+ All Categories
Home > Documents > IMDG Code - check.dgbkp.in.thcheck.dgbkp.in.th/Handling of Dangerous Goods under... · 2.3...

IMDG Code - check.dgbkp.in.thcheck.dgbkp.in.th/Handling of Dangerous Goods under... · 2.3...

Date post: 04-Nov-2020
Category:
Upload: others
View: 19 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
6
Transcript
Page 1: IMDG Code - check.dgbkp.in.thcheck.dgbkp.in.th/Handling of Dangerous Goods under... · 2.3 ข้อก าหนดต่างๆ ใน IMDG Code (บัญชีรายการสินค้าอันตราย)
Page 2: IMDG Code - check.dgbkp.in.thcheck.dgbkp.in.th/Handling of Dangerous Goods under... · 2.3 ข้อก าหนดต่างๆ ใน IMDG Code (บัญชีรายการสินค้าอันตราย)

การสมัครเข้ารับการอบรมหลักสูตร การจัดการสินค้าอันตรายตามข้อก าหนด IMDG Code รุ่นที่ 2 (Handling of Dangerous Goods under IMDG Code)

หลักการและเหตุผล

ตามประมวลข้อบังคับว่าด้วยการขนส่งสินค้าอันตรายทางทะเลระหว่างประเทศ ( International Maritime Dangerous Goods Code: IMDG Code) ซึ่งก าหนดโดยองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization) ได้ก าหนดข้อบังคับส าหรับผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับสินค้าอันตรายต้องผ่านการอบรมตามหลักเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ในหัวข้อที่ 1.3 ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ การอบรมความรู้ทั่วไป (General Awareness training) การอบรมเฉพาะตามหน้าที่ (Function-specific training) และการอบรมเพ่ือความปลอดภัย (Safety training) นั้น

โครงการพัฒนาท่าเรือในภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน (the Sustainable Port Development in the ASEAN Region project) โดยองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (The German International Cooperation : GIZ) ด าเนินโครงการร่วมกับสมาคมท่าเรืออาเซียน (ASEAN Ports Association : APA) ได้สนับสนุนท่าเรือของประเทศสมาชิกอาเซียนที่เข้าร่วมโครงการ 12 แห่งจาก 7 ประเทศ เพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพของ การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม เพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดีของเจ้าหน้าที่ท่าเรือและชุมชนโดยรอบ การท่าเรือแห่งประเทศไทยมีท่าเรือที่เข้าร่วมโครงการฯ คือท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบัง ในด้าน การฝึกอบรม การท่าเรือฯ ได้รับการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเพ่ือเป็นวิทยากรฝึกอบรมด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสิ่งแวดล้อม ซึ่งหลักสูตรการจัดการสินค้าอันตรายในท่าเรือของ GIZ คือ Handling of Dangerous Goods in Port Areas - Advanced Course (SPD4) กองพัฒนาบุคคล ร่วมกับแผนกควบคุมสินค้าอันตราย การท่าเรือฯ จึงด าเนินการจัดหลักสูตร การจัดการสินค้าอันตรายตามข้อก าหนด IMDG Code (Handling of Dangerous Goods under IMDG Code) รุ่นที่ 2 ขึ้น ซึ่งหลักสูตรดังกล่าวเป็นหลักสูตรเดียวกันกับ SPD4 แต่มีการปรับปรุงเนื้อหาเพ่ือให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้น าเข้า-ส่งออกสินค้าอันตราย ผู้ประกอบกิจการรับขนส่งสินค้าอันตรายระหว่างประเทศ ผู้ประกอบกิจการท่าเรือและคลังสินค้าอันตราย บริษัทตัวแทนเรือ บริษัทสายเรือ และประชาชนทั่วไปที่สนใจ

วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของ IMO และข้อก าหนด IMDG Code มาตรฐาน ข้อก าหนด สนธิสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การจ าแนกประเภทของสินค้าอันตราย การติดเครื่องหมาย ฉลาก และป้าย ขั้นตอนการน าส่งสินค้าสินค้าอันตราย วิธีการขนส่งอย่างปลอดภัย กฎ ระเบียบต่างๆ ภายในประเทศที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสามารถปฏิบัติตามข้ันตอนอย่างถูกต้องเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินเกี่ยวกับสินค้าอันตราย

Page 3: IMDG Code - check.dgbkp.in.thcheck.dgbkp.in.th/Handling of Dangerous Goods under... · 2.3 ข้อก าหนดต่างๆ ใน IMDG Code (บัญชีรายการสินค้าอันตราย)

วันและสถานทีอ่บรม

วันที่ 24 – 26 กรกฎาคม 2562 เวลา 8.30 – 16.00 น. ณ ห้องฝึกอบรม กองพัฒนาบุคคล อาคารส านักงานการท่าเรือแห่งประเทศไทย อาคารบี ชั้น 4

การประเมิน

สอบข้อเขียน (1 ชั่วโมง) โดยผู้ที่ได้ผลสอบมากกว่า 75 % จึงจะได้รับวุฒิบัตร

รูปแบบการฝึกอบรม การอบรมเชิงปฏิบัติการ มีการบรรยาย การอภิปรายแบบกลุ่ม และมีกิจกรรมกลุ่ม

วิทยากร

1. นายศราวุธ ปิ่นมุข ปัจจุบันด ารงต าแหน่ง - หัวหน้าแผนกควบคุมสินค้าอันตราย กองบริหารงานทั่วไป ฝ่ายบริหารงานสนับสนุน ท่าเรือกรุงเทพ การท่าเรือแห่งประเทศไทย ประวัติการศึกษา - ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ประยุกต์(เคมีอุตสากรรม) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประวัติการฝึกอบรม - Course Instructors Workshop (CIW) under SPD Project by GIZ, Bangkok, Thailand - Transportation of Dangerous Goods for Maritime & Shipping, Kuala Lumpur, Malaysia - Train the Trainer Course on Radiation Detection Techniques and Procedures,

Ispra, Italy - Safety of Dangerous Goods at Ports, Penang, Malaysia

2. นายศักดิ์สิทธิ์ มิตรสมาน

ปัจจุบันด ารงต าแหน่ง - ผู้ช่วยหัวหน้าแผนกควบคุมสินค้าอันตราย กองบริหารงานทั่วไป ฝ่ายบริหารงานสนับสนุน ท่าเรือกรุงเทพ การท่าเรือแห่งประเทศไทย ประวัติการศึกษา - ปริญญาโท การจัดการการขนส่งและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา - ปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล ประวัติการฝึกอบรม - Course Instructors Workshop (CIW) under SPD Project by GIZ, Manila, Philippines - Safety of Dangerous Goods at Ports, Penang, Malaysia - การบริหารเหตุฉุกเฉินจากสารเคมี, กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม, ประเทศไทย - พันธกรณีต่อองค์กรทางทะเลระหว่างประเทศ ( IMO) และอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการ

ป้องกันมลพิษฯ, ส านักงานอาหารและยา, ประเทศไทย

Page 4: IMDG Code - check.dgbkp.in.thcheck.dgbkp.in.th/Handling of Dangerous Goods under... · 2.3 ข้อก าหนดต่างๆ ใน IMDG Code (บัญชีรายการสินค้าอันตราย)

วิธีการสมัคร ขั้นตอนที่ 1 สมัครเข้ารับการฝึกอบรมผ่าน https://goo2url.com/D1FWo หรือ ทาง QR Code

ขั้นตอนที่ 2 ผู้จัดการฝึกอบรมจะส่งการตอบรับการสมัครฝึกอบรมไปทางอีเมลของผู้สมัคร ขั้นตอนที่ 3 ผู้สมัครช าระค่าลงทะเบียน พร้อมส่งหลักฐานการโอนเงิน พร้อมเอกสารในการสมัครมาทางอีเมล

[email protected] หรือ [email protected] ขั้นตอนที่ 4 ผู้จัดการฝึกอบรมจะส่งอีเมลยืนยันการเข้าฝึกอบรมให้ผู้สมัคร เอกสารในการสมัครเข้ารับการฝึกอบรม

1. ส าเนาบัตรประชาชนผู้สมัคร 1 ฉบับ 2. ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม (แบบ ภ.พ.20) (ส าหรับนิติบุคคล เพ่ือใช้ออกใบเสร็จรับเงิน) 3. หลักฐานการโอนเงิน

ค่าลงทะเบียนและวิธีการช าระเงิน ค่าลงทะเบียน 5,800 บาท รวมภาษีมูลค่าเพ่ิม (รวมอาหารกลางวัน อาหารว่าง เอกสาร และค่าอบรม) ช าระค่าลงทะเบียนโดยโอนผ่านทางเคาน์เตอร์ธนาคาร เข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาย่อยการท่าเรือ ชื่อบัญชี การท่าเรือแห่งประเทศไทย เลขบัญชี 384-1-01370-8 ช าระตั้งแต่บัดนี้ ถึงวันที่ 12 กรกฎาคม 2562 (ช าระค่าลงทะเบียนหลังจากได้รับการตอบรับเข้าร่วมอบรมฯ) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.facebook.com/BangkokPort.DG

คุณมาศสุภา พวงมาลี หมายเลขโทรศัพท์ 02-2693148 อีเมล [email protected] คุณณัฐวุฒิ ร าข า หมายเลขโทรศัพท์ 02-2693558 อีเมล [email protected]

รับสมัครจ านวน 30 คน ทั้งนี้ขอสงวนสิทธิ์ยกเลิกการอบรมในกรณีที่มีผู้สมัครน้อยกว่า 20 คน

Page 5: IMDG Code - check.dgbkp.in.thcheck.dgbkp.in.th/Handling of Dangerous Goods under... · 2.3 ข้อก าหนดต่างๆ ใน IMDG Code (บัญชีรายการสินค้าอันตราย)

ก าหนดการฝึกอบรม การจัดการสินค้าอันตรายตามข้อก าหนด IMDG Code รุ่นที่ 2

วันที่ 24 กรกฎาคม 2562

เวลา หัวข้อบรรยาย/รายละเอียดกิจกรรม 08.30 ลงทะเบียน 09.00 พิธีเปิด แนะน าหลักสูตร 09.15 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจัดการสินค้าอันตราย

1.1 สมบัติพื้นฐานทางกายภาพและทางเคมี 1.2 อันตรายจากสารเคมี 1.3 บทบาทขององค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (IMO) 1.4 อนุสัญญาและมาตรฐานสากลที่เก่ียวข้องกับการขนส่งสินค้าอันตราย 1.5 กรอบการบังคับใช้ของ IMDG Code

10.30 พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 2. การจ าแนกประเภทสินค้าอันตราย (Dangerous Goods Classification)

2.1 แนวคิดเก่ียวกับอันตรายและความเสี่ยง 2.2 ความส าคัญของการจ าแนก 2.3 ข้อก าหนดต่างๆ ใน IMDG Code (บัญชีรายการสินค้าอันตราย)

12.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 2 การจ าแนกประเภทสินค้าอันตราย (ต่อ)

2.4 ประเภทและประเภทย่อยของสินค้าอันตราย 14.30 พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 3. การติดเครื่องหมาย ป้าย และฉลาก (Marking, Placarding & Labeling)

3.1 ความแตกต่างของเครื่องหมาย ป้าย และฉลาก 3.2 เกี่ยวกับการบรรจุผลิตภัณฑ์ (Packaging Groups I,II,III) 3.3 ประเภทของภาชนะบรรจุ (IBC, ภาชนะขนาดใหญ่, ถังบรรจุ และภาชนะแบบเทกอง) 3.4 เครื่องหมายสหประชาชาติ (UN Mark) 3.5 การทดสอบบรรจุภัณฑ์ 3.6 ป้ายส าหรับความเสี่ยงหลักและรอง

16.00 จบการอบรมวันที่หนึ่ง

Page 6: IMDG Code - check.dgbkp.in.thcheck.dgbkp.in.th/Handling of Dangerous Goods under... · 2.3 ข้อก าหนดต่างๆ ใน IMDG Code (บัญชีรายการสินค้าอันตราย)

วันที่ 25 กรกฎาคม 2562

เวลา หัวข้อบรรยาย/รายละเอียดกิจกรรม 08.30 วีดีทัศน์ลักษณะความเสี่ยงของสินค้าอันตราย 09.00 4. การจัดแยกเก็บและบรรทุกรวมกันของสินค้าอันตราย (Stowage and Segregation)

4.1 หลักการทั่วไปของการบรรทุกรวมกัน (Stowage) 4.2 หลักการทั่วไปของการจัดแยกเก็บสินค้าอันตราย (Segregation)

10.30 พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 4.3 หลักการเฉพาะของการจัดแยกเก็บสินค้าอันตราย (Segregation)

4.4 การจัดแยกบรรจุสินค้าอันตรายหน่วยขนส่ง 4.5 การจัดแยกเก็บตู้สินค้าอันตรายในท่าเรือ

12.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 5. ขั้นตอนการน าส่งสินค้าอันตราย (Consignment Procedures)

5.1 ขั้นตอนส าหรับสินค้าอันตรายขาเข้า 5.2 ขั้นตอนส าหรับสินค้าอันตรายขาออก

14.30 พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 5.3 เอกสารส าหรับสินค้าอันตราย

- ใบรับรองการบรรจุตู้สินค้า, เอกสารบรรจุตู้สินค้า, เอกสารการเปิดตู้สินค้า 16.00 จบการอบรมวันที่สอง

วันที่ 26 กรกฎาคม 2562

เวลา หัวข้อบรรยาย/รายละเอียดกิจกรรม 08.30 วีดีทัศน์อุบัติเหตุสินค้าอันตราย 09.00 6. การตอบโต้เหตุฉุกเฉิน (Emergency Response)

6.1 ประเภทของเหตุฉุกเฉินเกี่ยวกับสินค้าอันตราย 6.2 การใช้งาน IMDG supplement

10.30 พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 7. กฎระเบียบของสินค้าอันตราย (Dangerous Goods Enforcement)

7.1 ข้อก าหนดระหว่างประเทศเกี่ยวกับสินค้าอันตราย 7.2 กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่งสินค้าอันตรายในประเทศ

12.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 7. กฎระเบียบของสินค้าอันตราย (ต่อ)

7.3 ระเบียบ กทท. เกี่ยวกับสินค้าอันตรายของท่าเรือกรุงเทพ และท่าเรือแหลมฉบัง 7.4 การควบคุมสินค้าอันตรายในท่าเรือกรุงเทพ และท่าเรือแหลมฉบัง

14.30 พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสาร (Safety Data Sheet) 15.00 ทดสอบความรู้หลังการอบรม 16.00 มอบวุฒิบัตร ปิดการฝึกอบรม


Recommended