+ All Categories
Home > Documents > New patani by anond.

New patani by anond.

Date post: 08-Jun-2015
Category:
Upload: muttakeen-che-leah
View: 372 times
Download: 3 times
Share this document with a friend
Popular Tags:
15
1 ประวัติศาสตรการเมืองปาตานีแนวใหม : มุมมองวาความรุนแรงภายใตสภาวะสองรัฐ สอง จินตนาการ New Patanis Political History : The Perspective of the Violence and the Breakdown of Imagined State. อานนท บุญมาศ บทคัดยอ บทความนี ้มีวัตถุประสงคเพื ่อนําเสนอมุมมองใหมตอประวัติศาสตรการเมืองปาตานีในอดีต กลาวคือแตเดิมการศึกษาประวัติศาสตรการเมืองปาตานี เนนการศึกษาดานโครงสรางอํานาจและ ความสัมพันธเชิงอํานาจระหวางอาณาจักรสยาม /รัฐไทยกับอาณาจักรปาตานี ในขณะที่บทความนี ้นําเสนอ มุมมองที ่วาดวยความหมายเชิงสัญญะซึ่งผานการกระทําของภาษาและความทรงจําซึ่งในที่สุดแลวกอใหเกิด ความเปนอื่นหรือความเปนชายชอบนั่นเอง ดังนั้นเมื ่อเกิดสภาวะแปลกแยกดังกลาวแลว ผลก็คือการเกิดขึ้น ของชุดจินตนาการสองชุดซึ่งตรงขามกันและรัฐจินตนาการสองรัฐซึ่งซอนทับกันอยู จนในที่สุดกอใหเกิด ความรุนแรงเชิงสัญญะและทางกายภาพ คําสําคัญ : ประวัติศาสตรการเมืองแนวใหม ปาตานี รัฐจินตนาการ ความรุนแรง Abstract This article aimed to present the perspective of patani politics historical. That is to say,the other study aimed to perspective of power structure and power relations, thai and patani. This article aimed to present new perspective,the sing within language and memorial process.That effective to cause othernessand two package of imagined stateare overlap. Finally ,that cause the violence both physical and sing violence/structure . Keyword : new political history,patani,Imagined state, Violence
Transcript
Page 1: New patani by anond.

1

ประวติัศาสตรการเมืองปาตานแีนวใหม : มุมมองวาความรนุแรงภายใตสภาวะสองรฐั สอง

จินตนาการ

New Patani’s Political History : The Perspective of the Violence and the Breakdown of

Imagined State.

อานนท บญุมาศ

บทคดัยอ

บทความนี้มวีัตถุประสงคเพื่อนําเสนอมมุมองใหมตอประวัติศาสตรการเมอืงปาตานใีนอดีต

กลาวคือแตเดิมการศกึษาประวัติศาสตรการเมอืงปาตาน ีเนนการศกึษาดานโครงสรางอํานาจและ

ความสัมพนัธเชงิอํานาจระหวางอาณาจักรสยาม/รัฐไทยกับอาณาจักรปาตาน ีในขณะที่บทความนี้นําเสนอ

มมุมองที่วาดวยความหมายเชงิสัญญะซ่ึงผานการกระทาํของภาษาและความทรงจําซ่ึงในที่สุดแลวกอใหเกิด

ความเปนอ่ืนหรอืความเปนชายชอบนั่นเอง ดังนั้นเมื่อเกิดสภาวะแปลกแยกดังกลาวแลว ผลก็คือการเกิดขึ้น

ของชดุจินตนาการสองชดุซ่ึงตรงขามกันและรัฐจินตนาการสองรฐัซ่ึงซอนทับกันอยู จนในที่สุดกอใหเกิด

ความรนุแรงเชงิสัญญะและทางกายภาพ

คาํสาํคญั : ประวัติศาสตรการเมอืงแนวใหม ปาตานี รัฐจินตนาการ ความรนุแรง

Abstract

This article aimed to present the perspective of patani politics historical. That is to say,the other study

aimed to perspective of power structure and power relations, thai and patani. This article aimed to present

new perspective,the sing within language and memorial process.That effective to cause “otherness” and

two package of “imagined state” are overlap. Finally ,that cause the violence both physical and sing

violence/structure .

Keyword : new political history,patani,Imagined state, Violence

Page 2: New patani by anond.

2

ประวติัศาสตรการเมืองปาตานแีนวใหม : มุมมองวาดวยความรนุแรงภายใตสภาวะสองรฐั สอง

จินตนาการ

อานนท บุญมาศ1

บทนํา

การศกึษาประวัติศาสตรการเมอืงปาตานี2ถูกศกึษาผานผลงาน บทวิจัยของนักประวัติศาสตร นัก

รัฐศาสตรและสังคมศาสตรอ่ืนๆซ่ึงโดยสวนมากแลวเนนการศกึษาเชงิอํานาจรัฐ(power) และโครงสราง

อํานาจ(power structure) ในชวงเวลาตางๆซ่ึงปรากฏผานผลงานทางวิชาการตางๆ เชน หนงัสือ

ประวัติศาสตรปาตานี(ซ่ึงแนนอนวาแตกตางอยางส้ินเชงิกับประวตัิศาสตรปาตานีกระแสหลักโดยนัก

ประวัติศาสตรไทยกระแสหลัก) งานวิจัยตาง ๆวรรณกรรมทองถ่ิน ตลอดจนศิลปกรรมสะทอนสภาพ

การเมอืงในแตละชวงสมยัตาง ๆอยางไรก็ตามงานศกึษาเหลานั้นเปนการศกึษาประวัติศาสตรการเมอืง

กระแสหลักนั่นเอง3

สําหรบับทความนี้ผูเขียนนําเสนอมมุมองประวัติศาสตรการเมอืงปาตาน ีผานสัญญะ( Sign) ซ่ึงถือ

เปนภาษาการส่ือสารอยางหนึ่งซ่ึงภาษาโดยตัวมนัเองแลว อยูในสถานะที่เปนเครื่องมอืในการส่ือสาร

(Communication) ดังนั้นภาษาจึงเปนเครื่องมอืแหงความสัมพนัธระหวางปจเจกชน(Individual) กับสังคม

(Society) กลาวคือภาษาเปนตัวแสดงออกซ่ึงชดุความเชื่อ/ความคิดของปจเจกชนและสังคม ซ่ึงก็คือ วาท

กรรม(Discourse) ตางๆซ่ึงเกิดขึ้นจากการปฏิบตัิการทางภาษานั่นเอง4 ชดุวาทกรรมที่เกิดขึ้นสงผลใหเกิด

ระบบความเชื่อ/ความคิด ชดุหนึ่งขึ้นมาแตในขณะเดียวกันชดุวาทกรรมที่ผานกระบวนการกระทาํผานภาษา

1

นักศึกษาชั้นปท่ี 3 ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี 2

ปาตานี หมายถึงอาณาจักรปาตานีในอดีต ขณะท่ีปตตานีหมายถงึจังหวัดปตตานี 3

งานศึกษาประวัติศาสตรปาตานีท่ีสําคัญ ไดแก ปาตานี ประวัติศาสตรการเมืองในโลกมลาย ูโดย อารีฝน บินจิ และคณะ (2550),

Hikayat Pattani : Story of Pattani โดย A.Teeuw และ D.K. Wyatt ,ขบถ รศ. 121 โดย เตช บุนนาค (2551) ,ปตตานี อดีต-

ปจจุบัน โดย อ.บางนรา (นามแฝง) ซึ่งตีพมิพหลายครั้งแลว สําหรับท่ีผูเขียนมีอยูเปนเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการเรื่อง โลกของ

อิสลามและมุสลิมในอุษาคเนย วันท่ี 28-29 พฤศจิกายน 2551 โรงเรมทวินโลตัส นครศรีธรรมราช 4

โปรดดูการวิเคราะหวาทกรรมซึ่งเปนการแสดงออกของความสัมพันธระหวางปจเจกบุคคล(Individual)กับสังคม(society) ในฐานะ

ความสัมพันธระหวาง การกระทํา/ผูกระทําการ (Action/Agency) ไดใน เชษฐา พวกหัตถ.2547.ปญหาทวิลักษณในทฤษฏสีังคม:

โครงสรางเปนตัวกําหนด VS ผูกระทําการเปนตัวกําหนด.วารสารอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปท่ี 24 ฉบับท่ี 3 2547) หนา 60-80

Page 3: New patani by anond.

3

ไมไดมเีพยีงชดุเดียว ดังนั้นในสังคมหนึ่งจึงเกิดชุดวาทกรรรมมากวาชดุเดียวเสมอ นอกจากนี้ยังมแีนวโนมที่

จะเปนชุดวาทกรรมคูตรงขามกันเสมอ

ประวตัิศาสตรการเมอืงปาตานเีปนประวัติศาสตรเปนประวัติศาสตรของการตอสูของชดุวาทกรรม/ชดุ

ความจริงสองชดุตลอดมา5 ซ่ึงกอใหเกิดจินตภาพแหงอุดมการณซ่ึงแตกตางกันในที่สุด โดยผาน

กระบวนการทางภาษา สัญญะและวาทกรรม

วาทกรรมอุดมการณซ่ึงแตกตางกันดังกลาวเปนอุดมการณคูตรงกันขาม กลาวคือมวีาทกรรมอุดมการณ

กระแสหลักปะทะกับวาทกรรมอุดมการณกระแสรองซ่ึงถูกมองวาเปนความเปนอ่ืน/สภาวะแปลกแยกจาก

กระแสหลัก(Otherness/Alieness) การปะทะทางวาทกรรมอุดมการณดังกลาวถึงการแตกหกั(Breakdown)

อยางชดัเจนและรุนแรงที่สุดคืออุดมการณ/จินตนาการวาดวยรัฐ(Imagine state) ซ่ึงแตกตางกันจึงเปน

ลักษณะของการซอนทับของสองรฐั สองจินตนาการ ภายใตพื้นทีเ่ดียวหรอืเปนลักษณะซอนกันในเชงิ

อุดมการณ/จินตนาการเกิดขึ้นซ่ึงสะทอนเปนรูปธรรมออกมาผานการตอสูทางกายภาพหรอืการจับอาวุธ

ตอตานรัฐ(วาทกรรมกระแสหลัก)นั่นเอง

ภาษาในฐานะการแสดงออกทางความคดิ

ภาษาเปนการแสดงออกใหเหน็ซ่ึงระบบความคิด ความเชื่อของปจเจกบคุคล(Individual) หรอืของสังคม

(society) ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง ภายใตกรอบกําหนดแหงความเขาใจรวมกันของสังคม6ในขณะชั่วเวลา

หนึ่ง กลาวคือเมื่อพดู/เขียนคําหนึ่งออกมาก็จะรับรูไดโดยทั่วกันวาคําๆนั่นหมายถึงอะไร เชน “ดาบ”

หมายถึงอาวุธชนิดหนึ่งที่ประกอบขึ้นจากโลหะ มลัีกษณะยาว มปีลายแหลมและมคีม ใชสําหรบัการตอสู

การทาํสงครามและปองกันตัว เปนตน ดังนั่นความหมายของคําวาดาบดังกลาวถึงเปนการรับรูโดยการ

กําหนดกรอบความเขาใจของสังคมนัน่เอง จากตัวอยางขางตน สังเกตไดวาเปนความหมายในเชงิวัตถุ

รูปธรรมซ่ึงนักสัญญะวิทยาชื่อ แฟรดินองด เดอ โซซูร เรียกวาเปนความหมายของ “ระบบ/องครวมที่มคีวาม

5

ศรีสมภพ จิตรภิรมยศร.ี2552.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการปกครองและการจัดการความขัดแยงในจังหวัดชายแดนภาคใตของ

ไทย:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หนา16-19 6

โปรดพิจารณาการวิเคราะหเกี่ยวกับภาษาไดใน ไชยรัตน เจริญสนิโอฬาร.2551.ภาษากับการเมือง/ความเปนเมือง,กรุงเทพฯ:โรงพมิพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หนา3-25

Page 4: New patani by anond.

4

สมบรูณในตัวเองและมกีฏเกณฑในการแยกแยะ จัดประเภทแบบตางๆ” (…a self-contained whole and a

principle of classification…)7

นอกจากภาษาในเชงิวัตถุรูปธรรมชดัเจนแลว ยังมอีีกภาษาซ่ึงเปนการส่ือสารที่มไิดเปนความหมายเพยีง

เสียงที่ออกมาเทานั่นแตเปนไปในลักษณะความหมายที่เรียกวา “สัญญะ” (sign) ซ่ึงเปนคําที่เสียงและ

ความหมายไมจําเปนตองจํากัดแคเสียงหรอืไมจําเปนตองตรงกัน กลาวคือเปนคําซ่ึงมกีรอบความเขาใจของ

สังคมที่กวางกวาความหมายในเชงิวัตถุรูปธรรม ซ่ึงโซซูร เรียกคําซ่ึงมคีวามหมายเชนนี้วาเปน “การกระทาํ

ทางสังคมอันเปนผลมาจากความสามารถในการใชภาษาของบคุคลบวกกับชดุของกฎเกณฑ จารีตปฏิบตัิที่

จําเปนซ่ึงสังคมสวนใหญยอมรบัเพือ่ใหการติดตอ ส่ือสาร พดูคุยเปนไปได” (…a social product of the

faculty of speech and a collection of necessary conventions that have been adopted by social body to

permit individuals to exercise that faculty… )8 ซ่ึงภาษาในรูปแบบดงักลาวนี้เปนเรื่องของความสัมพนัธ

ภายใตระบบคิด จารีต ของสังคมซ่ึงอยูภายใตบรบิท(context) ของแตละสังคมดวย

สัญญะอาจหมายถึงการอุปมา การเทยีบเคียงซ่ึงมคีวามหมายกวางกวาความเปนจริงของภาษาซ่ึง

ความหมายที่แทจริงอาจจะแตกตางไปจากส่ิงซ่ึงสังคมเขาใจโดยทั่วไป การทาํความเขาใจกับสัญญะไดอยาง

ถูกตองตามความตองการที่ผูส่ือสารตองการตองเกิดขึ้นภายใตเงื่อนไขตางๆ เชนตองมคีวามรูความเขาใจใน

ภาษาและวัฒนธรรมของผูส่ือสาร ตองอยูในระบบสถานะความสัมพนัธชดุเดียวกันหรอืใกลเคียงกัน เปนตน

ดอกไมเงิน ดอกไมทอง : เศรษฐสัญญะ

การสงดอกไมเงนิดอกไมดอกของอาณาจักรปาตานีตอสยาม มกีารบนัทึกวาเกิดขึ้นครั้งแรกในราวป 1636

ในรัชสมยัของรายากูนิง โดยพระนางไดสงดอกไมเงนิดอกไมทองซ่ึงวันวลิต(Van vliet) ระบวุาพระเจากรุง

สยามทรงยนิดี9และในป 1641รายากูนิงไดเสด็จเยือนกรุงศรอียธุยาดวยพระองคเองเพื่อฟนฟูสันติภาพ

ระหวางสองอาณาจักร10

7

อางแลว หนา 95 8

อางแลว หนา 95 9

A.Teeuw and D.K.Wyatt อางใน อ.บางนรา (2551) หนา 46 10

กอนการสงดอกไมเงินดอกไมทองไดเกิดสงครามระหวางสยามกับปาตานีหลายครั้ง ไดแก ในป 1563 สุลตานมุฏอ็รฟร ชาห ยกทัพ

ไปตีสยามและไดนํากองทัพเขายึดพระราชวัง โดยพระเจากรุงสยามในขณะนั้นคือ พระมหาจักรพรรดิไดเสด็จลงเรือพระท่ีนั่งศรีสักหลาดลี้

ภัยท่ีเกาะศรีมหาพราหมณแตในท่ีสุดฝายกรุงสยามก็ยึดพระราชวังคืนได ในป 1630 ในสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไดสง

กองทัพมุงโจมตีปาตานีแตไมสําเร็จ ในป 1632 ในสมัยของพระเจาปราสาททองไดสงกองทัพโจมตีปาตานีไมสําเร็จ ในป 1634 พระเจา

Page 5: New patani by anond.

5

การสงดอกไมเงนิดอกไมทองครั้งนั้นถือเปนเศรษฐกิจเชงิสัญญะระหวางสองอาณาจักร เปนระบบ

ความสัมพนัธของสองอาณาจักรที ่“ไมเทาเทยีมกัน” กลาวคือเปนการแลกเปล่ียนระหวางผูนอย(ปาตานี)ที่มี

กับผูใหญ(กรุงสยาม)เปนการแลกเปล่ียนที่ไมสามารถประเมนิคาเปนราคาได หรอืดังที ่Pierre Boudieu ให

คําจํากัดความเศรษฐสัญญะทาํนองนี้วา “ฉันรูวาเมื่อฉันใหเธอ ฉันรูวาเธอจะตอบแทนฉัน”11

ในแงนี้การกระทาํดังกลาวของอาณาจักรปาตาน ีสะทอนแงคิดของชนชั้นปกครองในขณะนั้นไดดังนี ้

ประการแรก เปนการการสรางความสัมพนัธทางการทตูระหวางสองอาณาจักรเสียใหมหลังจากทั้งสอง

อาณาจักรไดทาํสงครามกันมาเปนระยะเวลาหนึ่ง ประการที่สอง เปนเหตผุลเพื่อการคาของอาณาจักรปาตานี

เพราะในเวลานั้นอาณาจักรปาตานีเปนเมอืงทาสําคัญที่มพีอคา นักเดินเรือเขามาจอดเทยีบทาเพื่อทาํการคา

รวมทั้งพอคา นักเดินเรือชาวสยามดวย ประการที่สาม เปนการสรางดุลอํานาจ กลาวคือในขณะเวลานั้น

สยามเกิดความขัดแยงกับตะวันตกโดยเฉพาะอยางยิ่งกับชาวฮอลันดา ดวยสาเหตทุี่วาฮอลันดาไมสงกอง

ทหารมาชวยอยุธยาทาํสงครามกับปาตานี12 ดังนั้นเทากับวาฮอลันดาเหน็ความสําคัญของผลประโยชนของ

ตนเองในปาตานีมากกวาสยาม ดังนั้นจึงมคีวามเปนไปไดสูงที่สยามจะรับแผนฟนฟูสันติภาพของรายากูนิง

จากกุศโลบายดงักลาวของรายากูนิงเปนการกระทาํในเชงิสัญญะ แตการสงดอกไมเงนิอกไมดอกไมไดมี

สถานะที่ชดัเจนอยางเชนหนังสือสนธิสัญญาเพราะเปนเพยีง “ความเขาใจรวมกัน” เทานั้น ไมไดมี

ขอกําหนดตกลงชดัเจน ไมไดมกีําหนดเวลาที่ชดัเจน

อยางไรก็ตามการกระทาํเชงิสัญญะดังกลาวขึ้นอยูกับวาทั้งสองมคีวามเขาใจอยางไร ความรูเกี่ยวกับเรื่อง

นั้นอยางไร เพราะไมมกีติกาชดัเจน ดังนั้นจึงขึ้นอยูกับการยอมรบัและความเขาใจของทั้งสองฝาย แตปญหา

ที่เกิดขึ้นคือ “ความเขาใจไมตรงกัน” นั่นคือมกีารเกิดขึ้นของความเขาใจสองชดุ ความจริงสองชดุ กลาวคือ

อาณาจักรปาตานีเขาใจวาการสงดอกไมเงนิดอกไมทองถวายแกพระเจากรุงสยามนั้นเปนการสรางสันติภาพ

อีกครั้ง(Renew the peace) เพราะบรบิททางการเมอืงสมยันั้นเหน็ไดวาไมมเีหตผุลใดที่ปาตานจีะตอง

สวามภิักดิ์สยามในสถานะประเทศราช13อุปมาดั่งเชนกรุงสยามสงดอกไมเงนิดอกไมทองไปถวายแกพระเจา

กรุงจีนนั้นมิไดหมายความวาสยามเปนประเทศราชของกรุงจีน การกระทาํดังกลาวเปนเพยีงการเจริญ

ปราสาททองไดสงกองทัพโจมตีปาตานีอีกครั้งแตไมสําเร็จ โปรดดู อิบรอฮีม ซุกร.ี2543.Hikayat pattani(The story of pattani).

สถาบันสมุทรรัฐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หนา 38-39 11

โปรดดูการวิเคราะหเศรษฐกิจเชงิสัญญะของ Bourdieu ไดใน ปแยร บูรดิเยอร เขียน ชนิดา เสง่ียมไพศาลสุข แปล นพพร ประชากุล

บรรณาธิการ.2550.เศรษฐกิจของทรัพยสินเชงิสัญลักษณ.กรุงเทพฯ:โครงการจัดพิมพคบไฟ หนา 9 12

A.Teeuw and D.K.Wyatt อางใน อ.บางนรา (2551) หนา 43 13

อางแลว หนา 48

Page 6: New patani by anond.

6

สัมพนัธไมตรีระหวางสองอาณาจักร ระหวางอาณาจักรเล็ก(สยาม)กับอาณาจักรใหญ(กรุงจีน) กลาวคือ

ระบบคิดของจีนมองวากษัตริยของตนเองคือ “ฮองเต” ซ่ึงเหนอืกวากษัตริยของกรุงสยามที่ชาวจีนเรียกวา

“เสียมลอกกออง” แตกรุงจีนไมเคยมคีวามคิดวากรุงสยามเปนประเทศราชของกรุงจีน14

ขณะเดียวกันระบบคิดของสยามกลับมองวาความสัมพนัธดังกลาวเปนความสัมพนัธของเจาประเทศราช

สยามกับอาณาจักรมลายปูาตาน ีดวยเหตผุลที่วาในขณะชวงเวลานั้นรัฐตางๆมลัีกษณะเปน “รัฐจารีต” ดวย

ลักษณะดังกลาวทาํใหการดํารงอยูของอาณาจักรมอีาณาเขตที่ไมแนนอน มกีารเคล่ือนยายของผูคนอยู

ตลอดเวลา เจาประเทศราชตองคุมครองตนเองจากภายนอก จึงจําเปนที่จะตองนํารัฐใกลเคียงที่เล็กกวาเพื่อ

ความมั่นคงของตนเอง

ระบบคิดของชนชั้นนําสยามในเรื่องดังกลาวเต็มไปดวยคติความเชื่อแบบพราหมณ ที่วากษัตริยจะตอง

เปนผูมบีญุญาธิการ ดังนั้นจึงตองนําประเทศอ่ืนๆมาเปนประเทศราชเพราะเปนสัญญะของความมบีญุญาธิ

การของกษัตริยผูมบีญุญาธิการเพยีงพอตอการดํารงตําแหนงเปนกษัตริยเทวราชา ในทางกลับกันการสูญเสีย

ประเทศราชหรอืการแพสงครามยอมเปนสัญญะแหงการสูญเสียอํานาจ สูญเสียความชอบธรรมในการ

ปกครอง ดังนั้นในแงประเทศราช รัฐใดเปนประเทศราชก็ตองเปนประเทศราชตลอดไป15

นอกจากนี ้ธงชยั วินิจจะกูล ตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับความสัมพนัธระหวางอาณาจักรตางๆในชวงเวลา

ขณะนั้นวา ความสัมพนัธยังไมมแีนวคิดองคอธิปตยเหนอือธิปไตยและเสนเขตแดนเพราะชนชั้นนําของ

อาณาจักรตางๆในชวงเวลาดังกลาวตระหนักดีวาดินแดนซ่ึงตนถือวาเปนประเทศราชถูกครอบครองโดย

อาณาจักรอ่ืนหรอืหลายอาณาจักรในชวงเวลาเดียวกัน มอีาณาเขตไมชัดเจนและนับไดวามอีิสระในการ

ปกครองตนเอง(เนนโดยผูเขียน) แตนักประวัติศาสตรยุคใหมกลับไมตระหนักในความจริงขอนี้16

จากประวตัศิาสตรการเมอืงปาตานีสูประวตัศิาสตรของความเปนอื่น

14

นิธ ิเอียวศรีวงศ,การเมืองไทยสมัยพระเจากรุงธนบุร.ีกรุงเทพ:สํานักพมิพมติชน.2543 หนา 385-389 15

โปรดดูการวิเคราะหคติพราหมณเรื่องระบบคิดของชนชั้นปกครองสยามในแงรัฐจารีตและประเทศราช ใน

Kobkua Suwannathat-Pian.1988.Thai-Malay Relations:Traditional Intraregional Relations From The Seventeeth to the Twentieth Centuries.Kuala Lamper:oxford University Press PP. 52-56 16

ธงชยั วินิจจะกูล เขียน พวงทอง ภวัครพนัธุ แปล .2551.ภูมิกายาและประวัติศาสตร.วารสารฟาเดียวกัน ฉบับพรมแดน แผนท่ี

ประวัติศาสตร ชาตินิยม (ปท่ี 6 ฉบับท่ี 3 2551) หนา 87-118

Page 7: New patani by anond.

7

ประวัติศาสตรความสัมพนัธระหวางอาณาจักรปาตานีกับอยุธยานั้นเปนความสัมพนัธแบบหลวมๆซ่ึงวาง

อยูบนพื้นฐานของผลประโยชนรวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งผลประโยชนดานการคารวมกัน ดังนั้น

ความสัมพนัธเชงิอํานาจระหวางสองอาณาจักรจึงเปนไปในลักษณะที่ยืดหยุน

อยางไรก็ตามในชวงตนรัตนโกสินทรความสัมพนัธระหวางอาณาจักรปาตานีกับอาณาจักรสยาม

เปล่ียนไป ปาตานตีกอยูภายใตสถานการณเปนเมอืงประเทศราชของสยาม จากการแพสงครามในสมยั

พระบาทสมเด็จพระพทุธยอดฟาจุฬาโลก(รัชกาลที ่1)แตความสัมพนัธของทั้งสองอาณาจักรเปล่ียนไปในแง

ของความสัมพนัธเชงิอํานาจเทานั้น ทั้งสองอาณาจักรยังคงม ี“พื้นที”่ รองรบัความคิด ความทรงจําที่แยกจาก

กันและเปนอิสระตอกันอยู กลาวคือทั้งสองยงัคงมพีื้นที่รองรบัที่เปนรัฐเหมอืนกนั17(รัฐปาตานแีละรัฐสยาม)

ดังนั้นจึงเปนเรื่องงายที่ระบบความคิด ความทรงจําทั้งสองจะปะทะกันโดยตรง โดยเฉพาะอยางยิ่งความคิด

ความทรงจาํเรื่อง “ชาตนิิยม” ซ่ึงเกี่ยวกับอยางแนบแนนกับการเปนอิสระทางการเมอืงของเชื้อชาตตินเอง

ในขณะที่ชวงเวลานั้นปาตานีเปนประเทศราชของสยาม รูปธรรมที่ชดัเจนของความขัดแยงดังกลาวคือ “การ

กอกบฏ” ในชวงเวลาตอมา18

แตแลวจุดเปล่ียนสําคัญของประวัติศาสตรการเมอืงปาตานี(ซ่ึงก็เปนจุดเปล่ียนสําคัญของสยามดวย

เชนกัน) คือการรวบอํานาจเขาสูศนูยกลางในชวงเวลาแหงการปฎริูปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา

เจาอยูหวั ดวยเหตผุลหลักคือการคุกคามของจักรวรรดินิยมอังกฤษและฝรั่งเศส ดังนั้นสําหรบัพระองคแลว

จึงมคีวามจําเปนที่จะตองสรางบรูณภาพแหงดินแดน “สยามประเทศ” ในสถานะของรฐัสมยัใหม19(modern

state) พระองคทรงเปล่ียนจากหวัเมอืงมลายทูั้งเจ็ดเปนเปนบรเิวณเจ็ดหวัเมอืง อยางไรก็ตามการปกครอง

ดินแดนดังกลาวพระองคยังคงใหชนชั้นนําทองถ่ินปกครองตอไปแตในทางปฏิบตัิแลวอํานาจสวนใหญอยูที่

ขาราชการซ่ึงถูกแตงตั้งมาจากสวนกลาง

17

หลังจากสยามเขายึดครองปาตานีทําใหปาตานีเปลี่ยนสถานะเปลี่ยนประเทศราชซึ่งเปนชวงเวลาท่ีเกิดขึ้นในชวงตนรัตนโกสินทร เมือ

สยามเขามาไดใชหลักการแบงแยกแลวปกครอง โดยปาตานีถูกแบงออกเปนเจ็ดหัวเมืองประเทศราชได ไดแก ปตตานี หนองจิก ยะลา รา

มัน ยะหริ่ง สายบุร ีเละระแงะ ดูรานละเอียดใน

เตช บุนนาค เขียน ภรณ ีกาญจนัษฐิติ แปล.2548.การปกครองระบบเทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ. 2435-2458 .กรุงเทพฯ:

สํานักพมิพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา 39 18

ไดแกกบฏในป 2334, 2351, 2375 ดูรายละเอียดใน เตช บุนนาค,พระยาแขกเจ็ดหัวเมืองคบคิกขบถ ร.ศ.121,ประวัติศาสตรและ

วัฒนธรรม.โครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร.2514 อางใน อ.บางนรา (2551) หนา85-97 19

อยางไรก็ตาม สมเกียรติ วันทะนะ เห็นวาการปฏริูปดังกลาวเปนการสรางความเขมแข็งให Absolute state ใหเพิ่มมากขึ้น โปรดดู

รายละเอียดใน สมเกียรต ิวันทะทะ เขียน สมบัติ จันทรวงศ ชยัวัฒน สถาอานันท บรรณาธิการ.2530.อยูเมืองไทย รวมบทความทางสังคม

การเมือง เพื่อเปนเกียรติแด ศาสตราจารยเสนห จามริก ในโอกาสอายุครบ 60 ป.กรุงเทพฯ:สํานักพมิพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา

71-128

Page 8: New patani by anond.

8

ผลของการปฏิรูปการปกครองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั ถือวาเปน “ความสําเร็จใน

การบรูณภาพดินแดนสยาม” แตในทางกลับกันถือเปน “ประวัติศาสตรบาดแผล” ของรฐัปาตาน ีในเรื่องนี ้

เตช บนุนาค นักประวัติศาสตรคนสําคัญของไทยเหน็วา “ …ควรบนัทึกไวอีกดานหนึ่งดวยวา สําหรบันัก

ประวัติศาสตรมลาย ูป พ.ศ.2445 เปนปของการลมสลายครัง้สุดทายของชาตปิตตานี เปนการสูญเสียอํานาจ

อธิปไตยของรายาและการทาํลายอธิราชของชาวมลายใูนประเทศปตตานีและการจํานําสิทธิเสรีภาพ

อิสรภาพของปตตานีในมือของสยาม ปนี้จึงเปนปสุดทายที่โชครายที่สุดของประวัติศาสตรราชอาณาจักร

มลายปูตตาน…ี”20 ขณะเดียวกัน อิบรอฮีม ซุกรี นักประวัติศาสตรชาตนิิยมมลายคูนสําคัญ ไดเสดงความเหน็

ในทํานองเดียวกันวา “…ในป พ.ศ. 2445 เปนปของการลมสลายครั้งสุดทายของชาตปิตตานี เปนการเสีย

อํานาจอธิปไตยของรายาและเปนปที่โชครายที่สุดของประวัติศาสตรราชอาณาจักรปตตาน”ี21

ภายหลังการปฏิรูปของพระบาทสมเด็จพระจลุจอมเกลาเจาอยูหวัไดมกีารกอกบฏขึ้นอยางหนกัในบริเวณ

เจ็ดหวัเมอืง22 ซ่ึงปรากฏการดังกลาวเปนภาพสะทอนของสภาวะของการดํารงอยูของพื้นที่แหงการรองรบั

ความคิด ความทรงจาํ ในฐานะ “ดินแดน” ของอาณาจักรปาตานีซ่ึงกําลังถูกคุกคามและอยูในสภาวะที่ไม

มั่นคง กลาวคือ ปาตานีกําลังอยูในชวงเปล่ียนผานและมคีวามไมชดัเจนวาสถานะของปาตานอียูในสถานะ

ใดระหวาง “ประเทศราช” หรอืเปนพื้นที่สวนหนึ่งของ “รัฐสยาม” ดังนั้นในชวงเวลาดังกลาวจึงเปนการแยง

ชงิพื้นที่รองรบัความคิด ความทรงจํารวมกันของอาณาจักรปาตาน/ีชาตนิิยมปาตานี ซ่ึงก็คอืการแยงชงิความ

ชดัเจนแนนอนของ “รัฐและบรูณภาพแหงดินแดนของตนเอง”

แบบจําลองความคดิ ความทรงจําของรัฐปาตานีและรัฐสยามโดยมีบูรณภาพแหงดินแดนเปนเงื่อนไข

20

เตช บุนนาค เขียน ภรณี กาญจนัษฐิติ แปล,การปกครองระบบเทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ. 2435-2458 ,กรุงเทพ:สํานักพมิพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,2548 หนา 195 21

อิบรอฮีม ซุกร ี.2543.Hikayat pattani(The story of pattani).สถาบันสมุทรรัฐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร หนา 128 22

นอกจากการประทวงแลวยังมีการงดจายภาษีใหแกรัฐบาลสยาม ดูรายละเอียดใน อางแลว อ.บางนรา (2551) หนา 97-99

Page 9: New patani by anond.

9

สชีมพ ูแทนสยาม

สฟีา แทนปาตาน ี

รูปที ่1 สมยัอยุธยา

รูปที1่ สมยัอยุธยา

รูปที2่ สมยัรัตนโกสนิทรตอนตน

รูปที ่3 หลังการปฏิรูปของรัชกาลที ่5

Page 10: New patani by anond.

10

ในที่สุดเมื่ออาณาจักรปาตานีเปนสวนดินของดินแดนสยาม(อยางชดัเจน)ในฐานะจังหวัดหนึ่ง23จึงทาํให

บรูณภาพแหงความคิด ความทรงจําโดยมีบรูณภาพทางดนิแดนเปนพื้นทีรองรบัเปล่ียนไป กลาวในอีกแง

หนึ่ง “ไมมรีัฐปาตานอีีกตอไปแลว” ดังนั้นระบบความคิด ความทรงจาํ/ประวัติศาสตรชาตินิยมปาตานีนั้น

กลายเปน ระบบความคิด ความทรงจาํ/ประวัติศาสตรชาตนิิยมของ “ความเปนอ่ืน” คือเปนส่ิงซ่ึงไมใชความ

เปนไทย/สยามกระแสหลักซ่ึงเปนระบบคิดอันมีบรูณภาพแหงดินแดนรองรบัอยูซ่ึงหมายรวมถึงดินแดนซ่ึง

ครั้งหนึ่งเคยรองรบัระบบความคิด ความทรงจํารวมกันของปาตานแีต บดันี้เปนเพยีงอดีตซ่ึงเคยมอียูจริง แต

สําหรบัปจจุบนัคงเหลือแคความเปนอ่ืนเทานั้น

สองรัฐ สองจินตนาการ

ความเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นของประวัติศาสตรการเมอืงปาตาน ีสงผลใหเกิดความเปล่ียนแปลงทางระบบ

ความคิด ความทรงจาํในเรื่องรฐัสมยัใหม(modern state) เทานั้น แมวาความทรงจาํเหลานั่นจะเปนความเปน

อ่ืนเพราะถูกทาํใหเปนอ่ืนดวยความเปนไทยกระแสหลัก(Thainess Mainstream)24 ดังนั้นความคิดในแงนี้ไม

มพีื้นที่รองรบั(ซ่ึงหมายถึงรฐัปาตาน)ี อยางในอดีตแตก็มไิดหมายความวาระบบความคิดความทรงจาํของรฐั

ปาตานจีะหายไป

เมื่อไมมรีัฐปาตานทีี่เปนพื้นที่รองรบั ระบบความคิด ความทรงจาํก็เปล่ียนสถานะเปน “รัฐจินตนาการ”

(Imagined state) ซ่ึงมคีวามสัมพนัธแนบแนนกับจินตนาการชาตินิยมมลาย ูซ่ึง “ชาต”ิ ในแตละชาต(ิซ่ึง

หมายถึงเชื้อชาต)ิ ยอมมวีิวัฒนาการและความทรงจาํรวมกันของคนชาติเดียวกัน ดังที่เบเนดิกท แอนเดอรสัน

เรียกวา “ชวีประวัติของชนชาต”ิ (The Biography of Nation)25 ดังนั้นการสูญเสียรัฐมไิดหมายความวาเปน

การสูญเสียรัฐจินตนาการและชาตนิิยมปาตาน ี

23

มีการเปลี่ยนคําวา “เมือง”เปน “จังหวัด” ในวันท่ี 19 พฤษภาคม 2459 และ วันท่ี 16 กุมภาพนัธ 2474 ยุบจังหวัดสายบุร ีลงเปน

อําเภอขึ้นตรงตอจังหวัดปตตานี ตอมาใน พ.ศ. 2476 ทุกจังหวัดขึ้นตรงตอกระทรวงมหาดไทย ดูรายละเอียดใน อางแลว อ.บางนรา

(2551) หนา 83 24

ดูการวิเคราะหประเด็นความเปนไทยกระแสหลักและการสรางความเปนไทยกระแสหลักใน

สายชล สัตยานุรักษ,การสรางความเปนไทยกระแสหลักและความจริงท่ีความเปนไทยสราง,วารสารฟาเดียวกัน ฉบับสถาบันกษัตริยกับ

สังคมไทย (2548) หนา 40-67

ดูบทวิจารณงานชิ้นดังกลาวของสายชล โดยเกษียร เตชะพรีะ ไดในเลมเดียวกัน หนา 68-81 25

เบเนดิกท แอนเดอรสัน เขียน ชาญวิทย เกษตรศิร ิบรรณาธิการแปล.2552.ชมุชนจินตกรรม: บทสะทอนวาดวยกําเนิดและการแผ

ขยายของชาตินิยม,กรุงเทพ:มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร หนา 372

Page 11: New patani by anond.

11

ดวยการดํารงอยูของรฐัจินตนาการดังกลาว หากมองโดยละทิ้งเงื่อนไขวาดวยรัฐ บรูณภาพแหงดินแดน

และอํานาจอธิปไตย โดยพิจารณาแตจินตนาการความเปนรัฐเทานั่น จะพบวาลักษณะรัฐจินตนาการมอียาง

นอย 2 ชดุจินตนาการ กลาวคือ ชดุแรก จินตนาการวาดวยรัฐไทยซ่ึงเปนจินตนาการหลักซ่ึงชอบธรรมในแง

หากพจิารณาถึงการดํารงอยูของบรูณภาพแหงดินแดนของรัฐ

ชดุที่สอง เปนจินตนาการวาดวยรัฐปาตาน ีผานกระบวนการชาติปาตานนีิยมและจิตสํานึกประวัติศาสตรปา

ตานีรวมกัน รัฐจินตนาการชดุนี้เปนส่ิงซ่ึงมอียูจริง ดังนั้นหากมองการดํารงอยูของรฐัในแงรัฐจินตนาการ

แลว จะเกิดลักษณะซอนทับกันนั่นเอง

จินตนาการรัฐปาตานีถูกขับเคล่ือนดวยปจจัยสําคัญดังนี ้

ประการแรก เชื้อชาติมลาย ูกลาวคือ เรื่องเชื้อชาตซ่ึิงแตกตางกันระหวางเชื้อชาตมิลายปูาตานซ่ึีงดํารงอยูใน

พื้นที่รองรบัรฐัจินตนาการของรฐัไทยและเชื้อชาตไิทย (?)26และถูกทาํใหเปนไทย ซ่ึงมลายไูมใชไทย(และ

ไมสามารถเปนได)ดังนั้นจึงเกิดกระบวนการตอสูโดยเฉพาะเชงิอุดมการณในแง Ethnic Nationalism เพื่อ

แยงชงิพื้นที่ทางความคิดและจินตนาการวาดวยชาติพนัธุและการดํารงอยู ซ่ึงบอยครั้งการตอสูแสดงออกมา

ในรูปแบบการตอตานรัฐดวยความรนุแรง

ประการที่สอง จิตสํานึกทางประวัติศาสตรรัฐมลายรูวมกัน ปฏิเสธไมไดวาครั้งหนึ่งในอดีต ปาตานีเคยอยูใน

สถานะ “รัฐ” เชนเดียวกับรฐัสยาม ตอมาสยามไดเขามายดึเปนประเทศราชและผนวกดินแดนปาตานีเขาเปน

สวนหนึ่งของสยาม ดังนั้นในแงนี้ตองยอมรบัวาชาวมลายปูาตานมี ี“ความชอบธรรม” ที่จะตอสูเพื่อเรียกรอง

ส่ิงซ่ึงเคยเปนของตนเองคืนมา

ประการที่สาม เหตผุลอีกประการหนึ่งซ่ึงกอใหเกิดรัฐจินตนาการมลายปูาตานีคือ “ความใจแคบ” ของรฐั

สยาม/ไทย เชนการไมยอมรบัการดํารงอยูของชาตพินัธุมลายปูาตานแีละไป “หลอก” วาเขาเปนคนไทย ซ่ึง

ไมใช27 และที่สําคัญปรากฏวา “หลอกไมสําเร็จ” ดังนั้นจึงกอใหเกิดปฏิกิริยายอนกลับ คือการตอตานรัฐ

จินตนาการของสยามอยางรนุแรงรวมถึงความรนุแรงทางกายภาพดวย

26

ประเด็นความเปนเชื้อชาติไทยเปนประเด็นถกเถียงกันวา อันท่ีจริงแลวชาวสยามประเทศสวนใหญไมไดมีเชื้อชาติไทยเชื้อชาติเดียว แต

ประกอบไปดวยชาติพนัธุท่ีหลากหลาย กวา 50 ชาติพนัธุ แตดวยนโยบายชาตินิยมและกระบวนการสรางความเปนไทยใหแกชาติพนัธุ

อ่ืนๆในสยามซึ่งนับวาประสบความสําเร็จในการสรางความเปนไทย 27

ม.ร.ว.คึกฤทธิ ์ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรีไดแสดงความคิดเห็นในประเด็นนี้ในขณะท่ีดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีวา “…เรื่องของ

คนสามจังหวัดชายแดนภาคใต เปนเรื่องของคนตางชาติตางศาสนา ขอใหยอมรับความจริงขอนี ้แมในทางประวัติศาสตรก็ถือวาเปนคนตาง

Page 12: New patani by anond.

12

แบบจําลองความสมัพนัธรัฐจินตนาการของสยามและปาตาน ี

อยางไรก็ตามความสัมพนัธของรฐัจินตนาการของสยามและปาตานมีไิดเปนคูขัดแยงกับเสมอไป

กลาวคือ มแีนวคิดที่ยินดีที่จะอยูภายใตรัฐแหงบรูณภาพทางดินแดนของสยาม ซ่ึงแนวคิดนี้เปนแนวคิดที่

ประนีประนอม(Reconciliation)หรอืแนวทางสันติซ่ึงเกิดขึ้นในปญญาชนและชนชั้นนําใหมในสามจงัหวัด

ชายแดนภาคใต28

แนวคิดดังกลาวคือแนวคิดที่วาตองการอยูในดินแดนของรฐัไทยดวยความสันติและตองการใหรัฐไทย

“ใจกวาง” ตอชาวมลายปูาตานซ่ึีงหมายถึงการยอมรบัการมอียูของชาตพินัธุมลาย ูหยดุการยัดเหยยีดความ

เปนไทยใหกับเขาอยางในอดีต หยดุการกระทาํสองมาตรฐาน ตัวอยางแนวคิดดังกลาวที่ผูเขียนนํามาเปน

เชื้อชาติกัน…เราหลอกเขาวา เขาเปนคนไทยซึ่งท่ีจริงเขาเปนคนมลายู ตัวท่ีเปนปญหาคือ การหลอกวาตัวเขาเองเปนคนไทย…” อางใน อ.

บางนรา (2551) บทนํา 28

ชนชั้นนําใหมในจังหวัดชายแดนใตเปลี่ยนไปราว 2500 เปนตนมา กลาวคือชนชั้นนําใหมไดแกบุคคลท่ีไดรับการศึกษาจาก

สถาบันการศึกษาหลักของไทยซึ่งบุคคลเหลานี้โดยสวนมากมีแนวคิดกาวหนา ทันสมัย และประนีประนอม แตในขณะเดียวกันชนชั้นนํา

เกาซึ่งไดแก พวกเจาเกาและโตะครูหรือผูนําศาสนาก็ยังคงมีอิทธิพลอยูเชนกัน

ดูโครงสรางอํานาจชนชั้นนําสามจังหวัดชายแดนใตท่ีเปลี่ยนไปใน อางแลว ศรีสมภพ จิตรภิรมยศร ี(2552) หนา25-52

Page 13: New patani by anond.

13

กรณีศกึษาคือ กรณีของเจะกูดิง ซ่ึงเปนอดีตหวัหนากองจรยุทธทหารปลดแอกปตตาน ี(Tentara Pembebasan

Pattani) ซ่ึงใหสัมภาษณหนังสือพมิพจัตุรัส วันที่ 2 มนีาคม 2519 ดังนี้29 “…ที่เราเขามาปฏิบตัิการในปา มนั

เปนเรื่องของการเกิดสํานึกวาประชาชนของเราถูกกดขี่จากคนตางชาต ิประชาชนปตตานีตองประสบกับ

ภาวะบบีคั้นและกดขี่ทารณุไมขาดสาย ไมวาทางดานการเมอืง เศรษฐกิจ หรอืวัฒนธรรม…เร่ืองแยกตวัเปน

สาธารณะรัฐอิสระ หรือเร่ืองปกครองตนเองของชาวมลายูปตตาน ีไมใชเร่ืองสาํคญัสาํหรับเรา มนัลวนเปน

ปญหาการผอนคลายวิธีรวบอํานาจที่สวนกลางของจักรวรรดินิยมไทย(เนนโดยผูเขียน)…การปกครอง

ตนเองแบบ Autonomy จะหมายถึงการกดขี่ทั้งปวงหมดไปหรอืลดนอยลง คําตอบจะตองมาจากประชาชน

เอง…” จากบทสัมภาษณดังกลาว สะทอนใหเหน็วากลุมของเจะกูดิงเปนหนึ่งในกลุมที่มรีัฐจินตนาการแบบ

ประนีประนอม ไมไดมเีปาหมายการตอสูเพื่อรัฐบรูณภาพแหงดินแดนแตตองการเพยีงสิทธิของการดํารงอยู

ของชาติพนัธุมลาย ูสิทธิในการกําหนดชีวิตของตนเองเทานั้น ผูเขียนเชื่อวายงัไมสายหากรัฐไทย “กลาหาญ”

พอที่จะยอมรบัความจริงซ่ึงเปนความผดิพลาดในการดําเนินนโยบายในอดีตและ “ใจกวาง” ที่จะทําความ

ตามตองการความอิสระในการปกครองตนเองของชาวมลายูปาตานใีนฐานะพลเมอืงของประเทศไทย

สรุป

ความขัดแยงและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสามจงัหวัดชายแดนภาคใต สวนหนึ่งเกิดขึ้นจากสํานึกรวมกัน

ของความเปนมลายปูาตานีและรัฐจินตนาการรวมกัน ผานกระบวนการรับรูเรื่องราวประวัติศาสตรการเมอืง

ปาตาน ีนอกจากนี้ยังเปนผลมาจากการถูกกดขี ่ปดกั้นทั้งในทางการเมอืง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

อีกทั้งการกดทับการดํารงอยูของชาตพินัธุมลายปูาตาน ีวิธีการแกปญหาดงักลาวที่ดีตอทั้งสองฝายคือการเปด

ใหมพีื้นที่รองรบัความทรงจํา ความคิดรวมกันของทกุฝายดวยทศันคติที่ดีในฐานะพลเมอืงไทยที่เทาเทยีมกัน

29

อางแลว อ.บางนรา (2551) บทนํา

Page 14: New patani by anond.

14

บรรณานุกรม

ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร.2551.ภาษากับการเมือง/ความเปนเมือง.กรุงเทพฯ:โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

เชษฐา พวกหตัถ.2547.ปญหาทวิลักษณในทฤษฏีสังคม: โครงสรางเปนตัวกําหนด VS ผูกระทาํการเปนตัวกําหนด.

วารสารอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปที่ 24 ฉบับที่ 3 2547).

เตช บนุนาค เขยีน ภรณี กาญจนัษฐิติ แปล.2548.การปกครองระบบเทศาภบิาลของประเทศสยาม พ.ศ. 2435-2458 .

กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

------------- 2514.พระยาแขกเจ็ดหวัเมืองคบคกิขบถ ร.ศ.121,ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม.โครงการตําราสังคมศาสตร

และมนุษยศาสตร.

ธงชัย วินิจจะกูล เขยีน พวงทอง ภวัครพันธุ แปล .2551.ภมิูกายาและประวัติศาสตร.วารสารฟาเดยีวกัน ฉบับพรมแดน

แผนที่ ประวัติศาสตร ชาตินิยม (ปที่ 6 ฉบับที่ 3 2551)

นิธ ิเอียวศรีวงศ.2543.การเมืองไทยสมัยพระเจากรุงธนบรุี.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมติชน.

เบเนดกิท แอนเดอรสัน เขยีน ชาญวิทย เกษตรศิริ บรรณาธกิารแปล.2552.ชุมชนจินตกรรม: บทสะทอนวาดวยกําเนิดและ

การแผขยายของชาตินิยม,กรุงเทพฯ:มูลนิธโิครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร.

ปแยร บรูดเิยอร เขยีน ชนิดา เสง่ียมไพศาลสุข แปล นพพร ประชากุล บรรณาธกิาร.2550.เศรษฐกิจของทรัพยสินเชิง

สัญลกัษณ.กรุงเทพฯ:โครงการจัดพมิพคบไฟ.

ศรีสมภพ จิตรภริมยศรี.2552.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการปกครองและการจัดการความขดัแยงในจังหวัด

ชายแดนภาคใตของไทย:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

สายชล สัตยานุรักษ.2548.การสรางความเปนไทยกระแสหลักและความจริงที่ความเปนไทยสราง,วารสารฟาเดยีวกัน ฉบับ

สถาบนักษัตริยกับสังคมไทย (ปที่3 ฉบับที่4 2548).

สมเกียรติ วันทะทะ เขยีน สมบติั จันทรวงศ ชัยวัฒน สถาอานันท บรรณาธกิาร.2530.อยูเมืองไทย รวมบทความทางสังคม

การเมือง เพื่อเปนเกียรติแด ศาสตราจารยเสนห จามริก ในโอกาสอายุครบ 60 ป.กรุงเทพฯ:สํานักพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 15: New patani by anond.

15

อ.บางนรา นามแฝง.2551.ปตตานี อดตี-ปจจุบนั.เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการเรื่อง โลกของอิสลามและมุสลิมใน

อุษาคเนย วันที ่28-29 พฤศจิกายน 2551 โรงเรมทวินโลตัส นครศรีธรรมราช.

อิบรอฮีม ซุกรี .2543.Hikayat pattani(The story of pattani).สถาบนัสมุทรรัฐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

Kobkua Suwannathat-Pian.1988.Thai-Malay Relations:Traditional Intraregional Relations From The

Seventeeth to the Twentieth CenturiesKuala Lamper:oxford University Press.


Recommended