+ All Categories
Home > Documents > No.ส่วนหน้า No.10 2¸›ีที่-4-ฉบับ... · »‚·Õè ñ...

No.ส่วนหน้า No.10 2¸›ีที่-4-ฉบับ... · »‚·Õè ñ...

Date post: 12-Jul-2020
Category:
Upload: others
View: 5 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
335
»‚·Õè ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á-àÁÉÒ¹ òõõõ สังคมศาสตร วารสาร.มจร Social Science Review JOURNAL OF MCU ISSN . : . 2287-0121 Vol.1, No.1 January–April 2012 »ÃÔ·ÃÃȹ ปีท่ ๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๕๘ Vol.4 No.1 January–April 2015 กำ�หนดก�รเผยแพร่ ปีละ ๓ ฉบับ ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน / ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม / ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์นักวิชาการนิสิตนักศึกษาและผู้สนใจทั่วไปได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและผลงานวิจัย ทางสังคมศาสตร์และแขนงวิชาที่เกี่ยวข้องอันได้แกพระพุทธศาสนา รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นิติศาสตร์ การจัดการ สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ พัฒนาสังคมและการศึกษา ตลอดจบบทวิเคราะห์ที่เสนอทางออกของปัญหาให้แก่สังคม คณะกรรมก�รที่ปรึกษ�ว�รส�ร มจร สังคมศ�สตร์ปริทรรศน์ พระพรหมบัณฑิต, ศ.ดร. อธิการบดี พระราชวรเมธี, ดร. รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร พระศรีคัมภีรญาณ, รศ.ดร. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ พระสุวรรณเมธาภรณ์, ผศ. รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา พระราชวรมุนี, ดร. รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต พระเมธีธรรมาจารย์ รองอธิการบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแผพระโสภณวชิราภรณ์ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการต่างประเทศ พระครูปริยัติกิตติธำารง, ผศ.ดร. คณบดีคณะสังคมศาสตร์ ผศ.พิเศษ ร.อ.ดร.ประมาณเลิศ อัจฉริยปัญญากุล ที่ปรึกษาอธิการบดีด้านกฎหมาย บรรณ�ธิก�ร : ผศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม ผู้ช่วยบรรณ�ธิก�ร : พระระพิน พุทฺธิสาโร, ดร. - ดร.บุษกร วัฒนบุตร - ดร.อนุวัต กระสังข์ กองบรรณ�ธิก�ร : มห�วิทย�ลัยมห�จุฬ�ลงกรณร�ชวิทย�ลัย หน่วยง�นภ�ยนอก อ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี ผศ.ดร.วิโรจน์ อินทนนท์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.ดร.นพดล ดีไทยสงค์ ผศ.ดร.สมคิด ดวงจักร มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อ.ดร.จิดาภา เร่งมีศรีสุข อ.ดร.อุทัย สติมั่น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต อ.ดร.อภิษฎา ศรีเครืองดง อ.ดร.ประทีป ฉัตรสุภางค์ มหาวิทยาลัยมหิดล อ.ดร.สุริยา รักษาเมือง อ.ดร.ธนกร น้อยทองเล็ก มหาวิทยาลัยราชภัฏลำาปาง อ.ดร.ประเสริฐ ธิลาว อ.ดร.เดโชพล เหมนาไลย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อ.สุวัฒสัน รักขันโท พล.ท.ดร.วีระ วงค์สรรค์ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร อ.สุภัทรชัย สีสะใบ น.อ.ดร.นภัทร์ แก้วนาค วิทยาลัยการทัพอากาศ อ.ดร.เศรษฐวัฒน์ โชควรกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อ.ดร.วันชัย สุขตาม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ อ.ดร.อำานาจ ยอดทอง มหาวิทยาลัยมหิดล ศิลปกรรม : ดร.อนุวัต กระสังข์ สำ�นักง�น : สำานักงานวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ศูนย์บัณฑิตศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อาคารเรียนรวมโซน B ชั้น ๕ เลขที่ ๗๙ หมู่ ๑ ตำาบลลำาไทร อำาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐ โทร. ๐๓๕ ๒๔๘ ๐๐๐ ต่อ ๘๒๖๘, ๘๒๖๙, ๘๒๗๐ จัดพิมพ์โดย : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แขวงบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทร. ๐๒๒ ๒๑๘๘๙๒ , ๐๒๖ ๒๓๕๖๒๓ โทรสาร ๐๒๖ ๒๓๕๖๒๓ จำานวนพิมพ์ : ๑,๐๐๐ เล่ม
Transcript
  • »‚·Õè ñ ©ºÑº·Õè ñ Á¡ÃÒ¤Á-àÁÉÒ¹ òõõõ

    สังคมศาสตรวารสาร.มจร

    Social Science ReviewJOURNAL OF MCUI S S N . : . 2 2 8 7 - 0 1 2 1 Vol.1, No.1 January–April 2012

    »ÃÔ·ÃÃȹปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๕๘ Vol.4 No.1 January–April 2015

    กำ�หนดก�รเผยแพร่ ปีละ ๓ ฉบับ

    ฉบับที่ ๑ มกราคม-เมษายน / ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม / ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม

    วัตถุประสงค์

    เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์นักวิชาการนิสิตนักศึกษาและผู้สนใจทั่วไปได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและผลงานวิจัย

    ทางสังคมศาสตร์และแขนงวิชาที่เกี่ยวข้องอันได้แก่ พระพุทธศาสนา รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นิติศาสตร์ การจัดการ สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์

    พัฒนาสังคมและการศึกษา ตลอดจบบทวิเคราะห์ที่เสนอทางออกของปัญหาให้แก่สังคมคณะกรรมก�รที่ปรึกษ�ว�รส�ร มจร สังคมศ�สตร์ปริทรรศน์ พระพรหมบัณฑิต,ศ.ดร. อธิการบดี พระราชวรเมธี,ดร. รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร พระศรีคัมภีรญาณ,รศ.ดร. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ พระสุวรรณเมธาภรณ์,ผศ. รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา พระราชวรมุนี,ดร. รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต พระเมธีธรรมาจารย์ รองอธิการบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแผ่ พระโสภณวชิราภรณ์ รองอธิการบดีฝ่ายกิจการต่างประเทศ พระครูปริยัติกิตติธำารง,ผศ.ดร. คณบดีคณะสังคมศาสตร์ ผศ.พิเศษร.อ.ดร.ประมาณเลิศอัจฉริยปัญญากุล ที่ปรึกษาอธิการบดีด้านกฎหมายบรรณ�ธิก�ร : ผศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม ผู้ช่วยบรรณ�ธิก�ร : พระระพิน พุทฺธิสาโร, ดร. - ดร.บุษกร วัฒนบุตร - ดร.อนุวัต กระสังข์ กองบรรณ�ธิก�ร : มห�วิทย�ลัยมห�จุฬ�ลงกรณร�ชวิทย�ลัย หน่วยง�นภ�ยนอก อ.ดร.ธิติวุฒิ หมั่นมี ผศ.ดร.วิโรจน์ อินทนนท ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.ดร.นพดล ดีไทยสงค์ ผศ.ดร.สมคิด ดวงจักร มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อ.ดร.จิดาภา เร่งมีศรีสุข อ.ดร.อุทัย สติมั่น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต อ.ดร.อภิษฎา ศรีเครืองดง อ.ดร.ประทีป ฉัตรสุภางค์ มหาวิทยาลัยมหิดล อ.ดร.สุริยา รักษาเมือง อ.ดร.ธนกร น้อยทองเล็ก มหาวิทยาลัยราชภัฏลำาปาง อ.ดร.ประเสริฐ ธิลาว อ.ดร.เดโชพล เหมนาไลย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อ.สุวัฒสัน รักขันโท พล.ท.ดร.วีระ วงค์สรรค์ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร อ.สุภัทรชัย สีสะใบ น.อ.ดร.นภัทร์ แก้วนาค วิทยาลัยการทัพอากาศ อ.ดร.เศรษฐวัฒน์ โชควรกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อ.ดร.วันชัย สุขตาม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ อ.ดร.อำานาจ ยอดทอง มหาวิทยาลัยมหิดล ศิลปกรรม : ดร.อนุวัตกระสังข์ สำ�นักง�น : สำานักงานวารสารมจรสังคมศาสตร์ปริทรรศน์ศูนย์บัณฑิตศึกษาคณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยอาคารเรียนรวมโซนBชั้น๕ เลขที่๗๙หมู่๑ตำาบลลำาไทรอำาเภอวังน้อยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา๑๓๑๗๐ โทร.๐๓๕๒๔๘๐๐๐ต่อ๘๒๖๘,๘๒๖๙,๘๒๗๐จัดพิมพ์โดย : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยแขวงบรมมหาราชวังเขตพระนครกรุงเทพมหานคร๑๐๒๐๐ โทร.๐๒๒๒๑๘๘๙๒,๐๒๖๒๓๕๖๒๓โทรสาร๐๒๖๒๓๕๖๒๓

    จำานวนพิมพ์ : ๑,๐๐๐ เล่ม

  • ๑. พระพรหมบัณฑิต,ศาสตราจารย์ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๒. พระราชวรเมธี,ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๓. พระศรีคัมภีรญาณ,รองศาสตราจารย์ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๔. พระราชวรมุนี,ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๕. พระเทพปริยัติเมธี,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๖. พระครูปริยัติกิตธำารง,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗. พระเมธาวินัยรส,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย๘. พระครูปุริมานุรักษ์,รองศาสตราจารย์ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๙. พระมหาหรรษาธมฺมหาโส,รองศาสตราจารย์ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๑๐. พระมหาบุญเลิศอินฺทปญฺโญ,รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๑๑. พระครูสังฆรักษ์เกียรติศักดิ์กิตฺติปญฺโญ,ดร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๑๒. ศาสตราจารย์ดร.กฤชเพิ่มทันจิตต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์๑๓. ศาสตราจารย์ดร.วัชระงามจิตรเจริญ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์๑๔. ศาสตราจารย์ดร.ธีรภัทรเสรีรังสรรค์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช๑๕. ศาสตราจารย์ดร.สุรพงษ์โสธนเสถียร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์๑๖. ศาสตราจารย์ดร.จิรโชควีรสย มหาวิทยาลัยรามคำาแหง๑๗. ศาสตราจารย์ดร.อุไรวรรณธนสถิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย๑๘. ศาสตราจารย์ดร.กาญจนาเงารังษี มหาวิทยาลัยนเรศวร๑๙. ศาสตราจารย์ดร.วันชัยวัฒนศัพท์ สถาบันพระปกเกล้า๒๐. ศาสตราจารย์ดร.จำานงค์อดิวัฒนสิทธิ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๒๑. ศาสตราจารย์ดร.บุญทันดอกไธสง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๒๒. รองศาสตราจารย์ดร.สมานงามสนิท มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย๒๓. รองศาสตราจารย์ดร.ชัยยุทธชิโนกุล สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์๒๔. รองศาสตราจารย์ดร.โยธินแสวงดี มหาวิทยาลัยมหิดล๒๕. รองศาสตราจารย์ดร.นิยมรัฐอมฤติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์๒๖. รองศาสตราจารย์ดร.ปราชญากล้าผจญ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง๒๗. รองศาสตราจารย์ดร.ประสารบุญเสริม มหาวิทยาลัยรามคำาแหง๒๘. รองศาสตราจารย์ประณตนันทิยะกุล มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย๒๙. รองศาสตราจารย์พัฒนะเรือนใจดี มหาวิทยาลัยรามคำาแหง๓๐. รองศาสตราจารย์ดร.บุญมีเณรยอด มหาวิทยาลัยสยาม๓๑. รองศาสตราจารย์วรรณเพ็ญวรรณโกมล มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี๓๒. รองศาสตราจารย์ดร.โคทมอารียา มหาวิทยาลัยมหิดล๓๓. รองศาสตราจารย์ดร.ธีระพงษ์แก่นอินทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์๓๔. รองศาสตราจารย์ดร.จำาเริญชูช่วยสุวรรณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย๓๕. รองศาสตราจารย์ดร.สมพรแสงชัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์๓๖. รองศาสตราจารย์ดร.สรณัฐไตลังคะ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์๓๗. รองศาสตราจารย์ดร.สมบูรณ์ศิริสรรหิรัญ มหาวิทยาลัยมหิดล๓๘. รองศาสตราจารย์ดร.ชัชวาลย์ศรีจันทรโคตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านจอมบึง๓๙. รองศาสตราจารย์ดร.อำานวยเดชชัยศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา๔๐. รองศาสตราจารย์ดร.อภินันท์จันตะนี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๔๑. รองศาสตราจารย์ดร.ชาติชายพิทักษ์ธนาคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๔๒. รองศาสตราจารย์ดร.ธีรยุทธพึ่งเทียร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๔๓. รองศาสตราจารย์ดร.วันชัยพลเมืองดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๔๔. รองศาสตราจารย์วราคมทีสุกะ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย๔๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ชลวิทย์เจียรจิตต์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ๔๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.บรรจบบรรณรุจิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    คณะกรรมการกลั่นกรองบทความวารสาร มจร.สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ (Peer Review)

  • ๔๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ชัยยนต์ชิโนกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์๔๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พลับพลึงคงชนะ มหาวิทยาลัยพะเยา๔๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.มนตรีเพชรนาจักร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์๕๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วุฒินันท์กันทะเตียน มหาวิทยาลัยมหิดล๕๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วรวิทย์จินดาพล มหาวิทยาลัยนเรศวร๕๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ทัศนีย์เจนวิถีสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม๕๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ชนสิทธิ์สิทธิ์สูงเนิน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี๕๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วสันต์อติศัพท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์๕๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กมลพรสอนศรี มหาวิทยาลัยมหิดล๕๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ไพศาลสรรสรวิสุทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์๕๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ดุษฎีเจริญสุข มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย๕๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พรพรรณสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล๕๙. เรือโท.ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.อนันท์ใจสมุทร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี๖๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ชยสรสมบุญมาก มหาวิทยาลัยนครพนม๖๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สอาดบรรเจิดฤทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์๖๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.รวิวงศ์ศรีทองรุ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี๖๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กิตติทัศน์ผกาทอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๖๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ภัทรพลใจเย็น มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๖๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สมศักดิ์บุญปู่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๖๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ธัชชนันท์อิศรเดช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๖๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ณัฐพงศ์สังวรวรรณ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๖๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สินงามประโคน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๖๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.เติมศักดิ์ทองอินทร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชวัชชัยไชยสา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุทธิพงษ์ศรีวิชัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.วรกฤตเถื่อนช้าง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สมชัยศรีนอก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สถิตย์ศิลปะชัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุพรตบุญอ่อน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๖. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนุภูมิโซวเกษม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.โกนิฏฐ์ศรีทอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อานนท์เมธีวรฉัตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๗๙. อาจารย์ดร.พิเชฐทั่งโต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๘๐. อาจารย์ดร.ธีรพงษ์สมเขาใหญ่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๘๑. อาจารย์ดร.วิโรจน์พรหมสุด มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๘๒. อาจารย์ดร.ยุทธนาปราณีต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๘๓. อาจารย์ดร.บุษกรวัฒนบุตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๘๔. อาจารย์ดร.เดชากัปโก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย๘๕. อาจารย์ดร.อุทัยสติมั่น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต๘๖. อาจารย์ดร.สุรินทร์นิยมางกูร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์๙๗. อาจารย์ดร.จิตต์วิมลคล้ายสุบรรณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต๘๘. อาจารย์ดร.วรอนงค์โกวิทเสถียรชัย มหาวิทยาลัยมหิดล

  • บรรณาธิการ สืบเนื่องจากวารสาร มจร สังคมศาสตรปริทรรศน กาวเขาสูปท่ี ๔ คุณภาพของบทความจึง

    มีความเขมขนมากข้ึนอยางตอเนื่อง ซ่ึงเปนไปตามวัตถุประสงคใหนักวิชาการ ผูทรงคุณวุฒิและผูสนใจ ไดเผยแพรความรูทางวิชาการ งานวิจัยและผลงานสรางสรรคอ่ืนๆ อันเปนประโยชนแกสังคม ซ่ึงฉบับนี้เปนปท่ี ๔ ฉบับท่ี ๑ แลว แตยังคงสาระและคุณภาพของบทความไวดังเดิม ในวารสารฉบับนี้ มีท้ังบทความวิจัยและบทความวิชาการจากผูทรงคุณวุฒิท้ังภายในและภายนอก ประกอบดวยบทความวิชาการ ๖ เรื่อง และบทความวิจัย ๑๔ เรื่อง ในเนื้อหาสาระในเลมประกอบดวยนักวิชาการดังตอไปนี้ พระชลญาณมุนี (สมโภช ธมฺมโภชฺโช) บทความเรื่อง “พระพุทธศาสนากับการอนุรักษส่ิงแวดลอมตามพระธรรมวินัย” พบวาพระพุทธศาสนามีบทบาทสําคัญในการอนุรักษและถนอมธรรมชาติ ตามพระธรรมวินัยเปนกฎระเบียบท่ีพระพุทธเจาทรงบัญญัติข้ึนเพ่ือใชปกครองคณะสงฆใหเปนสังคมตัวอยางท่ีดีแกประชาชนในการดําเนินชีวิตท่ีเรียบงายใหสอดคลองสัมพันธกับกฎของธรรมชาติและสภาพแวดลอมเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไปดวยท้ังปฏิบัติตนใหบรรลุ คุณธรรมด วย จึ ง ไดประโยชน ท้ั งสองทาง คือประโยชนของพระวินั ยต อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและประโยชนตอสังคม ดร . อํ านาจ ยอดทอง บทความ เ รื่ อ ง “ชี วิต ท่ี มี ความ สุขและสงบตามแนวพระพุทธศาสนา” พบวาแนวคิดและวิธีการปฏิบัติไปสูชีวิตท่ีมีความสุขและมีความสงบตามหลักการในทางพระพุทธศาสนาเถรวาท ซ่ึงพบวาในระดับพ้ืนฐานแลวบุญก็คือความสุขท่ีเปนผลมาจากการกระทําความดี สวนความสงบเปนผลมาจากการท่ีจิตใจมีความมุงม่ัน มีสมาธิ เปนตน ผศ.วิชชุกร นาคธน บทความเรื่อง “ธรรมมาภิบาลในการบริหารงานคลังขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน” พบวาการพัฒนาธรรมาภิบาลของผูนําองคกรและระบบการบริหารใหอยูภายใตหลักธรรมาภิบาลท่ีแทจริงโดยมีมาตรการท้ังจากหลักการในพระพุทธศาสนาและการผลักดันเปนกฎหมายควบคูกัน ในสวนของภาคประชาชน หัวใจสําคัญท่ีสุดคือการสรางการมีสวนรวมและสรางสังคมแหงการเรียนรูโดยมีการประสานการใชทรัพยากรและเครือขายภาคประชาชนหรือประชาสังคมท่ีเขมแข็งบนหลักการแหงการสํานึกรักทองถ่ินของตนอยางแทจริง อัจฉรา หลอตระกูล บทความเรื่อง “การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการศึกษาตามแนวไตรสิกขา” พบวาการมุงผลสัมฤทธิ์ การบริการท่ีดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ จริยธรรม ความรวมแรงรวมใจ และตามหลักไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปญญา การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร เปนกระบวนการเพ่ิมพูนความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคลากร ท้ังในดานความคิดเห็นท่ีมีตองานและผลของการปฏิบัติงานของบุคลากรใหดียิ่งข้ึนกวาเดิม

  • ดร.บุษกร วัฒนบุตร บทความเรื่อง “องคกรแหงความสุขกับคุณภาพชีวิต” พบวาองคกรแหงความสุขเปนกระบวนการพัฒนาคนในองคกรอยางมีเปาหมายและยุทธศาสตรใหสอดคลองกับวิสัยทัศนขององคกร เพ่ือใหองคกรมีความพรอมตอการเปลี่ยนแปลง มีคุณภาพชีวิตท่ีดี ซ่ึงจะนําไปสูการพัฒนาเติบโตอยางตอเนื่องขององคกร ซ่ึงเปนการจัดการองคกรโดยเนนการจัดการ “คน” เปนหลัก

    พลภัทร ชางสากล บทความเร่ือง “รูปแบบการพัฒนาประสิทธิผลการดําเนินงานของเทศบาลตําบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” พบวา รูปแบบการพัฒนาประสิทธิผลการดําเนินงานของเทศบาลตําบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดวย (๑) การพัฒนาการสนับสนุนจากการเมืองระดับชาติ และ (๒) การเพ่ิมแรงกดดันทางการเมืองจากภาคประชาชน ซ่ึงท้ังสองประการมุงเนนการสงเสริมและผลักดันในเรื่อง การฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร การพัฒนาภาวะผูนําของผูบริหารทองถ่ิน การพัฒนาความเปนเอกภาพของบุคลากร และการพัฒนาวัฒนธรรมการทํางานเนนการมีสวนรวม ดร.ธิติวุฒิ หม่ันมีและคณะ บทความเรื่อง “คุณลักษณะของบัณฑิตท่ีมีผลตอการจางงานของบัณฑิตหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” พบวาคุณภาพของบัณฑิตไมไดกอเกิดข้ึนจากการผานเขาไปศึกษาในสถานศึกษาจนครบหลักสูตรแลวก็จะไดตัวบัณฑิตท่ีมีคุณภาพตามท่ีสังคมตองการ สถานศึกษา โปรแกรมการศึกษา ตลอดจนการจัดปจจัยเก้ือหนุนการพัฒนานิสิตดานตางๆ ท่ีถูกจัดสรรไวจะไมบังเกิดผลเลย หากนิสิตแตละคนไมฝกใฝฝกฝนตนเองใหบรรลุเปาหมายของการฝกอบรมบมเพาะ พ้ืนฐานด้ังเดิมของแตละบุคคลก็เปนปจจัยหลักท่ีติดตัวเขาไปตลอด เม่ือบัณฑิตสําเร็จการศึกษา เดินออกจากสถานศึกษาเขาสูสถานประกอบการจึงเปนไปไดวาจะพบเห็นบุคลิกภาพตางๆ ท้ังท่ีสรางความประทับใจและความขัดแยงในระดับตางๆ แกนายจางผูประกอบการ พระศรายุธ วุฒิแพทย บทความเรื่อง “การศึกษาสภาพและปญหาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงราย” พบวาสภาพการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงราย ท้ัง ๖ ดาน มีการดําเนินการอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดาน สภาพการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงราย ดานท่ีพบวามีการดําเนินการมากท่ีสุดคือ ดานการสรรหาบุคลากร สวนดานท่ีมีสภาพการดําเนินการนอยท่ีสุดคือ ดานการใหคาตอบแทน ในการดําเนินการใหคาตอบแทน ขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยสุดในดานนี้คือ โรงเรียนมีการจัดสรรสวัสดิการในรูปแบบตาง ๆ ใหกับบุคลากรเปนไปอยางเหมาะสมมีคาเฉลี่ยนอยสุด อดุลเดช ถาวรชาติ บทความเรื่อง “ปจจัยท่ีสงผลตอความมีวินัยในตนเองของนักศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค” พบวานักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรคมีระดับปจจัยท่ีสงผลตอความมีวินัย

  • ในตนเอง คือ การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย พฤติกรรมการสอนของอาจารย แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ การจัดกิจกรรมสงเสริมความมีวินัย ในภาพรวมอยูในระดับมาก วาท่ีรอยตรี เอกลักษณ นาคพวง บทความเรื่อง “บทบาทของมหาวิทยาลัยในการใหความชวยเหลือทางดานกฎหมายแกประชาชน กรณีศึกษาประชาชนในเขต อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค” พบวาบทบาทของมหาวิทยาลัยในการใหความชวยเหลือทางดานกฎหมายแกประชาชนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค ไดแกประเด็นดานการบริการวิชาการ ดานการเผยแพรความรูทางดานกฎหมาย ดานการเขาถึงแหลงความรู และดานความคาดหวังในการใหความชวยเหลือทางดานกฎหมาย โดยรวมอยูในระดับปานกลาง ผศ.พิเศษ ดร.สวัสดิ์ จิรัฏฐิติกาล บทความเรื่อง “การฝกวิชาชีพและคาตอบแทนการทํางานของผูตองขัง” พบวาการยื่นคํารองทุกขตองไมมีเจาหนาท่ีราชทัณฑเขามาเก่ียวของ เพ่ือเปนการควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติหนาท่ีของเจาพนักงานเรือนจําใหเปนไปตามกฎหมาย กฎขอบังคับ วัตถุประสงค และเปนหลักประกันในการคุมครองสิทธิของผูตองขังท่ีเก่ียวกับการฝกวิชาชีพและคาตอบแทนการทํางานรวมท้ังสิทธิอ่ืนๆ ของผูตองขัง คมศร คูณคําแสง บทความเรื่อง “บทบาทในการสนับสนุนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงแกประชาชนขององคการบริหารสวนตําบลคลองทับจันทรอําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว” พบวาองคการบริหารสวนตําบลคลองทับจันทร อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว ใหการสนับสนุนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงแกประชาชนโดยการจัดทําโครงการ/กิจกรรมสงเสริมแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนอยมากซ่ึงเปนกิจกรรมการพัฒนากลุมอาชีพและกิจกรรมสงเสริมเกษตรแบบผสมผสานเทานั้นและเขาใจเก่ียวกับการประยุกตใชแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวสวนใหญไดรับการฝกอบรมเก่ียวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเฉลี่ยคนละ ๑ ครั้งและเขาใจเก่ียวกับการประยุกตใชแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวสวนใหญไดรับ การฝกอบรมเก่ียวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเฉลี่ยคนละ ๑ ครั้ง กนกกร เมตตาจิต บทความเร่ือง “ผลของโปรแกรมบูรณาการการตั้งเปาหมายเขากับการสอนแบบสืบเสาะหาความรูท่ีมีตอแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์และผลสัมฤทธิ์ในวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา (บดินทร ๓)” พบวาหลังการทดลองกลุมทดลองมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .๐๕ ๒) หลังการทดลองกลุมทดลองมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .๐๕ ๓) หลังการทดลองกลุมทดลองมีผลสัมฤทธิ์ในวิชาวิทยาศาสตรสูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .๐๕ ๔) หลังการทดลองกลุมควบคุมมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูงกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับท่ีระดับ .๐๕ วิชญาภา เมธีวรฉัตร บทความเรื่อง “รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเชิงพุทธของมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนลาง ๒” พบวาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเชิงพุทธของมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนลาง ๒ ดานศีล ไดสงเสริมใหบุคลากรมีความรับผิดชอบตอหนาท่ีการงานอยางเต็มท่ีมีการจัดอบรมถือศีลและปฏิบัติธรรมประจําป การฝกอบรมข้ันศีล คือ ฝกกาย

  • วาจา ข้ันสมาธิ คือ ฝกจิตใจ ข้ันปญญา คือ ฝกองคความรู ในการพัฒนา ดานสมาธิ มีการสงเสริมใหบุคลากรทําสมาธิใหจิตใจมีความสงบสุขกอนปฏิบัติงานอยูเสมอ ดานปญญา สนับสนุนใหบุคลากรปฏิบัติงาน โดยใชหลักความเห็นชอบ และคิดชอบในการทํางาน ไพศาล เครือแสง บทความเรื่อง “รูปแบบการสงเสริมจริยธรรมทางการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผูนําองคกรปกครองสวนทองถ่ินในเขตภาคเหนือตอนลาง” พบวารูปแบบการสงเสริมจริยธรรมของผูนําองคการบริหารสวนตําบลจะตองใชคุณธรรมควบคุมกับปญญาเสมอและพยายามสงเสริมการศึกษาเรียนรูของประชาชน พระปลัดสมบัติ ฐิติญาโณ บทความเรื่อง “การจัดการความรูตามแนวพุทธธรรมในโรงเรียนจังหวัดนครสวรรค” พบวาทางการจัดการความรูและบูรณาการแบบองครวม องคกร บุคลากร สถานศึกษา การจัดการ ใหเชื่อมโยงกับภารกิจ ๔ ดาน ไดแก ผูบริหารการจัดการความรู ทัศนคติความคิดและพฤติกรรมบุคลากร การบูรณาการทางการศึกษาของโรงเรียน แผนการจัดการความรูวัฒนธรรมการจัดการความรู ในการสงเสริมการบริหารท้ัง ๔ ดาน จะใหเกิดการปฏิบัติหนาท่ีอยางสมบูรณท่ีสุดดวยการจัดการความรู เปนกําลังใจบุคลากรในองคกร การใหอภัย มีความรอบคอบ รับผิดชอบ เปนกําลังใจใหแกบุคลากร และไมปกปองคนชั่ว แตตองชวยเหลือคนดีเปนตน จักรวาล สุขไมตรี บทความเรื่อง “รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษยตามแนวพุทธจริยธรรมระดับอุดมศึกษา” พบวา พ้ืนฐานการเรียนรูของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาท่ีมีความแตกตางกันยอมมีผลตอพฤติกรรมการปฏิบัติในสิ่งท่ีถูกตอง ดีงาม ซ่ึงมีอยู ๔ ประการ คือ ๑ ครอบครัว ๒ สถาบันการศึกษา ๓ กลุมเพ่ือน และ ๔ สภาพแวดลอมรอบตัวนักศึกษา พระครูปลัดไพฑูรย เมธิโก (มหาบุญ) บทความเรื่อง “การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของวัดในเขตการปกครองคณะสงฆภาค ๑๔” พบวา การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของวัดในเขตการปกครองคณะสงฆภาค ๑๔ การนําปจจัยนําเขาตามหลักการบริหารจัดการ “POLE” ท่ีประกอบดวย การวางแผน การจัดการองคการ การเปนผูนํา และการประเมินผล มารวบรวมสังเคราะหขอมูลโดยการประมวลผล คือ การนําหลักการบริหารจัดการ POLE มากําหนดในดานตางๆ ท่ีเก่ียวกับการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของวัดในเขตการปกครองคณะสงฆภาค ๑๔ ซ่ึงสอดคลองกับการกําหนดนโยบายใน ๕ ดาน ประกอบดวย ดานหลักสูตร ดานผูสอน ดานกิจกรรมการเรียนการสอบ ดานปจจัยท่ีสนับสนุนการเรียนการสอน และดานการประเมินผล ซ่ึงทําใหไดผลลัพธทางการวิจัยท่ีมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน คติยา อายุยืน บทความเรื่อง “กลยุทธการพัฒนาสมรรถนะบุคคลตามหลักพุทธธรรมของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาคใตตอนบน” พบวา การบูรณาการเพ่ือการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรประกอบดวย ๓ ข้ันตอน ไดแก ๑. ข้ันการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางกายและทางวาจาใหมีความเปนปกติ มีความเหมาะสม และมีความงดงาม ท่ีชวยในการเสริมสรางพฤติกรรมของบุคลากรใหมีความนาเชื่อถือในสังคมมากยิ่งข้ึน ๒. ข้ันการปรับเปลี่ยนเปาหมายทางดานจิตใจใหมีความต้ังม่ัน ม่ังคง และจริงจังในการปฏิบัติหนาท่ีของตนเอง ท่ีชวยในการเสริมสรางพ้ืนฐานใหเกิดคุณธรรม

  • และจริยธรรมของบุคลากรและ ๓. ข้ันการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรูในการปฏิบัติงานอยางสมํ่าเสมอใหเกิดเปนประสบการณท่ีจะนํามาปรับปรุงแกไขเพ่ือเสริมสรางและปองกันความผิดพลาดท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต ทนงศักดิ์ จันทะเวช บทความเรื่อง “การวิเคราะหงบประมาณของเทศบาลตําบลทับชาง อําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี” พบวา ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอรายรับ คือ จํานวนครัวเรือนมีอิทธิพลกับภาษีสรรพสามิตและเงินอุดหนุน สวนจํานวนประชากรและความหนาแนนมีอิทธิพลตอภาษีแบง ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอรายจายคือ จํานวนครัวเรือนมีอิทธิพลตอรายจายงบกลางและรายจายประจํา

    ทายท่ีสุดนี้คณะบรรณาธิการขอขอบคุณเจาของผลงานบทความทางวิชาการทุกทานท่ีไดมีสวนรวมทําใหคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยไดเผยแพรความรูทางวิชาการสูสาธารณะตามนโยบายของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขอบพระคุณคณะกรรมการกลั่นกรองทุกทานท่ีไดใชความเพียรพยายามชี้แนะใหมีการปรับปรุงแกไขงานของแตละทานใหออกมาไดอยางถูกตองนาอานเปนประโยชนตอแวดวงวิชาการ และทายสุดขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของทุกทานท่ีไดทําใหมีวารสารฉบับนี้และโปรดติดตามฉบับตอไป

    ดวยความปรารถนาดียิ่ง

    (ผศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม) บรรณาธิการ

  • สารบัญ

    กองบรรณาธิการ คณะกรรมการกล่ันกรองบทความ บทบรรณาธิการ บทความวิชาการ : พระพุทธศาสนากับการอนุรักษสิ่งแวดลอมตามพระธรรมวินัย ๑ : พระชลญาณมุนี (สมโภช ธมฺมโภชฺโช) ชีวิตท่ีมีความสุขและสงบตามแนวพระพุทธศาสนา ๑๘ : ดร.อํานาจ ยอดทอง ธรรมมาภิบาลในการบริหารงานคลังขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ๓๑ : ผศ.วิชชุกร นาคธน การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการศึกษาตามแนวไตรสิกขา ๔๘ : อัจฉรา หลอตระกูล องคกรแหงความสุขกับคุณภาพชีวิต ๖๕ : ดร.บุษกร วัฒนบุตร

    บทความวิจัย : รูปแบบการ พัฒนาประสิทธิ ผลการ ดํา เนิ นงานของ เทศบาล ตําบล ใน เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    ๗๘

    : พลภัทร ชางสากล คุณลักษณะของบัณฑิตท่ีมีผลตอการจางงานของบัณฑิตหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธและสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

    ๑๐๑

    : ดร.ธิติวุฒิ หม่ันมีและคณะ การศึกษาสภาพและปญหาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดเชียงราย

    ๑๑๖

    : พระศรายุธ วุฒิแพทย ปจจัยท่ีสงผลตอความมีวินัยในตนเองของนักศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค

    ๑๒๘

    : อดุลเดช ถาวรชาติ

  • บทบาทของมหาวิทยาลัยในการใหความชวยเหลือทางดานกฎหมายแกประชาชน กรณีศึกษาประชาชนในเขต อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค

    ๑๔๓

    : วาท่ีรอยตรี เอกลักษณ นาคพวง การฝกวิชาชีพและคาตอบแทนการทํางานของผูตองขัง ๑๕๓ : สวัสด์ิ จิรัฏฐิติกาล บทบาทในการสนับสนุนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงแกประชาชนขององคการบริหารสวนตําบลคลองทับจันทรอําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว

    ๑๗๐

    : คมศร คูณคําแสง ผลของโปรแกรมบูรณาการการต้ังเปาหมายเขากับการสอนแบบสืบเสาะหาความรูท่ีมีตอแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์และผลสัมฤทธิ์ในวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๒ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ บดินทรเดชา (บดินทร ๓)

    ๑๘๐

    : กนกกร เมตตาจิต

    รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเชิงพุทธของมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือตอนลาง ๒ ๑๙๐ : วิชญาภา เมธีวรฉัตร

    รูปแบบการสงเสริมจริยธรรมทางการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผูนําองคกรปกครองสวนทองถ่ินในเขตภาคเหนือตอนลาง

    ๒๐๕

    : ไพศาล เครือแสง การจัดการความรูตามแนวพุทธธรรมในโรงเรียนจังหวัดนครสวรรค ๒๒๑

    : พระปลัดสมบัติ ฐิติญาโณ รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษยตามแนวพุทธจริยธรรมระดับอุดมศึกษา ๒๓๘

    : จักรวาล สุขไมตรี การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของวัดในเขตการปกครองคณะสงฆภาค ๑๔

    ๒๕๓

    : พระครูปลัดไพฑูรย เมธิโก (มหาบุญ) กลยุทธการพัฒนาสมรรถนะบุคคลตามหลักพุทธธรรมของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาคใตตอนบน

    ๒๗๑

    : คติยา อายุยืน การวิเคราะหงบประมาณของเทศบาลตําบลทับชาง อําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ๒๙๓

    : ทนงศักด์ิ จันทะเวช

    บทวิจารณหนังสือ : I Am Malala :เด็กหญิงเปล่ียนโลก พลิกแผนดินสันติภาพ ๓๐๕ : กองบรรณาธิการ

  • ภาคผนวก ๓๑๔ ข้ันตอนการดําเนินงานวารสาร มจร สังคมศาสตรปริทรรศน ๓๑๔ คําแนะนําสําหรับผูนิพนธบทความ ๓๑๖ หนังสือสงบทความทางวิชาการเพ่ือเผยแพร ๓๒๑ ใบตอบรับผู Peer Review ๓๒๓ ใบตอบรับเปนสมาชิก ๓๒๔

  • 1วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

    พระพุทธศาสนากับการอนุรักษสิ่งแวดลอมตามพระธรรมวินัย BUDDHISM AND ENVIRONMENT CONSERVATION ACCORDING TO THE

    BUDDHIST RULES OF LAWS

    พระชลญาณมุนี (สมโภช ธมฺมโภชฺโช) ∗ Ven. Phrachonranmunee (Sompoch Dhammabhojjo)

    บทคัดยอ

    พระพุทธศาสนามีบทบาทสําคัญในการอนุรักษและถนอมธรรมชาติ ตามพระธรรมวินัยเปนกฎระเบียบท่ีพระพุทธเจาทรงบัญญัติข้ึน เพ่ือใชปกครองคณะสงฆใหเปนสังคมตัวอยางท่ีดีแกประชาชนในการดําเนินชีวิตท่ีเรียบงายใหสอดคลองสัมพันธกับกฎของธรรมชาติและสภาพแวดลอมเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไปดวย ท้ังปฏิบัติตนใหบรรลุคุณธรรมดวย จึงไดประโยชนท้ังสองทาง คือประโยชนของพระวินัยตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและประโยชนตอสังคม เม่ือพระสงฆปฏิบัติดีปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัยแลวยอมทําใหสังคมนั้นๆ อยูอยางสงบ ไมเดือนรอน จึงพอประมวลประโยชนของพระวินัยท่ีมีตอสังคม ดังนี้ ไดแก (๑) ชวยสรางความมีระเบียบวินัยใหแกสังคม โดยพระสงฆปฏิบัติเปนตัวอยาง (๒) เม่ือภิกษุไมตัดไมทําลายปาก็สงผลใหสังคมอยูอยางสงบสุข (๓) ทําใหประชาชนเกิดศรัทธาเลื่อมใสในการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆและปฏิบัติตาม จะเห็นไดวา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีความสําคัญตอชีวิตของมวลมนุษย สัตวและพืช โดยการไมทําลายใหเสียความสมดุลยทางระบบนิเวศวิทยา พระสงฆเปนสวนหนึ่งของสังคมมนุษย และมีพระวินัยเปนกฎระเบียบในการดําเนินชีวิต พระวินัยท่ีพระสงฆรักษานี้สอดคลองกับการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากนอยเพียงใด สามารถประยุกตใชไดมากนอยแคไหน การท่ีพระสงฆจะเปนนักอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมผิดพระวินัยหรือไม คําตอบนี้อาจหาไดโดยการเปรียบเทียบสาระสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกับพระวินัย คําสําคัญ : พระพุทธศาสนา, การอนุรักษสิ่งแวดลอม, พระธรรมวินัย

    ABSTRACT

    Buddhism has played a key role in the conservation and preservation of nature according to the rules of Buddhist law that Buddha legislated to use as the

    ∗ เจาอาวาสวัดอุทกเขปสีมาราม อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

  • ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๘2

    regulations for Sangha administration and to set a good example for people to live their lives in moderation coinciding with the law of nature and environment. To live the life according to the laws of nature is the way to protect the nature and environment as well as Dhamma practicing which is the beneficial for both the nature and the society. When monks practiced according to the Vinaya, the society would be peaceful and trouble-free. This could be said that the benefits of Vinaya, the rules and regulations to the society would be as follows;(1) creating the disciplines for society by the good examples from the monks,(2) When monks do not destroy forests, this would induce peaceful and harmonious living in society and (3) to give faith and confidence in the conducts of the clergy and follow the example. It can be seen that natural resources are important to the lives of human beings, animals and plants. They must be kept in the equilibrium of ecological system. Monks are one part of society living their lives according to the Vinaya, the rules and regulations. The Vinaya by which the monks abide muts by coincided with the laws of natures and environment. How much can Vinaya be applied to the laws of nature and do monks who protect and conserve the nature and environment break the Vinaya or not ? The answer could be found by comparison of the natural and environmental contents with that of the Vinaya, the rule and regulations.

    Keywords: Buddhism, environmental conservation, the discipline, Vinaya.

    ๑. บทนํา

    การแสวงหาโมกขธรรมหรือการหลุดพนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ท่ีทรงเริ่มตนท่ีมุงตรงสูปาเพ่ืออาศัยความสงบทางจิต หรือแมแตการตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณของพระพุทธองคภายใตตนไมในปา๑ เม่ือพระพุทธองคทรงตรัสรูแลว พระพุทธองคทรงไดแสดงธรรมครั้งเปนแรก เพ่ือประกาศพระสัทธรรม ณ ทามกลางแหงปา (ปาอิสิปตนมฤคทายวัน)๒ แมแตวัดหรืออารามท่ีเปนท่ีอยูอาศัยของพระสงฆท้ังหลายลวนแตอยูในปา โดยเฉพาะการกําหนดเขตในการทํากิจของสงฆก็ตองกําหนดเอาชายปาเปนสําคัญ๓ ถือวา เปนวัตรท่ีดีในการพัฒนาจิตใจตนเองตาม

    ๑ วิ.ม. (ไทย) ๔/๑/๓. ๒ วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๒-๑๓/๓๓. ๓ วิ.ม. (ไทย) ๔/๒๑/๓๒.

  • 3วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

    หลักของการธุดงควัตร๔ เพราะเหตุนี้ พระพุทธองคจึงสอนใหพุทธศาสนิกชนใหมีความรักปาและรูจักบุญคุณของปา๕ ตามพระธรรมวินัยท่ีมีปรากฏอยูในหลักโอวาทปาฏิโมกข คือ ละชั่ว ทําดี ทําจิตใหผองแผว ดังท่ีพระพุทธองคทรงเนนย้ําวาจะตองยินดีในเสนาสนะอันสงัด เปนการสนับสนุนใหพระอยูปาเปนวัตรหรืออาศัยปาในการปฏิบัติธรรมเปนนิสัยหรือเปนวัตรท่ีภิกษุผูบวชใหมหรือเกาจะพึงถือเปนวัตร คือ บิณฑบาตร, นุงหมผาบังสุกุล, อยูโคนตนไม (อยูปา), ฉันยาดองดวยน้ํามูตรเนา๖ เพ่ือบําเพ็ญสมณธรรม๗ ดังนั้น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ถือวา เปนสิ่งท่ีมีคุณคาตอสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในโลก โดยเฉพาะทรัพยากรปาไม ถือวา เปนสิ่งท่ีมีคุณคาตอทุกชีวิต โดยเฉพาะมนุษยและสัตวท้ังหลาย ถือไดวาชีวิตทุกชีวิตลวนเปนสิ่งท่ีเกิดข้ึนมาจากธรรมชาติ ท่ีตองอาศัยปาในการพัฒนาการเรียนรูรวม และสรางสรรคสิ่งตางๆ ท่ีทําใหเกิดเปนวัฒนธรรมอันดีงาม นอกจากนี้ มนุษยและสัตวตางๆ ก็อาศัยประโยชนจากปาในการดํารงชีวิต และสืบพันธุอยางใกลชิด ดังนั้น พระพุทธศาสนาในฐานะท่ีเปนองคกรทางศาสนาท่ีมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับปา ท่ีไมแตกตางไปจากสิ่งมีชีวิตหรือองคกรหรือสังคม นั้นเอง

    ๒. ปญหาทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๒.๑ ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม “สิ่งแวดลอม” หมายถึง สิ่งตางๆ ท่ีมีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพท่ีอยูรอบตัวมนุษย

    ซ่ึงเกิดข้ึนโดยธรรมชาติและสิ่งท่ีมนุษยไดทําข้ึน๘ ดังท่ีนักอนุรักษ “สิ่งแวดลอม” หมายถึง สิ่งท่ีมีอยูรอบ ๆ ตัวเราตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภูเขา ดิน น้ํา อากาศ และทรัพยากรตางๆ ฯลฯ สวนท่ีมนุษยสรางข้ึน เชน ศิลปกรรมขนบธรรมเนียมประเพณี สวนสาธารณะ เปนตน มนุษยเราก็เปนสวนหนึ่งของสิ่งแวดลอมดวย และมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอ่ืนๆ จนไมสามารถแยกออกจากกันได เนื่องจากมนุษยมีกําเนิดอยูภายใตสิ่งแวดลอม และสิ่งแวดลอมทุกชนิดก็มีผลโดยตรงและโดยออมในการท่ีจะกําหนดใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูได

    ดังนั้น ธรรมชาติเปนสภาพแวดลอมท่ีงดงามนารื่นรมย และเปนปจจัยอยางหนึ่งของความสุข ในทามกลางของธรรมชาติ หรือทําใหมนุษยอยูรวมกับธรรมชาติอยางมีความสุข เพราะธรรมชาติเปนสวนประกอบหรือเปนปจจัยในการฝกฝนพัฒนามนุษย ใหมีจิตใจเจริญงอกงาม... เม่ือยูในสภาพแวดลอมท่ีสงัด ปราศจากเสียงรบกวน และกิจกรรมท่ีวุนวาย ทานเรียกวา กายวิเวก คือ

    ๔ ขุ. สุ.(ไทย) ๔๗ / ๓๐๐ - ๓๐๑.ที.มหา.อ. (ไทย) ๑๔/๒๐๑. ๕ พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาส อินฺทปฺโญ), พระสงฆกับการอนุรักษปา, ในนิตยสารเสขิยธรรม ปท่ี ๒

    ฉบับท่ี ๙ (มกราคม-กุมภาพันธ ๒๕๓๕), หนา๑๘. ๖ ที.ม.(ไทย) ๑๐/๙๐/๑๒๐,วิ.ม.(ไทย)๔/๗๓/๒๕.ประกอบ ๗ พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต), พระกับปามีปญหาอะไร, (กรุงเทพมหานคร : เรือนแกวการพิมพ,

    ๒๕๓๔), หนา ๕-๗. ๘ ธีระพล อรุณะกสิกรและคณะรวบรวม, พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม

    แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน, ๒๕๔๒), หนา ๘.

  • ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม - เมษายน ๒๕๕๘4

    ความสงัดทางดานกาย โดยเฉพาะเม่ือไปอยูในปา รมไมหมูไมท่ีมีความสงบมีแตธรรมชาติ... ก็จะชวยชักนําจิตใจใหโนมไปสูความสงบดวย เม่ือจิตใจรูสึกมีความสงบมีความอ่ิมใจ มีความสดชื่นโนมนอมไปในทางท่ีดี ก็จะทําใหเกิดจิตวิเวก คือ ความสงัดทางจิตตามมา เม่ือจิตใจสงบสงัดไมมีอารมณวุนวายใจเขามารบกวนแลว สมาธิก็จะอยูในสภาพท่ีพรอมจะฝกฝนพัฒนายิ่ง ๆ ข้ึนไปอีก คือจิตท่ีพรอมดีอยางนั้นแลวไปใชงาน ในการพินิจพิจารณาใหเกิดปญญาเห็นความเปนจริงของสิ่งท้ังหลาย จึงทําใหจิตใจเปนอิสระท่ีเรียกวาเปน อุปธิวิเวก คือ ทําใหเกิดความสงัดจากกิเลสตอไปในท่ีสุด๙ ชาวพุทธมองธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมจากประสบการณ ๒ อยาง คือ (๑) จากการศึกษาพระจริยาวัตรของพระพุทธเจาและของพระสาวกในสมัยครั้งพุทธกาล (๒) จากการศึกษาหลักคําสอนของพระพุทธเจาและพระสาวกท่ีมีปรากฏอยูในพระสูตรและพระวินัย โดยชาวพุทธมีทัศนะโดยภาพรวมแลวนับวามีทัศนะอยางยิ่งตอการอนุรักษและปกปองธรรมชาติ ท่ีมีความสําคัญตอการเรียนรู ๓ ประการ คือ (๑) มองเห็นธรรมชาติเปนเรื่องรื่นรมย นาชื่นชมความงาม และมีความสุขกับธรรมชาติ (๒) เห็นพืชพันธุมนุษยและสัตวท้ังหลายในธรรมชาติ เปนเพ่ือนรวมกฎของธรรมชาติอันเดียวกันกับตน จะตองมีเมตตาไมตรีตอกัน (๓) มองธรรมชาติเปนสภาพแวดลอมท่ีมีคุณคาเก้ือกูล ตอการพัฒนาของมนุษยทาทีเหลานี้ จะทําใหพฤติกรรมตอธรรมชาติแวดลอม พลิกเปลี่ยนจากความเปนปฏิปกษท่ีจะพิชิต ขมเหง รังแก เอาเปรียบธรรมชาติมาสูความเปนมิตร ความเก้ือกูล และอยูรวมกันดวยดี๑๐

    ๒.๒ ปญหาเก่ียวกับดินเส่ือมโทรม ดินเสื่อมโทรม หมายถึง การท่ีคุณภาพของดินลดลง สาเหตุจากการกระทําของมนุษย

    จากการเปลี่ยนแปลงของธาตุอาหารของพืช ปริมาณอินทรียวัตถุ โครงสราง ปริมาณประจุไฟฟา และเกิดสารพิษตางๆ ในดิน ท้ังดานปริมาณและคุณภาพลดลงอันเกิดจากขบวนการเสื่อมโทรม๑๑ เปนปญหายิ่งใหญท่ีมนุษยเผชิญอยู แตปจจุบันกลายเปนปญหาตอความเปนอยูของมนุษยและสิ่งแวดลอมของโลก ซ่ึงมี ๒ เหตุผลดวยกัน คือ (๑) ดินเสื่อมโทรมทําใหความสามารถในการผลิตของระบบนิเวศนอยลง (๒) ดินเสื่อมโทรมมีผลกระทบตอภูมิอากาศของโลก ทําใหความสมดุลยของน้ํา พลังงาน ตลอดจนวงจรของคารบอน ไนโตรเจน กํามะถัน และธาตุอาหารอ่ืนๆ เปลี่ยนแปลงไป ถึงแมวาดินเสื่อมโทรมจะมีผลกระทบตอผลผลิตทางดานเกษตร นําไปสูปญหาความม่ันคงของการเมืองและสังคม การตัดไมทําลายปาการใชพ้ืนท่ีท่ีไมเหมาะสมเปนการกระตุนใหการชะลางพังทะลายของดิน ซ่ึงนําไปสูการเสื่อมโทรมของดินท้ังสิ้น

    ๙ พระธรรมปฎก ( ป.อ.ปยุตฺโต ), คนไทยกับปา, พิมพครั้งท่ี ๔, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมูลนิธิ

    พุทธธรรม. โรงพิมพสหธรรมมิก จํากัด, ๒๕๓๗), หนา ๒๑- ๒๖. ๑๐ พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), การพัฒนาท่ีย่ังยืน, พิมพครั้งท่ี ๖, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมูลนิธิ

    โกมลคีมทอง, ๒๕๔๒), หนา ๑๙๑. ๑๑UNEP, World Soil Policy, United Nations Envir, (Programme, Nairabi, Kenya. 1982),

    p. 145.

  • 5วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

    ๒.๓ ปญหาเก่ียวกับน้ํา น้ําเปนปจจัยท่ีสําคัญในการดํารงชีวิตมนุษย นอกเหนือจากการอุปโภคบริโภคใน

    ชีวิตประจําวันแลว น้ํายังมีบทบาทสูงในการรังสรรคอารยะธรรมความม่ันคงและม่ังค่ังของสังคม มนุษยชาติไดประโยชนมหาศาลจากทรัพยากรน้ํามาโดยตลอด แตในปจจุบันปญหาการขาดแคลนน้ํา และการเกิดมลพิษทางน้ํา ดังท่ีพระพุทธเจาไดทรงบัญญัติสิกขาบทวา “ภิกษุพึงทําการศึกษาวา เราจักไมถายอุจจาระ ปสสาวะ หรือปวนเขฬะลงในน้ํา” ตอเม่ือเกิดเหตุสุดวิสัยกับภิกษุอาพาธ พระองคทรงวางอนุบัญญัติวา “ภิกษุพึงทําการศึกษาวาเราไมอาพาธ จักไมถายอุจจาระ ปสสาวะ หรือ บวนเขฬะลงในน้ํา”๑๒ เนื่องจากผูใชน้ําสวนใหญขาดความรับรูและจิตสํานึกรับผิดชอบตอปญหาท่ีเกิดข้ึนในอนาคตอันใกลสถานการณของทรัพยากรน้ําอาจเกิดปญหาใหญถึงข้ันวิกฤติ โดยเฉพาะในดานการขาดแคลนน้ํา ท้ังนี้เนื่องจากแนวโนมท่ีจะเกิดภัยแลงมากข้ึน น้ําในแหลงน้ําตางๆ มีคุณภาพลดลง และการใชน้ําฟุมเฟอยในกิจการตางๆ ไดแก เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การใชน้ําในครัวเรือนและธุรกิจ บริการตางๆ

    ๒.๔ ปญหาเก่ียวกับมลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ ไดแก ฝุนละออง สารตะก่ัว กาชคารบอนมอนนอกไซด กาชซัลเฟอรได

    ออกไซด กาชไนโตรเจนไดออกไซด ความรอนทางอากาศ เสียงและความสั่นสะเทือนท่ีเกิดจากการกอสรางและกิจการอุตสาหกรรม มีสาเหตุใหญ ๒ ประการ คือ (๑) เกิดจากธรรมชาติ เชน ภูเขาไฟระเบิด พายุ ลมไตฝุน (๒) เกิดจากสิ่งท่ีมนุษยสรางข้ึนมาเอง เชน การเผาไหมเชื้อเพลิงจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงกลั่นน้ํามัน โรงไฟฟา โรงถลุงเหล็ก การเผาไหมเชื้อเพลิงของยานยนต การหุงตม การเผาขยะมูลฝอย ฝุนละอองจากการกอสราง สารกัมมันตรังสีจากโรงงานปรมาณู เม่ืออากาศเปนพิษยอมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชีวิตอ่ืนๆ เชน ทําใหอากาศมืดมัว ความรอนบนผิวโลกเพ่ิมข้ึน กอความสกปรกตอเสื้อผา บานเรือน ทําใหโลหะผุเร็ว ทําอันตรายตอชีวิตสัตวและพืช ทําใหการเจริญเติบโตหยุดชะงัก ตลอดท้ังทําใหสูญเสียตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ

    ๒.๕ ปญหาเก่ียวกับปาไม ปาไมเปนแหลงกําเนิดของแมน้ําลําธาร ทีอยูอาศัยของสัตวปา และทางชีวภาพตางๆ ชวย

    สรางความชุมชื้น ลดกาชคารบอนไดออกไซด ชวยปองกันการชะลางพังทลายของดิน และรักษาความสมดุลทางธรรมชาติและระบบนิเวศอันมีคุณคาและความสําคัญตอการดําเนินชีวิตของมนุษย ดังนั้น สาเหตุหลักมาจากการบุกรุกเขาทําไรเลื่อนลอย ไฟปา การทําเข่ือน อางเก็บน้ํา การลักลอบตัดไม เม่ือปาถูกทําลาย สัตวปาท่ีเปนทรัพยากรธรรมชาติอันหาคามิไ


Recommended