals ซึ่งมีสวนประกอบเปนออกซิเจน ถูกสรางมาจากเซลลเม็ดเลือดขาว และหลั่ง

ภายหลังจากไดรับการกระตุนจากสารประกอบในเชื้อโรค chemokine หรือ สารประกอบทางภูมิคุมกัน (immune

complexes) oxygen-derived free radicals ในปริมาณนอยจะทําใหมีการสราง chemokines, cytokines,

adhesion molecules และสารชนิดอื่นๆ ซึ่งสงเสริมกระบวนการอักเสบ การหลั่งในปริมาณมากจะทําใหเกิดการ

ทําลายเนื้อเยื่อของรางกาย นอกจากนี้ยังมีผลยับยั้งการทํางานของ antiprotease จึงสงเสริมใหเกิดการทําลาย

เนื้อเยื่อของรางกายไดรุนแรงมากขึ้น

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 17: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

17

NEUROPEPTIDES สารกลุมนี้มีกลไกการออกฤทธิ์คลายกับกลุม vasoactive amines และ eicosanoids ตัวอยางสารใน

กลุมนี้ เชน neuropeptide substance P และ neurokinin A เปนตน

SUMMARY OF CHEMICAL MEDIATORS OF ACUTE INFLAMMATION

ตารางแสดงหนาที่ของ chemical mediators ชนิดตางๆในกระบวนการอักเสบ Action

Mediator Vascular leakage

Chemotaxis Others

Histamine and

Sertonin

Bradykinin

C3a

C5a

Prostaglandins

Leukotriene B4

Leukotriene C4, D4, E4

Oxygen metabolites

PAF

IL-1 and TNF

Chemokines

Nitric oxide

+

+

+

+

Potentiate

others

-

+

+

+

-

-

+

-

-

-

+

-

+

-

-

+

+

+

+

Pain

Opsonin

Leukocyte adhesion, activation

Vasodilation, pain, fever

Leukocyte adhesion, activation

Bronchoconstriction, vasoconstriction

Epithelial and tissue damage

Bronchoconstriction and leukocyte priming

Acute-phase reactions, endothelial activation

Leukocyte activation

Vasodilation, cytotoxicity

ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อในกระบวนการอักเสบและ mediators ที่เกี่ยวของ

Effect Mediators

Vasodilatation Prostaglandin

Nitric oxide (NO)

Histamine

Increased vascular permeability Vasoactive amines

C3a and C5a

Bradykinin

Leukotriene C4, D4, E4

Platelet activating factor (PAF)

Substance P

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 18: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

18

Chemotaxis, leukocyte recruitment and activation C5a

Leukotriene B4

Chemokine

Tumor necrotic factor (TNF)

Interleukin-1 (IL-1)

Bacterial products

Fever Tumor necrotic factor (TNF)

Interleukin-1 (IL-1)

Prostaglandins

Pain Prostaglandins

Bradykinin

Tissue damage Neutrophil and macrophage lysosomal enzymes

Oxygen metabolite

Nitric oxide (NO)

OUTCOME OF ACUTE INFLAMMATION

หลังจากเกิดกระบวนการอักเสบเฉียบพลันอยางสมบูรณแลว ผลที่เกิดขึ้นในเนื้อเยื่อนั้นๆ สามารถแบง

ได 3 ชนิด คือ

1. เนื้อเยื่อกลับมาเปนปกติ หลังจากไดกําจัดเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมนั้นออกไปแลว (complete

resolution) มักพบในกรณีที่มีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อปริมาณนอย หรือเกิดการบาดเจ็บในชวง

ระยะเวลาสั้นๆ โดยหลังจากกําจัดสาเหตุออกไป permeability ของหลอดเลือดจะกลับมาเปน

ปกติ เซลล neutrophils จะเกิดการตายแบบ apoptosis สารน้ําและโปรตีนที่ร่ัวออกมาจะถูกดูด

ซึมกลับทางหลอดน้ําเหลือง เซลล macrophages ทําหนาที่เก็บกินส่ิงแปลกปลอมและเซลลตาย

2. ถูกแทนที่ดวยเนื้อเยื่อพังผืด (healing by connective tissue replacement or fibrosis) เกิดใน

กรณีที่มีการบาดเจ็บรุนแรง มีการทําลายโครงสรางพื้นฐานของเนื้อเยื่อ ทําใหเกิดหนองซึ่งมี

ไฟบริน (fibrin) อยูจํานวนมาก รางกายจะไมสามารถกําจัดสารดังกลาวออกไปได เนื้อเยื่อ

เกี่ยวพันจึงเขาไปแทนที่

3. เกิดกระบวนการอักเสบเรื้อรัง (chronic inflammation) เกิดขึ้นในกรณีที่รางกายไมสามารถกําจัด

ส่ิงแปลกปลอมนั้นใหออกไปจากรางกายไดหมด

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 19: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

19

ภาพแสดงผลที่เกิดขึ้นภายหลังการเกิดกระบวนการอักเสบเฉียบพลัน (Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds.

Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 75.)

MORPHOLOGIC PATTERN OF ACUTE INFLAMMATION

โดยทั่วไปในกระบวนการอักเสบเฉียบพลัน จะพบพยาธิสภาพหลัก คือ การเปลี่ยนแปลงของหลอด

เลือด และพบเซลลเม็ดเลือดขาวแทรกซึมเขาไปในเนื้อเยื่อนั้น อยางไรก็ตามรายละเอียดสวนอื่นๆ อาจมีความ

แตกตางกันบางขึ้นกับสาเหตุ ลักษณะเนื้อเยื่อ และอาการทางคลินิก

SEROUS INFLAMMATION เปนกระบวนการอักเสบซึ่งมีสารน้ํา (serous fluid) สะสมในเนื้อเยื่อหรือชองวางตางๆ ภายในรางกาย

โดยอาจเกิดจากการรั่วของพลาสมา เชน บาดแผลไฟไหมซึ่งมีตุมน้ําบริเวณผิวหนัง หรืออาจเกิดจากเซลล

mesothelium หล่ังสารน้ําออกมาสะสมในชองเยื่อหุมหัวใจ (pericardial cavity) ชองในเยื่อหุมปอด (pleural

cavity) หรือชองทอง (peritoneal cavity) เกิดเปน effusion

FIBRINOUS INFLAMMATION เกิดในการบาดเจ็บที่รุนแรง ทําใหเกิดการรั่วของสารน้ําและโปรตีนจํานวนมากเขาสูเนื้อเยื่อดังกลาว

โดยเฉพาะ fibrinogen ซึ่งจะเปล่ียนแปลงเปน fibrin เมื่อรวมกับเซลลอักเสบ จึงเกิดเปน fibrinous exudate การ

อักเสบชนิดนี้มักเกิดในชองวางซึ่งเซลลเยื่อบุอยู เชน ภายในเยื่อหุมสมอง ชองเยื่อหุมหัวใจ หรืออาจเกิดใน

เนื้อเยื่อซึ่งสามารถสรางหรือสงเสริมกระบวนการการแข็งตัวของเลือดได เชน บริเวณที่มีเซลลมะเร็งซึ่งมีสารที่มี

ฤทธิ์เปน procoagulant stimulus

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 20: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

20

การอักเสบชนิดนี้หากเกิดขึ้นในปริมาณนอย รางกายจะสามารถขจัดไฟบรินใหหมดไปได (resolution)

แตหากเกิดในปริมาณมากจะเกิดการแทนที่ดวยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน และสุดทายจะเกิดเนื้อเยื่อพังผืดเขาแทนที่

(fibrosis) และหากเกิดในชองวางตางๆ ของรางกาย เชน ชองเยื่อหุมหัวใจ ชองปอด และชองทอง อาจสงผลให

อวัยวะตางทํางนผิดปกติได จากการเกิดเนื้อเยื่อพังผืดขึ้น

SUPPURATIVE OR PURULENT INFLAMMATION เปนการอักเสบที่มีหนอง (pus หรือ purulent exudate) ในเนื้อเยื่อ ซึ่งหนองดังกลาวประกอบดวยเซลล

อักเสบชนิด neutrophils เซลลตาย และสารน้ํา การอักเสบชนิดนี้มักเกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด pyogenic

bacteria ตัวอยางที่พบบอย เชน การอักเสบของไสติ่ง (acute appendicitis)

ในบางกรณี หากเกิดการอักเสบชนิดนี้เปนเวลานาน จะเกิดกอนฝหนองขึ้น (abscess) ซึ่งจะพบเซลล

อักเสบและเนื้อเยื่อที่ตายอยูบริเวณกลางรอยโรค ถัดออกมาจะพบเซลลอักเสบ neutrophils สวนชั้นนอกสุดจะ

พบการการคั่งของหลอดเลือด (hyperemia) และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

ULCERS หมายถึง รอยโรคซึ่งมีการตายของเซลลบริเวณผิวของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะ ทําใหเกิดการหลุดลอกของ

เนื้อเยื่อบริเวณดังกลาว ในระยะแรกจะพบเซลลอักเสบชนิด neutrophils บริเวณขอบแผลซึ่งอยูใกลกับบริเวณที่

มีการหลุดลอกของเนื้อตาย และพบการคั่งของหลอดเลือด หากเกิดเรื้อรังจะพบเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบริเวณขอบและ

พื้นของแผล พบเซลลอักเสบชนิด lymphocytes, macrophages และ plasma cells

CHRONIC INFLAMMATION

OVERVIEW OF CHRONIC INFLAMMATION

กระบวนการอักเสบเรื้อรัง หมายถึงการอักเสบที่เกิดขึ้นเปนเวลานานเปนสัปดาห หรือเปนเดือน

ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในเนื้อเยื่อจะพบเซลลอักเสบหลายๆ ชนิด มีการทําลายเนื้อเยื่อบางสวน และจะเกิด

กระบวนการซอมแซมเนื้อเยื่อควบคูกันไป

การอักเสบแบบเรื้อรังจะพบในกรณีตอไปนี้

1. การติดเชื้อบางชนิดซึ่งเชื้อโรคสามารถคงอยูในรางกายไดเปนเวลานาน เชน Mycobacterium,

Treponema pallidum เชื้อไวรัส เชื้อรา และเชื้อปรสิตบางชนิด ซึ่งเชื้อโรคเหลานี้จะกระตุนให

รางกายตอบสนองแบบ delayed type hypersensitivity และเกิดการอักเสบชนิด

granulomatous inflammation ขึ้น

2. การสัมผัสกับสารแปลกปลอม ซึ่งเปนอันตรายตอรางกายเปนระยะเวลานาน ตัวอยางเชน ซิลิกา

ซึ่งรางกายไมสามารถยอยสลายได ทําใหเกิดโรคที่มีการอักเสบเรื้อรัง คือ silicosis นอกจากนี้อาจ

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 21: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

21

เกิดจากสารที่มีอยูภายในรางกายเอง เชน สารไขมันที่ผิดปกติซึ่งสะสมอยูบริเวณผนังหลอดเลือด

ทําใหเกิดการอักเสบเรื้อรัง เรียก atherosclerosis

3. การตอบสนองของระบบภูมิคุมกันที่ผิดปกติตอเนื้อเยื่อของรางกาย (autoimmune reaction) ทํา

ใหเกิดโรคกลุม autoimmune diseases ตัวอยางเชน rheumatoid arthritis และ systemic lupus

erythematosus (SLE) เปนตน

MORPHOLOGIC FEATURES OF CHRONIC INFLAMMATION

ดังที่ไดกลาวไปแลววาการอักเสบเรื้อรังจะพบการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อ คือ พบเซลลอักเสบหลายๆ

ชนิด เกิดการทําลายเนื้อเยื่อบางสวน และเกิดกระบวนการซอมแซมเนื้อเยื่อ ซึ่งแตกตางจากการอักเสบชนิด

เฉียบพลัน ซึ่งจะพบการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด การบวมของเนื้อเยื่อ และเซลลอักเสบชนิด neutrophils

ลักษณะของการอักเสบเรื้อรัง ประกอบดวย

1. พบการแทรกซึมของเซลลอักเสบชนิด mononuclear cells ไดแก macrophages, lymphocytes

และ plasma cells

2. พบการทําลายเนื้อเยื่อ (tissue destruction) เนื่องจากมีการหลั่งสารกระตุนจากเซลลอักเสบชนิด

ตางๆ

3. พบกระบวนการซอมแซมเนื้อเยื่อ มีการสรางเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเขามาแทนที่ (connective tissue re-

placement)

MONONUCLEAR CELL INFILTRATION เซลลที่มีบทบาทมากที่สุดในกระบวนการอักเสบเร้ือรัง คือ macrophages ซึ่งเปนเซลลที่อยูใน mono-

nuclear phagocyte system สามารถพบเซลลเหลานี้ไดทั้งในกระแสเลือด (blood monocytes) และในเนื้อเยื่อ

ของอวัยวะตางๆ เชน Kupffer cells ในตับ sinus histiocytes ในมามและตอมน้ําเหลือง alveolar macro-

phages ในปอด osteoclasts ในกระดูก เปนตน เซลลเหลานี้จะพัฒนามาจากเซลลตนกําเนิดในไขกระดูก

จากนั้นจะเขาสูกระแสเลือด และเนื้อเยื่อตางๆ ตอไป การเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะถูกควบคุมดวยสารเคมีจํานวน

มาก รวมทั้งเซลลอักเสบชนิดอื่นๆ ดวย

ดังที่ไดกลาวไปแลววาในกระบวนการอักเสบเฉียบพลัน จะพบเซลล macrophages ในรอยโรคได

ภายใน 48 ชั่วโมง กระบวนการดังกลาวจะอาศัยการกระตุนจากเซลลและสารชนิดตางๆ คลายกับที่พบในเซลล

neutrophils ตัวอยางสารเคมีที่กระตุนเซลล macrophages เชน IFN- ซึ่งสรางมาจาก T lymphocytes และ

NK cells นอกจากนี้สารประกอบของเชื้อแบคทีเรีย และสารเคมีบางชนิด สามารถกระตุนเซลล macrophages

ไดเชนกัน หลังจากไดรับการกระตุน เซลล macrophages จะเกิดการเปลี่ยนแปลง คือ มีการเพิ่มขนาดเซลล เพิ่ม

ปริมาณของ lysosomal enzyme เพิ่มความสามารถในการเก็บกินส่ิงแปลกปลอม เพิ่มการสรางสารเคมีหลายๆ

ชนิดภายในเซลล เมื่อมีการหลั่งสารเหลานี้ออกมาจํานวนมากโดยไมมีกลไกการควบคุม จะทําใหเกิดการทําลาย

เนื้อเยื่อเกิดเปนพยาธิสภาพตามมาได

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 22: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

22

ภายหลังที่กระบวนการอักเสบเฉียบพลันสามารถกําจัดเชื้อโรคหรือส่ิงแปลกปลอมออกไปแลว เซลล

macro-phages จะคอยๆ หายไปจากบริเวณนั้น โดยทางหลอดน้ําเหลือง และตอมน้ําเหลือง จึงไมเกิดการ

อักเสบเรื้อรัง แตหากมีปจจัยใดๆ ก็ตามที่มีกระตุนใหเซลล macrophages คงอยูในบริเวณนั้น จะทําใหเกิด

กระบวนอักเสบเร้ือรังตามมาได กลไกที่ทําใหเซลล macrophages ยังคงอยูในบริเวณนั้น คือ

- มีการสรางสารเคมีทั้ง adhesion molecules และ chemotactic stimuli ใหเซลล monocytes

จากกระแสเลือดเขามาในบริเวณรอยโรคมากยิ่งขึ้น สารที่ทําใหเกิดกระบวนการดังกลาวเชน C5a,

platelet-derived growth factor (PDGF) และ transforming growth factor- (TGF- )

- มีการเพิ่มจํานวนของเซลล macrophages ในบริเวณนั้น (local proliferation)

- มีกลไกบางอยางที่ควบคุมเซลล macrophages ใหคงอยูในบริเวณนั้น ภายหลังจากที่ไดกําจัดสิ่ง

แปลกปลอมออกไปแลว (immobilization of macrophages)

หากเซลล macrophages คงอยูในรอยโรคนานเกินไป จะทําใหเกิดการหลั่งสารซึ่งสามารถทําลาย

เนื้อเยื่อได เชน reactive oxygen and nitrogen intermediates และ protease นอกจากนี้ยังหลั่งสารซึ่งทําให

เซลลอักเสบ และเซลลชนิดอื่นๆ เชน fibroblasts และเซลลเยื่อบุผนังหลอดเลือด เขามาในบริเวณนั้น และเกิด

การเพิ่มจํานวนขึ้น จากเหตุผลดังกลาวจึงทําใหเกิดการทําลายเนื้อเยื่อ การอักเสบซ้ําซอน และการซอมแซม

เนื้อเยื่อ เกิดเปนการอักเสบแบบเรื้อรังขึ้น

ภาพแสดงบทบาทของเซลล macrophages ในการอักเสบเรื้อรัง (Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds. Robbins

and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 80.)

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 23: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

23

OTHER CELLS IN CHRONIC INFLAMMATION นอกจากเซลล macrophages แลว เซลลชนิดอื่นที่มีบทบาทสําคัญในกระบวนการอักเสบเรื้อรัง คือ Lymphocytes Lymphocytes และ macrophages สามารถสรางสารออกฤทธิ์กระตุนซึ่งกันและกันได โดยเซลล

macrophages สามารถสราง cytokines หลายชนิด โดยเฉพาะ interleukin-12 ไปกระตุน T lymphocytes และ

T lymphocytes ที่ไดรับการกระตุนแลวจะสามารถสราง cytokines อีกหลายๆ ชนิดเชนกัน โดยเฉพาะ IFN-

ซึ่งจะกระตุนเซลล macrophages กลับไดอีกเชนกัน

B lymphocytes ที่ผานการกระตุนแลวจะกลายเปน plasma cells ซึ่งทําหนาที่สรางแอนติบอดีคอยดัก

จับกับแอนติเจนซ่ึงเปนส่ิงแปลกปลอม ในปฏิกิริยาการอักเสบเรื้อรังบางชนิดอาจเกิดสะสมของเซลล macro-

phages, lymphocytes และ plasma cells จํานวนมาก จนเกิดเปน lymphoid follicle เชน ใน synovium ของ

ผูปวย rheumatoid arthritis

ภาพแสดงกลไกการกระตุนซ่ึงกันและกันของ macropahges และ lymphocytes (Kumar V, Abbas AK, Fausto N,

eds. Robbins and Cotran Pathologic Basis of Disease. 7th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005: 82.) Eosinophils พบมากในปฏิกิริยาการอักเสบซึ่งมีการหลั่งแอนติบอดีชนิด IgE และในการติดเชื้อปรสิต เนื่องจาก

เซลล eosinophils มีสาร major basic protein ซึ่งสามารถทําลายเชื้อปรสิตได กลไกการแทรกซึมของ

eosinophils จากกระแสเลือดเขาสูเนื้อเยื่อจะคลายกับเซลลอักเสบชนิดอื่นๆ สารที่มีบทบาทในการชักนําเซลล

eosinophils คือ eotaxin Mast cells พบไดในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันทั่วไป มีบทบาททั้งในกระบวนการอักเสบเฉียบพลัน และการอักเสบเรื้อรัง

mast cells มีหนาที่ในการหลั่งสาร histamine และ arachidonic acid metabolites นอกจากนี้ยังสามารถหลั่ง

cytokines ซึ่งทําใหเกิดเนื้อพังผืดในกระบวนการอักเสบเร้ือรัง

GRANULOMATOUS INFLAMMATION เปนการอักเสบเร้ือรังซึ่งมีรูปแบบเฉพาะ คือ พบเซลล macrophages ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางจน

คลายกับเซลลเยื่อบุ (epithelial-like or epithelioid appearance) สามารถพบไดในการติดเชื้อบางชนิด เชน

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 24: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

24

tuberculosis, cat-scratch disease, leprosy, syphilis, lymphogranuloma venereum และการติดเชื้อบาง

ชนิด นอกจากนี้อาจพบในการตอบสนองของรางกายตอส่ิงแปลกปลอมบางชนิดได

ลักษณะสําคัญของการอักเสบชนิดนี้ คือ การพบ granuloma ซึ่งจะพบเซลล macrophages ที่มีการ

เปล่ียนแปลงเปน epithelioid histiocytes ดังที่ไดกลาวไปแลว นอกจากนี้เซลล epithelioid histiocytes ดังกลาว

อาจรวมตัวกัน เกิดเปนเซลลขนาดใหญและมีหลายนิวเคลียส เรียก multinucleated giant cells ลักษณะอื่นๆ

คือ พบเซลล lymphocytes ลอมรอบ รวมทั้งอาจพบ plasma cells ไดบาง

Granuloma สามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด ขึ้นกับกลไกการเกิด คือ

1. Foreign-body granulomas เปนการตอบสนองของรางกายตอส่ิงแปลกปลอม เชน ฝุนผงบาง

ชนิด ไหมเย็บแผล ซึ่งจะพบสิ่งแปลกปลอมเหลานี้บริเวณตรงกลางของ granuloma เซลล giant

cell ที่พบจะมีนิวเคลียสจํานวนมากและเรียงตัวไมเปนระเบียบ เรียก giant cells ชนิดนี้วา

foreign body-type giant cell

2. Immune granulomas มักเกิดในการติดเชื้อซึ่งถูกกําจัดไดยาก ทําใหเกิดกาตอบสนองของระบบ

ภูมิคุมกันชนิด cell-mediated โดยเซลล macrophages จะเก็บกินส่ิงแปลกปลอม และกระตุน

เซลล T lymphocytes จากนั้น T lymphocytes ที่ผานกระตุนจะสรางสาร IL-2 กระตุน T

lymphocytes อื่นๆ และสรางสาร IFN- กระตุนเซลล macrophages ใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

เปน epithelioid histiocytes ลักษณะของ giant cells จะมีนิวเคลียสเรียงตัวกันเปนรูปเกือกมา

บริเวณขอบของเซลล เรียก Langhans-type giant cells การเกิด granulomas ชนิดนี้พบไดใน

การติดเชื้อดังที่ไดกลาวมาแลว โดยเฉพาะ tuberculosis จะพบลักษณะสําคัญ คือ เกิดการตาย

ของเนื้อเยื่อชนิด caseous necrosis บริเวณตรงกลาง granuloma สวนการติดเชื้อชนิดอื่นจะพบ

central caseous necrosis ไดยาก

LYMPHATICS IN INFLAMMATION หลอดน้ําเหลืองเปนทอซึ่งมีเซลลเยื่อบุ และ basement membrane บาง ไมมีชั้นกลามเนื้อ ยกเวนใน

หลอดน้ําเหลืองขนาดใหญ ในกระบวนการอักเสบ หลอดน้ําเหลืองมีบทบาทเกี่ยวกับการดูดซึมสารน้ํา โปรตีน

เซลลอักเสบ และเซลลตายออกจากบริเวณที่มีการอักเสบ

ในการติดเชื้อที่รุนแรง เชื้อโรคอาจแทรกซึมเขาหลอดน้ําเหลือง ทําใหเกิดกระบวนการอักเสบในหลอด้ํา

เหลือง เรียก lymphangitis และอาจผานเขาไปถึงตอมน้ําเหลืองเกิดการอักเสบไดเชนกนั เรียก lymphadenitis

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 25: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

25

SYSTEMIC EFFECTS OF INFLAMMATION

อาการทางคลินิกซึ่งพบในขณะที่มีการอักเสบ เชน ขณะที่เปนไขหวัด หรือมีฝหนองขึ้นในบริเวณตางๆ

ทําใหเรารูสึกไมสบาย การตอบสนองของรางกายดังกลาว เรียก acute phase responses หรือ systemic

inflammatory response syndrome (SIRD) ซึ่งเปนผลจาก cytokine และสารตางๆ ซึ่งมีการหลั่งในระหวางที่มี

การอักเสบเกิดขึ้น การตอบสนองของรางกายดังกลาวประกอบดวย

FEVER อาการไข หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิของรางกายมีคาสูงขึ้นกวาปกติประมาณ 1 ถึง 4 องศาเซลเซียส

เปนหนึ่งในอาการที่พบไดบอยที่สุดอาการหนึ่ง สารที่ทําใหเกิดอาการไข คือ pyrogens ซึ่งแบงออกเปน 2 ชนิด

คือ exogenous pyrogens เชน lipopolysaccharide ในแบคทีเรีย ซึ่งจะไปกระตุนใหเซลลเม็ดเลือดขาวสราง

endogenous pyrogens ไดแก interleukin-1 และ tumor necrotic factor ซึ่งสามารถกระตุนเอนไซม

cyclooxygenases ใหเปลี่ยนแปลง arachidonic acid เกิดเปน prostaglandins ขึ้น โดยเฉพาะ prostaglandin

E2 ซึ่งจะไปกระตุน hypothalamus ใหปรับอุณหภูมิของรางกายใหสูงขึ้น

ACUTE-PHASE PROTEIN ในกระบวนการอักเสบ จะมีกลไกกระตุนใหอวัยวะบางอวัยวะ เชน ตับ สรางโปรตีนบางชนิดมากขึ้น

กวาปกติ ตัวอยางเชน C-reactive protein (CRP), fibrinogen และ serum amyloid A protein (SAA) การสราง

โปรตีนในตับเหลานี้ เกิดจากเซลลตับไดรับการกระตุนจาก interleukin-6 ใหสราง C-reactive protein และ

fibrinogen สวน serum amyloid A protein ไดรับการกระตุนจาก interlukin-1 และ tumor necrotic factor

Acute-phase protein หลายๆ ชนิด เชน CRP และ SAA สามารถทําหนาที่เปน opsonins และจับกับ

complement proteins ได fibrinogen ที่มีปริมาณสูงขึ้นจะทําใหเลือดมีความเขมขนมากขึ้น ทําใหเม็ดเลือดมี

อัตราการตกตะกอน (sedimentary rate) เร็วขึ้น จากลักษณะดังกลาวจึงมีประยุกตนําไปใชในการตรวจทาง

หองปฏิบัติการที่วัดอัตราการตกตะกอนของเลือด เรียก erythrocyte sedimentary rate (ESR) ซึ่งหากมีคาสูงขึ้น

จะบงบอกวามีกระบวนการอักเสบเกิดขึ้นในรางกาย

กระบวนการอักเสบที่เกิดขึ้นอาจทําใหมีการสรางสาร SAA จํานวนมากและรวมกลุมกันเกิดเปนภาวะ

amyoidosis

LEUKOCYTOSIS ภาวะเม็ดเลือดขาวในเลือดสูง เปนภาวะที่มีเม็ดเลือดขาวในกระแสเลือดมากกวา 10,000 เซลลตอ

ลูกบาศกมิลลิเมตร (คาปกติประมาณ 5,000 ถึง 10,000 เซลลตอลูกบาศกมิลลิเมตร) พบไดบอยในกระบวนการ

อักเสบ เนื่องจากมีการหลั่ง cytokines หลายชนิด โดยเฉพาะ IL-1 และ TNF จะไปกระตุนเซลลเม็ดเลือดขาวใน

ไขกระดูกใหออกสูกระแสเลือด และกระตุนใหมีการสรางเซลลเม็ดเลือดขาวในกระดูกมากขึ้น ในภาวะที่มีการ

อักเสบบางชนิดอาจกระตุนใหเซลลเม็ดเลือดขาวในกระแสเลือดเพิ่มสูงขึ้นมากกวาปกติมาก คือ 40,000 ถึง

100,000 เซลลตอลูกบาศกมิลลิเมตร เรียก leukemoid reaction เนื่องจากมีลักษณะที่คลายกับมะเร็งเม็ดเลือด

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 26: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

26

ขาวชนิด leukemia ภาวะเม็ดเลือดขาวในเลือดสูงอาจพบวามีเซลลชนิดใดชนิดหนึ่งสูงมากขึ้นกวาปกติ ซึ่งจะ

สัมพันธกับสาเหตุบางอยาง สรุปไดคือ

Neutrophilia เปนภาวะที่มีเซลลเม็ดเลือดขาวชนิด neutrophils สูงขึ้นกวาปกติ สาเหตุสวนใหญเกิด

จากการติดเชื้อแบคทีเรีย

Lymphocytosis เปนภาวะที่มีเซลลเม็ดเลือดขาวชนิด lymphocytes สูงมากขึ้นกวาปกติ มักมีสาเหตุ

มาจากการติดเชื้อไวรัส

Eosinophilia เปนภาวะที่มีเซลลเม็ดเลือดขาวชนิด eosinophils สูงมากขึ้นกวาปกติ พบในการติดเชื้อ

ปรสิต และผูปวยที่มีภาวะภูมิแพ เชน หอบหืด (bronchial asthma)

ในภาวะที่มีการอักเสบบางชนิด อาจพบเซลลเม็ดเลือดขาวในเลือดต่ําลง เรียกวา leukopenia พบใน

การติดเชื้อไวรัส rickettsiae และโปรโตซัวบางชนิด นอกจากนี้ยังพบในการติดเชื้อที่มีความรุนแรงมาก เชน วัณ

โรคระยะที่มีการแพรกระจายของเชื้อทั่วรางกาย หรือในผูปวยมะเร็งขั้นรุนแรง

OTHER MANIFESTATIONS ลักษณะอื่นๆ ที่พบในการอักเสบ เชน ความดันโลหิตสูงขึ้น ชีพจรเตนไวขึ้น เบื่ออาหาร (anorexia) งวง

ซึม (somnolence) มีอาการเมื่อยตามรางกาย (malaise) สาเหตุเชื่อวาเปนผลมาจาก cytokines ชนิดตางๆ ที่มี

การหลั่งในระหวางกระบวนการอักเสบ

CONSEQUENCES OF INFLAMMATION

DEFECTIVE INFLAMMATION ในภาวะที่กระบวนการอักเสบขาดความสมบูรณ ยอมทําใหรางกายไมสามารถกําจัดเชื้อโรค หรือส่ิง

แปลกปลอมออกไปจากรางกายได นอกจากนี้จะทําใหรางกายไมสามารถซอมแซมเนื้อเยื่อภายหลังไดรับการ

บาดเจ็บได เนื่องจากกระบวนการอักเสบเปนกลไกในการกําจัดเนื้อเยื่อที่ตายออกไป

EXCESSIVE INFLAMMATION ภาวะที่มีการอักเสบมากเกินไป จะทําเกิดทําลายเนื้อเยื่อของรางกาย ทําใหเกิดพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อ

เกิดโรคหรือความเจ็บปวยขึ้นในรางกาย ตัวอยางเชน โรคกลุม autoimmune diseases นอกจากนี้กระบวนการ

อักเสบยังมีบทบาทตอการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่พบในโรคนั้นๆ เชน มะเร็ง ภาวะไขมันสะสมในผนังหลอดเลือด

นั้นๆ (atherosclerosis) โรคหลอดเลือดหัวใจ (ischemic heart disease) และกลุมโรคที่มีการเสื่อมของเนื้อเยื่อ

(degenerative diseases) เชน Alzheimer disease

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 27: ACUTE AND CHRONIC INFLAMMATION - Naresuan University

27

REFERENCE

Fantone JC, Ward PA. Repair, Inflammation. In: Rubin E, eds. Essential pathology. 3rd ed.

Philadelphia: Lippincort Williams & Wilkins, 2001: 23-46.

Kumar V, Abbas AK, Fausto N, eds. Robbins and Cotran pathologic basis of disease. 7th ed.

Philadelphia: Elsevier Saunders, 2005.

Kumar V, Cotran RS, Robbins SL. Robbins basic pathology. 7th ed. Philaldelphia: W.B. Saunders,

2003.

Murphy HS, Ward PA. Inflammation. In: Rubin E, et al, eds. Rubin’s Pathology: Clinicopathologic

Foundation of Medicine. 4th ed. Philadelphia: Lippincort Williams & Wilkins, 2005: 40-83.

เอกสารประกอบการสอนรายวชิาหลักพยาธิวทิยาและนิติเวชศาสตร (499303) ปการศึกษา 2552 เร่ือง Acute and Chronic Inflammation

อ.นพ.พีรยุทธ สิทธิไชยากุล ภาควิชาพยาธิวทิยาและนติิเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร


Recommended