+ All Categories
Home > Health & Medicine > Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

Date post: 30-Jun-2015
Category:
Upload: department-of-anesthesiology-faculty-of-medicine-khon-kaen-university-khon-kaen-thailand
View: 706 times
Download: 7 times
Share this document with a friend
Description:
Service Profile
23
1 Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร (1 มกราคม พ.. 2550 – 31 มีนาคม พ.. 2553) จัดทําโดย คณะกรรมการพัฒนางานคุณภาพ งานบริการวิสัญญี ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน (มิถุนายน, 2553)
Transcript
Page 1: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

1

Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร

(1 มกราคม พ.ศ. 2550 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2553)

จัดทําโดย

คณะกรรมการพัฒนางานคุณภาพ

งานบริการวิสัญญี

ภาควิชาวิสัญญีวิทยา

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

(มิถุนายน, 2553)

Page 2: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

2

Service Profile งานบริการวิสัญญ ีโรงพยาบาลศรีนครินทร

ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

(1 มกราคม พ.ศ. 2550 – 31 มีนาคม พ.ศ. 2553)

1. บริบท

ก. หนาท่ีและเปาหมาย

งานบริการวิสัญญีเปนงานที่ ใหบริการระงับความรูสึก แกผูปวยในโรงพยาบาลศรีนครินทรซ่ึงเปนสถาน พยาบาล

ระดับตติยภูมิ โดยมีเปาหมาย เพ่ือใหผูปวยไดรับบริการที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และพึงพอใจในบริการตามมาตรฐานวิชาชีพ

โดย

1. ใหบริการระงับความรูสึกตามมาตรฐานที่ครอบคลุมทุกขั้นตอน

2. วางแผนและประสานงานในทีมบริการที่เก่ียวของที่เนนผูปวยเปนศูนยกลาง

3. ลดอุบัติการณ/ความเส่ียงที่อาจเกิดจากบริการวิสัญญีและทบทวนความเส่ียงที่เกิดโดยใชหลักฐานเชิง

ประจักษ

4. วิเคราะหความตองการกลุมผูรับบริการทั้งภายในและภายนอกเพ่ือเพ่ิมความพึงพอใจ

5. พัฒนาบุคลากรเพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการใหบริการแกผูปวย

6. ปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูปวย เจาหนาที่และส่ิงแวดลอม

7. สนับสนุนเทคนิคบริการที่เอ้ือตอการเรียนการสอนและการวิจัย

ข. ขอบเขตบริการ

ใหบริการ ระงับความรูสึกผูปวยในหองผาตัด จํานวน 19 หอง (รวมหองผาตัดคลอด) ทั้งในและนอกเวลาราชการ

หองพักฟนจํานวน 2 หอง( 24 เตียง)โดยครอบคลุมทั้ง Elective และ Emergency Case ตลอดจนใหบริการวิสัญญี

นอกสถานที่ เชน ECT, Angiogram, MRI และทันตกรรม เปนตน โดย ใหบริการผูปวย ในชวง ป พ.ศ. 2550 – 31 มีนาคม พ.ศ.

2553 จํานวน 13872, 14388, 14449 และ 3365 รายตามลําดับ รวมทั้งส้ิน 46,074 ราย จํานวนบุคลากรที่ใหบริการ

ประกอบดวย วิสัญญีแพทยจํานวน 15 คน วิสัญญีพยาบาลจํานวน 51 คน เจาหนาที่ธุรการ 4 คนและเจาหนาที่สนับสนุน

งานบริการ 10 คน มีเครื่องมือตามเกณฑมาตรฐานที่ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทยแหงประเทศไทยกําหนด มีศักยภาพในการ

ใหบริการในหัตถการผาตัดที่มีความยุงยากซับซอน มีความเปนเฉพาะทางที่โรงพยาบาลทั่วๆไปไมสามารถทําได ไดแก

ศัลยกรรมทรวงอก หัวใจ และ หลอดเลือด เชน Open Heart Surgery CABG การผาตัดปอด, การผาตัดปลูกถายอวัยวะเชน

Kidney Transplantation และLiver Transplantation ซ่ึงเริ่มใหบริการในปพ.ศ. 2549 และไดทําผาตัดไปแลวรวม 2 ราย เปนตน

การใหบริการวิสัญญีมีกระบวนการดูแลโดยตรวจเย่ียมผูปวยลวงหนากอนผาตัด 1 วันใน Elective case เพ่ือ

ประเมิน คนหาความเส่ียง และวางแผนในผูปวยแตละรายกอนเริ่มใหบริการระงับความรูสึก ใหขอมูลที่จําเปนที่เก่ียวกับการ

ระงับความรูสึกแกผูปวย และใหผูปวย/ญาติมีสวนรวมในการเลือกเทคนิคและรับทราบความเส่ียงที่อาจเกิดขึ้น มีการ

ติดตามเฝาระวัง ดูแลชวยเหลือและบันทึกขอมูลระหวางผาตัด หลังผาตัดในหองพักฟนจนปลอดภัยและสงกลับหอผูปวย

หรือหอผูปวยวิกฤติกรณีจําเปน โดยมีการสงตอขอมูลที่สําคัญในการดูแลผูปวยอยางตอเนื่อง และติดตามเย่ียมประเมิน

ภาวะแทรกซอนทางวิสัญญีหลังผาตัดภายใน 24 ช่ัวโมง กรณีฉุกเฉินใหบริการตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนด รวมทั้ง

ใหบริการ Acute Pain Service เพ่ือใหบริการระงับปวดหลังผาตัดอีกดวย

Page 3: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

3

ค. ผูรับผลงานและความตองการท่ีสําคัญ (จําแนกตามกลุมผูรับผลงาน)

ความตองการของผูรับบริการ (External Customer)

ผูปวยและญาติ

1. ไดรับบริการระงับความรูสึกที่ปลอดภัยไดมาตรฐาน ซ่ึงรองรับการผาตัดที่ยากและซับซอน

2. ไดรับคําแนะนําเก่ียวกับขั้นตอนการระงับความรูสึกและการปฏิบัติตัวทั้งกอนและหลังรับบริการ และมีสวน

รวมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรูสึก

3. พบปะพูดคุยกับเจาหนาที่เพ่ือรับทราบขอมูลและซักถามขอของใจ

ความตองการของผูรวมงานในโรงพยาบาล (Internal Customer)

แพทยผาตัด

1. มีการประเมินผูปวยบนพ้ืนฐานของหลักวิชาอยางละเอียดรอบคอบ

2. มีมนุษยสัมพันธที่ดี มีการประสานงานในทีมที่มีประสิทธิภาพ

3. มีความรูและทักษะในการใหบริการที่ดี มีการพัฒนาความรูอยูอยางสมํ่าเสมอ

4. มีความเขาใจในหัตถการของแพทยผาตัดและสามารถใหบริการที่สอดคลองทําใหการผาตัดดําเนินไปดวย

ความราบรื่น

5. มีการตัดสินใจที่รวดเร็ว แมนยํา และรอบคอบเพ่ือความปลอดภัยของผูปวย

6. มีการวิเคราะหความตองการของแพทยผาตัดเพ่ือนํามาปรับปรุงและพัฒนางานบริการ

7. มีอุปกรณ, เครื่องมือตาง ๆ ที่มีประสิทธิภาพเช่ือถือไดและพรอมใชงานไดตลอดเวลา

หอผูปวยและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

1. มีการติดตอประสานงานอยางมีประสิทธิภาพ มีการบันทึกและสงตอขอมูลทีเ่ช่ือถือได

2. นําผูปวยสงกลับหอผูปวยอยางปลอดภัย

Scrub nurse

1. มีมนุษยสัมพันธที่ดี มีน้ําใจชวยเหลือซ่ึงกันและกันในการปฏิบัติงาน

2. วางแผนรวมกันกอนเริ่มการผาตัดเพ่ือความราบรื่นในการปฏิบัติงาน เชนมีการทํา sign in, time out, sign out

รวมกัน

3. ใหความรวมมือรักษาเครื่องมือเครื่องใชใหสะอาดปราศจากเช้ือโรค

4. ชวยรับผิดชอบในอุปกรณที่ใชรวมกัน เชน suction ไมรองแขน เปนตน

ง. ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ

1. ใ หบริการวิสัญญีที่มีการควบคุมมาตรฐานดวยระบบประกันคุณภาพทีค่รอบคลุมทุกขั้นตอน มีการพัฒนา

คุณภาพอยางตอเนื่อง

2. ใหบริการโดยเนนผูปวยเปนศูนยกลาง ผูปวยทุกรายมีสิทธิเทาเทียมกันในการไดรับบริการวิสัญญีที่ได

มาตรฐานแหงวิชาชีพ

3. ผูปวย/ญาติมีการรับทราบขอมูลและมีสวนรวมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรูสึกบนพ้ืนฐาน

ความปลอดภัย

Page 4: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

4

4. ใหบุคลากรที่ปฏิบัติงานมีการพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถที่ทันสมัยอยูเสมอ

5. คนหาความเส่ียงและลดอุบัติการณที่เกิดจากบริการวิสัญญี

จ. ความทาทาย ความเส่ียงท่ีสําคัญ จุดเนนในการพัฒนา

ความทาทาย ความเส่ียงท่ีสําคัญ จุดเนนในการพัฒนา

1.เปนโรงพยาบาล

โรงเรียนแพทยที่มี

ศักยภาพบริการแบบตติย

ภูมิ ประเภทของผูปวยมี

ความซับซอนของโรค

และมีความยากในการ

ดูแลรักษา จึงตองมีการ

- พัฒนาคน

- พัฒนาระบบ

- พัฒนากระบวนการ

- ความผิดพลาดในการประเมิน

ความเส่ียงและการดูแล

- การสงตอขอมูลไมสมบูรณ

- การประสานงานบกพรอง

- การฟองรอง

- พัฒนาบุคลากรเฉพาะทางเพ่ือรองรับความยากของงานและ

ลดความเส่ียง ขอขัดแยงในการประสานในทีม เชน ทีม Kidney

Transplantation และLiver Transplantation เปนตน

- เนนดานความปลอดภัยของผูปวยโดยมีระบบบริหารความ

เส่ียงและการประกันคุณภาพบริการ

-มีการประเมินผูปวยรวมกันในทีมสหสาขา และมีระบบการ

ปรึกษาเฉพาะทางเชน การขอคําปรึกษา Cardio-med, Pain

หากพบปญหาในการดูแล, พัฒนารวมกับ CLT ตางๆผานผู

ประสานเพ่ือลดความเส่ียงตามแนวคิด Thai Patient Safety

Goals : SIMPLE

- พัฒนาระบบการติดตอส่ือสารภายในทีมผูใหบริการ ผานทีม

บริหารความเส่ียง, กลุมงานประกันคุณภาพ และสรางทีม

ประสานแตละ PCT/CLT เพ่ิมเติมขึ้นโดยไดรับมอบหมายเปน

ผูประสานในทีมที่ก่ียวของ เพ่ือแกปญหาไดตรงประเด็นมาก

ขึ้น

-มีการติดตามดูภาวะแทรกซอนที่สําคัญโดยกรรมการบริหาร

ความเส่ียง และรวมอบรมหลักสูตรการเจรจาไกลเกล่ียกับทีม

บริหารความเส่ียงของโรงพยาบาลเพ่ือรับผิดชอบดูแลบริหาร

จัดการความเส่ียงที่เกิดขณะใหบริการ

2. Excellent Center ดาน

การปลูกถายอวัยวะ ไดแก

Renal Transplantation

และ Liver

Transplantation เปนตน

- ขาดความรู ความชํานาญของ

ทีมงานเฉพาะทาง

- พัฒนาบุคลากรกลุมงานที่มีความเฉพาะ ไดแกทีมระงับ

ความรูสึกการผาตัดเปล่ียนไตและเปล่ียนตับ เชน การเขารวม

อบรม ทบทวนความรูการผาตัดไต

-อบรม ดูงานเพ่ือเพ่ิมศักยภาพเชนการสงบุคลากรรวมดูงาน

Liver Transplantation ณ ประเทศญ่ีปุน และออสเตรเลีย

3.ใหบริการนอกสถานที่

เชน การทําการวินิจฉัย

ดวย Angiogram และ

MRI เปนตน

-ความไมพรอม ไมชํานาญ

ของทีมผูชวยเหลือหากมีกรณี

ฉุกเฉิน

- วางระบบการบริหารจัดการงานบริการนอกสถานที่ โดยให

มีผูรับผิดชอบประจํา ดูแลจัดอุปกรณที่สําคัญสมบูรณพรอม

ใชตลอดเวลา จัดใหมีทีมชํานาญเฉพาะเพ่ือลดความเส่ียง มี

ระบบขอความชวยเหลือดวนผานวิทยุติดตามตัว

Page 5: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

5

ฉ. ปริมาณงานและทรัพยากร(คน เทคโนโลยี เครื่องมือ)

ปริมาณงาน

จํานวนรายผูปวย พ.ศ. 2550

จํานวน (รอยละ)

พ.ศ. 2551

จํานวน (รอยละ)

เม.ย.52-มี.ค.53

จํานวน (รอยละ)

จํานวนผูปวยทั้งหมด (รวม) 13,872 14,388 14,259

- ผูปวยใน 13,282(95.7) 13,765(95.7) 13,739 (96.4)

- ผูปวยนอก 323(2.3) 262(1.8) 264 (1.9)

- ไมระบ ุ 267(2.0) 361(2.5) 256 (1.8)

- Elective 10,627 11,018 11,188 (78.5)

- Emergency 2,978 3,009 2,983 (20.9)

- อ่ืนๆ 267 361 88 (0.6)

ผูปวยมี Underlying disease 49% 52.3% 7,455 (52.3)

ผูปวยไมมี Underlying disease 51% 47.7% 6,804 (47.7)

การผาตัดปลูกถายอวัยวะ

- Kidney Transplantation 54 38 34

- Liver Transplantation - 1(improved) 1 (improved)

ประเภทการระงับความรูสึก

- Regional Anesthesia (RA) 2,448 2,553 2,594

- General Anesthesia (GA) 10,337 10,929 10,409

- Combined GA& RA 811 627 899

- MAC 261 257 350

-ไมระบุ 15 22 7

ทรัพยากรบุคคล

จํานวนบุคลากรกลุมตาง ๆ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 ม.ค.52-มี.ค.53

วิสัญญีแพทย 15 15 15

วิสัญญีพยาบาล 38 45 51

เจาหนาที่ธุรการ 4 4 4

เจาหนาที่สนับสนุนงานบริการ 10 10 10

เครื่องมือ อุปกรณท่ีใชใหบริการทางวิสัญญ ี

การจัดเครื่องมือและอุปกรณ

(ตามเกณฑมาตรฐานของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย)

พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 ม.ค.52-ม.ีค.53

- เครื่องใหยาสลบ 1 เครื่อง/หองผาตัด (มีเครื่องสํารอง มี มี มี

Page 6: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

6

การจัดเครื่องมือและอุปกรณ

(ตามเกณฑมาตรฐานของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย)

พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 ม.ค.52-มี.ค.53

ใช)

-เครื่องชวยหายใจ 1 เครื่อง/หองผาตัด (มีเครื่องสํารอง

ใช)

มี มี มี

-อุปกรณเพ่ือจัดการเปดทางเดินหายใจตามมาตรฐาน

(มีอุปกรณสํารองใช มีรถเตรียมอุปกรณสําหรับ

difficult intubation) มีทุกหองผาตัด

มี มี มี

-มี Fiberoptic bronchoscope สํารองใชสวนกลาง มี มี มี

-มีอุปกรณชวยฟนคืนชีพพรอมใช

(ยาชุด CPR วางไว 3 จุดไดแก PACU1, PACU2 และ

Supply)

มี มี มี

-มีเครื่องsuction ทุกหองผาตัด มี มี มี

-มีอุปกรณในการติดตามอาการผูปวย มี มี มี

-มีเครื่องเปาลมรอนอยางนอย 1เครื่องตอ 1หองผาตัด - มี มี

2. กระบวนการสําคัญ (Key Process)

กระบวนการสําคัญ ส่ิงท่ีคาดหวัง ความเส่ียงท่ีสําคัญ ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ

1. การเตรียมความ

พรอมของผูปวย

และการวางแผน

- มีการประเมินกอนเริ่มตน

ใหการระงับความรูสึก

สําหรับผูปวยแตละรายเพ่ือ

การคนหาและปองกัน

ความเส่ียงโดยผูมีคุณวุฒิ

และวางแผนการระงับ

ความรูสึกสําหรับผูปวยแต

ละราย

- มีการอธิบายประเด็นเรื่อง

ความเส่ียงภาวะแทรกซอน

ที่อาจเกิดขึ้นและทางเลือก

ในการระงับความรูสึก

ใหแกผูปวย ครอบครัว

หรือผูที่ตัดสินใจแทน

ผูปวย

-การเตรียมความพรอมของ

เครื่องมือ อุปกรณ และยา

โดยวางแผนปรึกษาภายใน

- ผูปวยไดรับการประเมิน

ไมครอบคลุมประเด็นที่

สําคัญ และกรณีรายที่

วินิจฉัยมีโรคซับซอน ไมได

รับการปรึกษาผูที่ชํานาญ

กวากอนการผาตัด

- ขาดพยานบุคคล

- เครื่องมือหรืออุปกรณมี

ปญหาขณะใหบริการ

- มีสถานการณไมเปนตาม

แผนที่วางไว

- อัตราผูปวยไดรับการตรวจเย่ียมและ

ประเมิน เพ่ือจัดแบงลําดับความสําคัญ

ตามความเส่ียง ASA กอนใหยาระงับ

ความรูสึก

- อัตราผูปวยหรือญาติผูปวยไดรับการ

ใหขอมูลกอนใหยาระงับความรูสึก

และลงช่ือยินยอมในใบ informed

consent

- อัตราการตรวจสอบเครื่องดมยาสลบ

และ monitor กอนใหบริการ

Page 7: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

7

กระบวนการสําคัญ ส่ิงท่ีคาดหวัง ความเส่ียงท่ีสําคัญ ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ

ทีมและผูชํานาญกวา

2. ใหการระงับ

ความรูสึก

- ผูปวยทุกรายไดรับการเฝา

ระวังระหวางใหยาระงับ

ความรูสึกตามมาตรฐาน

ASA

- มีการปฏิบัติตามแนว

ทางการใหบริการวิสัญญีที่

สําคัญ

-กระบวนการระงับ

ความรูสึกเปนไปอยาง

ราบรื่นและปลอดภัยตาม

มาตรฐานวิชาชีพและวาง

แผนการใหยาหรือเทคนิค

ระงับปวด

- บุคลากรไมปฏิบัติตาม

แนวทางที่กําหนด

-อัตราการติดตามและบันทึกขอมูล

ผูปวยระหวางระงับความรูสึก

-อัตราการเกิดอุบัติการณตางๆ

- จํานวนแนวทางปฏิบัติที่สําคัญ

- อัตราการเกิดอุบัติการณขณะระงับ

ความรูสึก

- ความสมบูรณของการบันทึก

3. การดูแลผูปวยใน

หองพักฟน(PACU)

ดูแลความปวด และ

นําสงผูปวยไปที่หอ

ผูปวย/กลับบาน

- ผูปวยไดรับการดูแลตาม

มาตรฐาน และไดรับการ

ดูแลความปวดที่เหมาะสม

-ไมไดรับการประเมินและ

ใหการดูแลที่เหมาะสม

-ภาวะแทรกซอนในหอง

พักฟน เชน desaturation,

ความปลอดภัยของผูปวย

ตกเตียง/ลม, Accidental

Extubation, Drug Error

เปนตน

-การสงตอขอมูลผิดพลาด

และไมครบถวน

- รอยละไดรับการดูแลตามมาตรฐาน

PACU

- รอยละผูปวยนอกไดรับการประเมิน

โดย PADS>9

- รอยละการรายงานแพทยกอนกลับ

ในผูปวยนอก

4. ตรวจเย่ียมผูปวย

หลังผาตัด 24 ชม.

เพ่ือติดตามการเกิด

ภาวะแทรกซอนที่

สําคัญ (Incident

Related to

Anesthesia)

- มีการติดตาม

ภาวะแทรกซอนที่เกิดจาก

บริการทางวิสัญญี

-บันทึกขอมูลการ

ใหบริการวิสัญญีอยาง

ครบถวน

- ผูปวยไดรับการดูแล

ตอเนื่องและพึงพอใจ

-ผูปวยรับทราบขอมูลการ

ปฏิบัติตัวกอนกลับบาน

- ประเมินและบันทึก

ภาวะแทรกซอนไดไม

ครบถวนทุกราย

- บันทึกไมครบถวน

คลาดเคล่ือน ทําใหการนํา

ขอมูลไปวิเคราะหผิดพลาด

- ความไมพึงพอใจการ

บริการ

- รอยละการเย่ียมผูปวยหลังใหบริการ

ระงับความรูสึก

- อัตราการเกิดภาวะแทรกซอนทาง

วิสัญญี(Incidents related to

Anesthesia)

-อัตราความพึงพอใจของผูปวยใน

บริการวิสัญญี

5. ใหบริการระงับ - ผูปวยไดรับทราบและมี - ผูปวยไดรับบริการไม - อัตราความพึงพอใจของผูปวยที่

Page 8: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

8

กระบวนการสําคัญ ส่ิงท่ีคาดหวัง ความเส่ียงท่ีสําคัญ ตัวช้ีวัดท่ีสําคัญ

ปวดโดยหนวย

ระงับปวด

สวนรวมในการเลือก

เทคนิคการระงับปวดกอน

ผาตัด

- ผูปวยไดรับเทคนิคการ

ระงับปวดอยางเหมาะสม มี

คุณภาพชีวิตที่ดีหลังผาตัด

- ผูปวยไดรับการประเมิน

อาการปวด(ตาม Pain

Score) เก่ียวกับระดับความ

รุนแรงและลักษณะความ

ปวดอยางตอเนื่อง

- มีทีมระงับปวดเปนผู

ใหบริการ สรางความม่ันใจ

ในการดูแล

ทั่วถึง

- ผูปวยไมไดรับการดูแล

ระงับปวดตามเกณฑที่

กําหนด

- มีภาวะแทรกซอนรุนแรง

จากเทคนิคการระงับปวด

ไดรับบริการ APS >85%

- อัตราผูปวยที่มีระดับความปวดมาก

(NRS>7) กอนสงกลับหอผูปวย

< 5%

-จํานวนผูปวยที่เกิดภาวะแทรกซอนที่

รุนแรง

3. ตัวช้ีวัดผลการดําเนินงาน (Performance Indicator)

ตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติงาน/การดําเนินงาน มี 3 ประเภท ไดแก

1. Process Indicator หมายถึง ตัวช้ีวัดกระบวนการดูแลผูปวยทางวิสัญญี

กระบวนการท่ีสําคัญ

(ตัวช้ีวัดผลการดําเนินงาน)

(รอยละ) ผลการดําเนินการ (พ.ศ.)

เปาหมาย 2550 2551 เม.ย.52-

มี.ค.53

1. การดูแลและประเมินกอนระงับความรูสึก

- รอยละผูปวยไดรับการตรวจเย่ียมและประเมินกอนใหยาระงับความรูสึก 100 100 100 100

- รอยละผูปวยไดรับการใหขอมูลกอนใหยาระงับความรูสึกและลงช่ือ

รับทราบในใบ informed consent

> 90 93.3 98 99.5

2. การดูแลขณะระงับความรูสึก

- รอยละบุคลากรผูใหบริการผานการอบรมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐานราช

วิทยาลัยวิสัญญีแพทยแหงประเทศไทย

100 100 100 100

- รอยละความสมบูรณของการบันทึก anesthetic record >80 90.3 90.9 83.7

3. การดูแลระยะพักฟน

- รอยละของผูปวยหลังผาตัดทีไ่ดรับการดูแลตามมาตรฐาน PACU 100 100 100 100

- รอยละผูปวยนอกไดรับการประเมินโดย PADS>9 100 100 100 100

- รอยละการรายงานแพทยกอนกลับในผูปวยนอก 100 100 100 100

4. การดูแลระยะหลังผาตัดเพื่อติดตามภาวะแทรกซอนและดูแลความปวดท่ี

หอผูปวย

Page 9: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

9

กระบวนการท่ีสําคัญ

(ตัวช้ีวัดผลการดําเนินงาน)

(รอยละ) ผลการดําเนินการ (พ.ศ.)

เปาหมาย 2550 2551 เม.ย.52-

มี.ค.53

- รอยละการเย่ียมผูปวยหลังใหบริการระงับความรูสึก 100 98 98 94

- รอยละผูปวยที่ไดรับบริการAPS - 0.1 0.1 0.05

- อัตราการเกิดอุบัติการณ (Incident related to anesthesia) - 3.6 2.6 2.7

- อัตราผูปวยที่มีระดับความปวดมาก (NRS>7) กอนสงกลับหอผูปวย < 5 5.7 5.6 4.8

2. Outcome Indicator หมายถึง ตัวช้ีวัดผลลัพธและภาวะแทรกซอนทางวิสัญญี ( Complication of Anesthesia) ที่

เกิดจากการใหบริการระงับความรูสึกตามกระบวนการจนเสร็จส้ินภายหลังการรับบริการ 24 ช่ัวโมง

ผลลัพธการดูแลผูปวยทางคลินิค (อัตราตอหมื่น)

รายการอุบัติการณ

ราชวิทยาลัยฯ

(THAI Study)

ผลการดําเนินงาน(อัตราตอหม่ืน)

(พ.ศ.)

พ.ศ.2548 พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 ตุลาคม 2552-

มีนาคม 2553

1. Cardiac arrest 30.8 13.7 20.2 26.4*

2. Death 28.3 21.6 18.1 19.1*

3. Aspiration 2.7 4.4 5.1 7.9*

4.Drug Error 1.3 15.9 9.0 9.2*

5. การติดตอส่ือสาร Non reported 13.0 10.4 6.6

6. Equipment malfunction/failure 3.4: 1.4 3.5 5.3*

7. Nerve injury 2 1.4 1.4 0.7

8.Desaturation 31.9 28.1 18.8 7.3

9. MI(suspected)/Ischemia 2.7 5.0 0.7 0

10. Difficult intubation 22.5 6.4 7.1 7.4

11. CVA (serious neuro complication) 4.8 0.7 0.0 0.7

12. ความปลอดภัยของผูปวย/ ตก/ ลม Non reported 0 0 0

13.Transfusion mismatch 0.2 0 1.4 0.7*

14..Reintubation 19.4 21.8 15.1 20.1*

15.Failed/ Inadequate block Non reported 453.4 450.5 321.1

16.Nausea/Vomiting(severe) Non reported 27.4 10.4 19.1*

17.Accidental extubation Non reported 10.4 3.8 6.3

18.Urinary retention Non reported 202.1 90.6 115.6

Page 10: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

10

หมายเหตุ : * เปนอุบัติการณที่กลุมบริหารความเส่ียงติดตามการพัฒนาคุณภาพอยางใกลชิด

3. Patient Perception Indicator หมายถึง ตัวช้ีวัดความเขาใจในการใหบริการ การมีสวนรวมในการเลือก

ทางเลือกทางวิสัญญีและความพึงพอใจของผูปวย

กระบวนการท่ีสําคัญ

(ตัวช้ีวัดผลการดําเนินงาน)

รอยละผลการดําเนินการ (พ.ศ.)

2550 2551 ต.ค.52-

มี.ค.53

- อัตราความพึงพอใจของผูปวยที่ไดรับบริการทางวิสัญญี (เปาหมาย > 85) NA 98 98

- อัตราความพึงพอใจของผูปวยตอบริการระงับปวด (เปาหมาย > 85) 98 98.6 97.6

ผลการดําเนินกิจกรรมคุณภาพไดแก

1) มีระบบประกันคุณภาพไดแกกลุม Pre-op, Intra-op, PACU, Post-op 24ชม.และ APS ซ่ึงมีกรรมการ (ดัง

เอกสารแนบทาย)ทําหนาที่ติดตามกํากับมาตรฐานการดูแลผูปวยตามกระบวนการ และกลุมงานสนับสนุนไดแกกลุม IC, IT,

เครื่องมือ, Supply, SHE, วัฒนธรรม และครูที่ปรึกษาทําหนาที่สนับสนุนใหเกิดกระบวนการระงับความรูสึกที่มีคุณภาพ

2) มีระบบการบริหารความเส่ียงทางคลินิกวิสัญญี ที่วิเคราะห วางแผนและแกปญหาอุบัติการณดวยเครื่องมือที่

สําคัญตางๆเชน Root cause analysis from incidenceใน Mortality & Morbidity Conferences โดยกรรมการความเส่ียงของ

ภาคฯซ่ึงติดตามอุบัติการณทางวิสัญญีและประสานงานการแกปญหาผานทางกลุมงานหรือ PCTตางๆ มีการนําแนวทาง

ปฏิบัติมาทบทวนและปรับปรุง

3) มีแผนดําเนินการพัฒนาคุณภาพงานอยางตอเนื่อง (ดังเอกสารแนบทาย) เชนใชเทคนิค Lean เพ่ือการพัฒนาการ

ใชยาทางวิสัญญี เพ่ือควบคุมการใชยาเกินจําเปนเปนตน

4) มีทีมผูรับผิดชอบงานทางคลินิกเฉพาะทางมากขึ้นเพ่ื อดูแลกลุมผูปวยที่มีความยากและซับซอนเชน ทีมระงับ

ความรูสึกผูปวยปลูกถายอวัยวะ มีการจัดทําแนวทางปฏิบัติ มีการทบทวนและปรับใชอยางเหมาะสมและทันสมัย เชน แนว

ทางการระงับความรูสึกผูปวยผาตัดเปล่ียนไต (มีการทบทวนและปรับปรุงแลวจํานวน 3 ครั้ง) อยูระหวางวางแผนจัดทําแนว

ทางการระงับความรูสึกผูปวยผาตัดเปล่ียนตับ

5) นําแนวคิด R2R มาใชทบทวนและพัฒนางานประจําอยูเสมอ ไดมีการนําเสนอผลงานในงานประชุมของ

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและภาคี และไดรับรางวัล R2R ดีเดน ระดับตติยภูมิ ในป 2551 จํานวน 2 เรื่องไดแก การ

บริหารจัดการขอมูลผูปวยของ APS เพ่ือสนับสนุนวิชาการและการวิจัย(ทีม APS) และการประดิษฐวงจรวางยาสลบเพ่ือใช

ในงานวิสัญญีประจําวันนั้น(ทีม วงจร CCX) ในป 2552ไดรับทุนสนับสนุนจํานวน 3 เรื่อง และอยูระหวางดําเนินกิจกรรม

ไดแก การลดอุบัติการณความผิดพลาดในการใหยาทางวิสัญญี การลดการสูญหายของอุปกรณทางวิสัญญี และการ

ประดิษฐหมอนรองแขนในการผาตัดกระดูกสันหลังทาควํ่า เปนตน และที่ผานมาในป 2553 มีผลงานที่กําลังดําเนินการ

ไดแก การวิจัยสถาบัน เรื่องการศึกษาอุบัติการณความเส่ียงรุนแรงของงานบริการวิสัญญี ระหวางป 2547 – 2551 และการ

ลดอุบัติการณการเกิดภาวะ Aspiration เปนตน (ดังเอกสารแนบทาย)

6) มีการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูเปนประจําโดยจัดการประชุมเดือนละ 4 ครั้ง โดยนําผลลัพธดานการดูแลผูปวย

และดานงานสนับสนุนอ่ืนๆเขาหารือ มีบุคลากรผูเขารวมแลกเปล่ียนทุกระดับ

7) ประเมินกิจกรรมบริการโดยใชแนวคิด Safe anesthesia จาก SIMPLE ใน Patient Safety Goals & Solutions

(Thai Patient Safety Goals ของ สรพ.)

Page 11: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

11

8) ประชาสัมพันธแนวทางการใหบริการทางวิสัญญีวิทยา ของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทยแหงประเทศไทย เปน

แนวทางในการปฏิบัติทางวิชาชีพ ไดแก

- แนวทางในการใหยาระงับความรูสึก (รวมทั้งหมด)

- แนวทางในการใหบริการทางวิสัญญีวิทยา

- แนวทางในการใหยาระงับความรูสึกเฉพาะสวนเพ่ือการคลอด

- แนวปฏิบัติในการทํา Spinal Anesthesia

- แนวปฏิบัติในการทํา Conscious Sedation

- การประเมินผูปวยกอนใหยาระงับความรูสึก

- แนวทางเวชปฏิบัติเรื่อง การใสทอหายใจในกรณีฉุกเฉิน

- แนวปฏิบัติในการทํา Spinal Anesthesia ใหม มี.ค. 48

- แนวปฏิบัติสําหรับการดูแลผูปวย Malignant Hyperthermia

- แนวปฏิบัติในการเบิกยา dantrolene สําหรับ Malignant Hyperthermia

8) ทบทวนแนวทางปฏิบัติในภาคฯ(รายการแนวทางปฏิบัติดังเอกสารแนบทาย)

4.2 การพัฒนาคุณภาพท่ีอยูระหวางดําเนินการ

- จัดตั้ง PCT(ดังเอกสารแนบทาย) เพ่ิมเติมจากกลุมประกันคุณภาพเพ่ือประสานกับ CLTตางๆในการจัดการความ

เส่ียงที่สําคัญดานคลินิกมากขึ้น เชน PCT ศัลยกรรม, สูติ-นรีเวช, ออรโธปดิกส หรือศัลยกรรมเด็กเปนตน โดยเนนการดูแล

ผูปวยภายใตกรอบแนวคิด Patient Safety: SIMPLE (Safe Surgery) ใหเกิดผลลัพธที่เปนรูปธรรมมากขึ้น

- ติดตามการควบคุมการประกันกระบวนการดูแลทางคลินิกโดยผานกรรมการ HA ซ่ึงประกอบดวยหัวหนากลุม

ตางๆ รวมหารือทุก 2 เดือนเพ่ือรวมมือกันประสานงานคุณภาพ

- วางแผนพัฒนาระบบยา

- วางแผนพัฒนาระบบการใชทรัพยากรตางๆอยางคุมคา คุมทุน

5. แผนพัฒนาตอเนื่อง

- เพ่ิมจํานวนกิจกรรม/โครงการที่มีการใช R2Rและ Lean เปนเครื่องมือชวยในการพัฒนาคุณภาพเพ่ือ ยกระดับ

การแกปญหางานประจํา

- พัฒนาบุคลากรใหสามารถใชระบบสารสนเทศเปนเครื่องมือเรียนรูมากขึ้นในทุกระดับ

- พัฒนารูปแบบการจัดการความรูใหมีความชัดเจนมากขึ้น โดยบูรณาการเขากับอุบัติการณทางคลินิกที่ยังมี

แนวโนมสูง เชน Aspiration, Drug Error เปนตน

- พัฒนาทรัพยากรบุคคลเพ่ือรองรับความกาวหนาทางเทคโนโลยีตางๆในผาตัด เชนทีมระงับความรูสึกผูปวยทํา

ผาตัด Liver Transplantation โดยถายทอดความรูและประสบการณ พรอมทั้งเปนพ่ีเล้ียงใหบุคลากรอ่ืนในทีม และจัดทํา

แนวทางการผาตัดการระงับความรูสึกผูปวยผาตัดเปล่ียนตับ

- พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหกาวหนาทางวิชาชีพ

Page 12: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

12

เอกสารแนบ (1)

โครงการพัฒนาคุณภาพ ป 2551-2552

1. โครงการการหาปริมาณกาซที่เหมาะสมตอการใชงานทางคลินิกสําหรับวงจรวางยาสลบเด็ก ชนิด Baby EAR

2. การสรางแนวทางการปองกันการลืมผาซับโลหิต (gauze packing) ในชองปากหลังเสร็จผาตัด

3. โครงการลดอุบัติการณและศึกษาปจจัยที่ทําใหเกิดภาวะ re-intubation

4. โครงการสรางแนวทางตนแบบในการบริหารจัดการภาวะการใหเลือดและสวนประกอบของเลือดปริมาณมาก

(Massive transfusion protocol)

5. ลดอุบัติการณการฉีดยาผิดพลาดทางวิสัญญี ( Decrease Drug Error in Anesthesia)

6. การติดตามความเส่ียงของผูปวยงานบริการวิสัญญี

7. โครงการการดูแลผูปวยเด็ก ( OPD CASE ) ที่มารับการทําหัตถการภายใตการระงับ ความรูสึกแบบองครวม

โดยสหสาขาวิชาชีพ

Page 13: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

13

1.ช่ือเรื่อง การหาปริมาณกาซท่ีเหมาะสมตอการใชงานทางคลินิกสําหรับวงจรวางยาสลบเด็ก ชนิด Baby EAR

รายละเอียดกิจกรรม Baby EAR เปนวงจรวางยาสลบแบบใหมที่ประดิษฐเพ่ือใชในผูปวยเด็ก ทําขึ้นจากวัสดุที่หางาย ราคา

ถูกสอดคลองกับแนวพระราชดําริเรื่องเศรษฐกิจแบบพอเพียง สามารถชวยลดงบประมาณในการซ้ือวงจรวางยาสลบที่มี

ราคาแพงจากตางประเทศได เปนการศึกษาการใชวงจร Baby EAR ในการวางยาสลบผูปวยเด็กในรพ.ศรีนครินทรเพ่ือดู

ประสิทธิภาพในการใชงานทางคลินิกและศึกษาหาปริมาณ fresh gas flow ที่เหมาะสม นํามาซ่ึงรูปแบบใหมของการใชงาน

ที่ประหยัดและปลอดภัย

วัสดุและวิธีการ : เปนการศึกษาแบบพรรณนา โดยใชวงจร Baby EAR วางยาสลบแบบควบคุมการหายใจในผูปวยเด็ก

น้ําหนักตัว 5-20 กก. บันทึกคา end-tidal carbon dioxide (EtCO2) และ mean inspiratory carbon dioxide (ImCO2) ขณะใช

fresh gas flow ขนาด 3, 2.5, 2, 1.5 ลิตรตอนาที คา EtCO2 และ ImCO2 ที่ยอมรับไดทางคลินิกคือ 35-45 มม.ปรอท และ <6

มม.ปรอท ตามลําดับ คํานวณคาทางสถิติและนําเสนอในรูป คาเฉล่ีย รอยละ และ 95% CI (95% confidence interval)

ผลการศึกษา: ผูปวยเขารวมการศึกษาจํานวน 50 ราย พบวาคาเฉล่ีย (95% CI) ของ EtCO2 เม่ือใช fresh gas flow 1.5, 2, 2.5

และ 3 ลิตรตอนาที เทากับ 39.6 (39.2, 40.9) 36.7 (35.5, 37.8), 35.4 (34.3, 36.4) และ 35.4 (34.3, 36.4) มม.ปรอท ตามลําดับ

และคาเฉล่ีย (95% CI) ของ ImCO2 เม่ือใช fresh gas flow 1.5, 2, 2.5 และ 3 ลิตรตอนาที เทากับ 4.0 (3.0, 4.9), 2.4 (1.7, 3.0),

1.8 (0.9, 2.6) และ 1.3 (0.9, 1.7) มม.ปรอท ตามลําดับโดยรอยละ (95% CI) ของผูปวยที่มีคา EtCO2 อยูในคาที่ยอมรับไดเม่ือ

ใช fresh gas flow 1.5, 2, 2.5 และ 3 ลิตรตอนาที ไดแก 70% (56.2, 80.9), 92% (81.2, 96.8), 98% (89.5, 99.6) และ 100%

(92.9, 100) ตามลําดับ และไมมีผูปวยเกิดภาวะแทรกซอนจากการใชวงจรดังกลาว

สรุป: วงจร Baby EAR เปนนวัตกรรมตามแนวเศรษฐกิจแบบพอเพียงและสามารถใชในการวางยาสลบแบบควบคุมการ

หายใจในผูปวยเด็กที่น้ําหนักตัวระหวาง 5 ถึง 20 กก. ไดอยางปลอดภัย โดยคา fresh gas flow ที่เหมาะสม คือ 3 ลิตรตอนาที

ตีพิมพเผยแพรใน J Med Assoc Thai Vol. 92 No. 5 2009

สนับสนุนดัชนีช้ีวัดหลักตามยุทธศาสตรของคณะหรือ กพร. ที ่ 2.01.06.01

2.ช่ือเรื่อง : การสรางแนวทางการปองกันการลืมผาซับโลหิต (gauze packing) ในชองปากหลังเสร็จผาตัด

รายละเอียดกิจกรรม จากการรวบรวมสถิติอุบัติการณและ morbid and mortality conference ปญหาดานการติดตอส่ือสาร

ของภาควิชาวิสัญญีวิทยา ตั้งแตเดือน ตุลาคม 2550 ถึง มิถุนายน 2551 พบวามีอุบัติการณการลืมผาซับโลหิต (gauze

packing) ในชองปากหลังเสร็จผาตัด (ผาตัดแกไขเพดานโหว) 2 ราย ทําใหเกิดภาวะ desaturation และ hypoxia ตามมาซ่ึง

ผลเสียหายรุนแรงมาก ทางกลุมบริหารความเส่ียงภาควิชาวิสัญญีวิทยา เห็นวาควรมีการรวมกันสรางแนวทางเพ่ือปองกัน

ไมใหเกิดอุบัติการณที่มีความเส่ียงสูงนี้ซํ้าอีก จึงมีการประสานงานและรวมมือกันในทีมสหสาขาซ่ึงจะตอง ประกอบดวย

ทีมวิสัญญี, พยาบาลหองผาตัด และศัลยแพทยสาขาการตกแตงและเสริมสราง (plastic surgery) และรวมกันจัดทําแนวทาง

ดังกลาว

วิธีดําเนินการ : มีการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือทั้งหมด 6 ครั้ง

1. ประชุมกลุมยอย (กลุมบริหารความเส่ียงของภาควิชาวิสัญญีฯ) โดยรวบรวมขอมูลและรายละเอียด รวมทั้งขอเอกสาร

“ มาตรฐานการปองกันส่ิงตกคางในแผลผาตัด พ.ศ. 2546 ” จากพยาบาลหองผาตัดมาประกอบการพิจารณารวมดวย

2. สมาชิกและอาจารยที่ปรึกษาประจําโครงการ (กลุมของภาควิชาวิสัญญีฯ) ประชุมรวมกันจัดทําแบบจําลองแนว

ทางการปองกันการลืมผาซับโลหิตในชองปากหลังเสร็จผาตัด (flow chart)

Page 14: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

14

3. นัดประชุมบุคลากรในทีมสหสาขาที่เก่ียวของ รวมกันแสดงความคิดเห็นและใหขอเสนอแนะ เพ่ือปรับปรุง flow

chart : แนวทางการปองกันการลืมผาซับโลหิตในชองปากหลังเสร็จผาตัดใหเปนที่ยอมรับในการปฏิบัติของทุกฝายใน

ทีมสหสาขา

4. นําเสนอ flow chart CLT : แนวทางการปองกันการลืมผาซับโลหิตในชองปากหลังเสร็จผาตัดที่ปรับปรุงเรียบรอย

แลว เสนอใหที่ประชุมภาควิชาฯ รับทราบ

5. ประกาศใชแนวทางนี้ในที่ประชุมรวมของภาควิชาฯ (ช่ัวโมงประชุมวิชาการ) และแจงพยาบาลหองผาตัดที่เก่ียวของ

(หองผาตัด 7 และ 8 ) และกลุมบริหารความเส่ียงของหองผาตัดรับทราบแนวทางนี้เพ่ือนําไปปฏิบัติรวมกัน

6. เฝาระวังและติดตามการเกิดอุบัติการณ การลืมผาซับโลหิตในชองปากหลังเสร็จผาตัด หลังจากประกาศใชแนวทางฯ

แลว

ผลลัพธท่ีเดน

1. มีแนวทางการปองกันการลืมผาซับโลหิต (gauze packing) ในชองปากหลังเสร็จผาตัดและเริ่มนํามาใชงานจริง

เดือน มกราคม 2552

2. มีการเก็บบันทึกขอมูล (การปฏิบัติตามแนวทาง) โดยพยาบาลหองผาตัดและทีมวิสัญญีที่ปฏิบัติงานในหองผาตัด 7

และ 8 มีการติดตามอุบัติการณการลืมผาซับโลหิตในชองปากหลังเสร็จผาตัด โดยตั้งเปาประสงคการเกิด

อุบัติการณเปนรอยละ 0 มีการติดตามอุบัติการณภายหลังนําแนวทางสูการปฏิบัติถึง มิถุนายน 2552 พบวาไมมี

การเกิดอุบัติการณรุนแรงดังกลาว

3. บุคลากรมีการประสานการทํางานระหวางหนวยงานไดแก บุคลากรทีมวิสัญญี, พยาบาลหองผาตัดที่ปฏิบัติงานใน

หองผาตัด 7 และ 8 และศัลยแพทยสาขาศัลยกรรมตกแตง ทําใหเกิดมิตรภาพและเสริมสรางปฏิบัติตามแนวทางที่

สรางขึ้นไดถูกตอง

สนับสนุนดัชนีช้ีวัดหลักตามยุทธศาสตรของคณะหรือ กพร. ที ่ 3.01.02.01

3.ช่ือเรื่อง : โครงการลดอุบัติการณและศึกษาปจจัยท่ีทําใหเกิดภาวะ re-intubation

รายละเอียดกิจกรรม : ภาวะ re-intubation หมายถึง ภาวะที่ใสทอชวยหายใจซํ้าภายใน 24 ช่ัวโมง หลังการถอดทอชวย

หายใจที่ใสระหวางการใหยาระงับความรูสึกโดยไมนับรวมที่มีสาเหตุจาก accidental extubation เปนภาวะที่ผูปวยตองเส่ียง

ตอการไดรับอันตรายตางๆ ที่สามารถปองกันหรือหลีกเล่ียง ปพ.ศ.2547 มีภาวะ re-intubation เกิดขึ้น โดยพบในอัตรา

47.3:10,000 ราย กลุมงานบริหารความเส่ียงภาควิชาวิสัญญีวิทยาไดกําหนดแนวทางการถอด /คาทอชวยหายใจขึ้น นํา

แนวทางมาปฏิบัติ ปรับปรุงใหชัดเจน งายตอการปฏิบัต ิปรึกษาปญหาที่เกิดและหาแนวทางแกไขรวมกันประจํา สํารวจและ

ติดตามการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัต ิและความเส่ียงเปนประจําทุกวัน ผลลัพธการติดตามอุบัติการณป พ.ศ.2548 พบวา

ลดลงเปน 13.8:10,000 ราย(ลดลง 66.5%) ทางกลุมไดทบทวนแนวทางปฏิบัติและติดตามอุบัติการณเพ่ือวิเคราะหหาสาเหตุ

ผลกระทบตอผูปวย หาปจจัยที่ทําใหเกิด เพ่ือลดอุบัติการณอยางใกลชิด ในชวงเดือน มกราคม พ.ศ. 2550-พฤษภาคม พ.ศ.

2552

ผลลัพธท่ีดีเดน

1. พบอุบัติการณการใสทอชวยหายใจซํ้าลดลงมาก( มกราคม 2550-พฤษภาคม 2552) อยูในเกณฑนาพึงพอใจเม่ือเทียบ

กับตัวช้ีวัดที่ตั้งไว (<20 : 10,000 ราย/ป)เปนการลดความเส่ียงถึงชีวิตของผูปวย โดยพบในอัตรา 17.0/10,000 ราย/ป

12.1 :10,000ราย/ป 12.6:10,000 (ราย/6 เดือน) ตามลําดับ

2. สรางช่ือเสียงใหกับองคกรที่ตนเองปฏิบัติงานประจําและคณะแพทยศาสตร

Page 15: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

15

ผลงานไดรับการคัดเลือกใหเผยแพรในงาน Northeast HA form ครั้งท่ี 6 ขอนแกน

สนับสนุนดัชนีช้ีวัดหลักตามยุทธศาสตรของคณะ ที่ 3.01.02.08

4.ช่ือเรื่อง : โครงการสรางแนวทางตนแบบในการบริหารจัดการภาวการณใหเลือดและสวนประกอบของเลือดปริมาณมาก

(Massive transfusion protocol)

รายละเอียดกิจกรรม : เนื่องจากปญหาภาวะตกเลือดที่เกิดจากการมีเลือดออกอยางรุนแรงและเฉียบพลัน เปนสาเหตุสําคัญ

ของภาวะหัวใจหยุดเตนในหองผาตัดหรือหองคลอด จําเปนตองใหเลือดและสวนประกอบของเลือดทดแทนปริมาณมาก

(massive transfusion) ในสถานการณฉุกเฉินเพ่ือชวยกูชีพผูปวย ซ่ึงตองอาศัยการประสานงาน, ความรวมมือ และระบบการ

บริหารจัดการที่ดีในทีมสหสาขาวิชาชีพทุกภาคสวนที่เก่ียวของ (ภายในโรงพยาบาล) ระหวางวิสัญญีแพทย, ศัลยแพทย, ทีม

บุคลากรในหองผาตัด, หองคลอด, แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน และคลังเลือดกลาง จึงไดชวยกันรางแนวทางตนแบบในการ

บริหารจัดการภาวะการใหเลือดและสวนประกอบของเลือดปริมาณมาก (massive transfusion protocol) กอนจะนํามาปรับ

ใช มีการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือทั้งหมด 5 ครั้ง

• รวมกันทบทวนความสําคัญของปญหา พิจารณาขั้นตอนและรูปแบบการสรางแนวทางการบริหารจัดการภาวะการ

ใหเลือดและสวนประกอบของเลือดปริมาณมาก (Massive transfusion protocol)

• ศึกษาและสังเคราะหงานวิจัยที่เก่ียวของกับการคนหาผูปวยกลุมเส่ียงของภาวะเลือดออกซ่ึงพบวา แผนกที่มีความ

เส่ียงที่จะเกิด massive hemorrhage มากที่สุดไดแก แผนกศัลยกรรมอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน และแผนกสูติกรรม

• มีการรางแผนภูมิแนวทางปฏิบัติในกรณีจําเปนตองใช Massive transfusion protocol (MTP) และประชุม

ปรึกษาหารือเพ่ือจัดเตรียมความพรอม ณ จุดเกิดเหตุทั้งในตึกผูปวย, แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน, หองผาตัด และหอง

คลอดและสรุปแผนผังการปฏิบัติงานตามแนวทางตนแบบการใหเลือดและสวนประกอบของเลือดปริมาณมาก

ผลลัพธท่ีเดน : ไดแนวทางตนแบบในการบริหารจัดการภาวะการใหเลือดและสวนประกอบของเลือดปริมาณมาก (Massive

transfusion protocol) และถือปฏิบัติรวมกัน

สนับสนุนดัชนีช้ีวัดหลักตามยุทธศาสตรของคณะ ที่ 3.01.02.08

5. ช่ือเรื่อง : ลดอุบัติการณการฉีดยาผิดพลาดทางวิสัญญี ( Decrease Drug Error in Anesthesia)

รายละเอียดกิจกรรม สถิติอุบัติการณความคลาดเคล่ือนของการใหยาทางวิสัญญีในป 2546, 2547 และ 2548 พบอุบัติการณ

ความผิดพลาด 12.3, 19.8 และ28 ตอ 10,000 รายผูปวย ตามลําดับ(รายงานสถิติงานบริการ, 2546-2548) ซ่ึงมีแนวโนมสูงขึ้น

อยางมากได ระดมสมองหาวิธีการ จัดการความรูและคนควาหาความรูเพ่ิมเติม นํามาตรฐานสติ๊กเกอรยาทางวิสัญญีจาก

STATEMENT ON THE LABELING OF PHARMACEUTICALS FOR USE IN ANESTHESIOLOGY (Approved by

ASA House of Delegates on October 27, 2004) และ ASTM International standard D4774, Standard Specifications for

User Applied Drug Labels in Anesthesiology. มาดัดแปลง ประชุมแลกเปล่ียนเรียนรูกับผูทรงคุณวุฒิภายนอกเพ่ือ

แลกเปล่ียนมุมมอง ประชาสัมพันธโดยใชบอรดและwebsite

ผลลัพธท่ีเดน

1) มีมาตรฐานการเตรียมยาและแนวทางปองกันการฉีดยาผิดพลาดที่เปนปจจุบัน เปนการกระตุนทําใหบุคลากร

จํานวนมากและหลายระดับในหนวยงานสามารถปฏิบัติในแนวทางเดียวกันได งายตอการทํางานในทีม ลด

ระยะเวลาการจัดเตรียมยา และลดอัตราความผิดพลาดการใหยาจนเกิดอันตราย

Page 16: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

16

2) มีทีมผูรับผิดชอบติดตามอุบัติการณอยางใกลชิด การรวมกันหาสาเหตุเชิงลึกในทุกรายอยางมีเทคนิค ทําใหทราบ

สาเหตุไดไว ชวยปองกันการเกิดอุบัติการณซํ้าจากสาเหตุเดิม

3) สติ๊กเกอรสีที่จัดทําโดยดัดแปลงจากมาตรฐานASA สรางความนาเช่ือถือใหกับผูใช ทําใหมีความเช่ือม่ันในการ

ปฏิบัติตาม ซ่ึงทําใหการเตรียมและฉีดยางายและสะดวกขึ้น

4) การจัดทํารูปแบบสติ๊กเกอรสีเปนแบบอยางที่ดีแกผูที่เขารับการอบรมและดูงานวิสัญญี สรางช่ือเสียงและความ

ภาคภูมิใจแกสมาชิกในองคกร เผยแพรสูสาธารณชน ในwebsite http://gotoknow.org/blog/drugerroranes

นําเสนอเผยแพรในบทคัดยอ งาน การประชุม R2R แหงชาติ ครั้งท่ี 2 16-17 ก.ค. 2552 และ

http://gotoknow.org/blog/drugerroranes

สนับสนุนดัชนีช้ีวัดหลักตามยุทธศาสตรของคณะ ที่ 3.01.02.08

6.ช่ือเรื่อง: การติดตามความเส่ียงของผูปวยงานบริการวิสัญญ ี

รายละเอียดกิจกรรม ติดตามคนหาความเส่ียงที่เกิดกับผูปวยที่มารับบริการวิสัญญีทุกราย มีการติดตามการลงบันทึกใน

anesthetic record ใหถูกตอง (Audit risk) ตามชวงเวลาที่เกิด(ในหองผาตัด หองพักฟน หลังผาตัดที่หอผูปวย) ติดตามการ

บันทึกรายงานอุบัติการณความเส่ียงที่รุนแรงใหรวดเร็ว ถูกตอง สงกรรมการบริหารความเส่ียงของ รพ.ตามลําดับ

ความสําคัญที่กําหนด นําความเส่ียงที่เกิดกับผูปวยมาแลกเปล่ียนเรียนรูใน M&M Conference (เดือนละ 2 ครั้ง)เพ่ือคนหา

ปญหา บันทึกปญหา จัดหาแนวทางปองกัน และลดความเส่ียงนั้นๆเพ่ือลดอุบัติการณที่อาจเปนอันตรายตอผูปวย และ

ปรับปรุง-พัฒนา Program Risk (เปนโปรแกรมAccess) เพ่ือบันทึกอุบัติการณที่เกิด รวมทั้งขอเสนอจาก M&M conference

ลง computer

ผลลัพธท่ีเดน

- ผลลัพธการตรวจสอบการลงบันทึกของพยาบาล post-op visit(ก.พ. 52)

- มีการจัดทํา M&M conference อยางสมํ่าเสมอจนเปนวัฒนธรรมการเรียนรูรวมกันในทุกระดับที่เก่ียวของ

- มีการทบทวน Guideline practice เชน แนวทางการใหเลือด, แนวทางการเตรียมยา และแนวทางการถอด/คาทอ

ชวยหายใจ

- การติดตามดัชนีช้ีวัดคุณภาพงานบริการวิสัญญีจาก Patient Safety Goals ไดแก Drug Error, การติดตอส่ือสาร,

Reintubation, บริการคลาดเคล่ือนทางวิสัญญี และ Cardiac arrest ซ่ึงทุกกลุมงานมีความกาวหนาในการพัฒนา

งาน

สนับสนุนดัชนีช้ีวัดหลักตามยุทธศาสตรของคณะหรือ กพร. ที่ 3.01.02.08

7. ช่ือเรื่อง ; โครงการการดูแลผูปวยเด็ก( OPD CASE)ท่ีมารับการทําหัตถการภายใตการระงับความรูสึกแบบองครวม

โดยสหสาขาวิชาชีพ

รายละเอียดกิจกรรม จากการใหบริการวิสัญญีแกผูปวยนอกที่ผานมาของภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน ในจํานวนผูปวยนอกที่มารับบริการในป 2550 , 2551 มีผูปวยเด็กที่มารับการทํา MRI จํานวน 66 คน

และ 71 คน คิดเปนรอยละ 20 และ 29 ตามลําดับ และแผนกศัลยกรรมเด็ก จํานวน 57 คน และ 47 คน คิดเปนรอยละ17

และ 19.4 ตามลําดับ ในการปฏิบัติงานที่ผานมา กระบวนการใหบริการดูแลผูปวยเด็กที่มาทําการผาตัดแบบผูปวยนอก

เริ่มตนจากหองตรวจ (OPD) หอง MRI (ในกรณีไดรับการการระงับความรูสึก) หองผาตัด หองพักฟน จากการปฏิบัติงานที่

ผานมาพบวาผูปกครองและผูปวยเด็กยังขาดความรูและความเขาใจในการปฏิบัติตัวกอนและหลังการผาตัดและมีความวิตก

Page 17: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

17

กังวลเก่ียวกับกระบวนการระงับความรูสึก การปฏิบัติตัวหลังการใหการระงับความรูสึกและการผาตัด เชน ผูปกครอง

ไมใหเด็กงดน้ํางดอาหาร ซ่ึงทําใหตองเล่ือนการตรวจและการวางยาสลบ และจะไดรับคําถามจากผูปกครองของผูปวยอยู

เปนประจําเม่ือผูปวยมารับการดูแลตอที่หองพักฟน ทางกลุมพัฒนาคุณภาพหองพักฟนจึงมีแนวคิดที่จะทําโครงการเพ่ือให

ผูปกครองและผูปวยเด็กที่มาทําการผาตัดแบบผูปวยนอกแบบสหสาขาโดยมีความตอเนื่องของการปฏิบัติงานเพ่ือใหการ

บริการที่ดีมีประสิทธิภาพสูงสุด และผูปกครองและเด็กมีความพึงพอใจ

กิจกรรม ทําโครงการพัฒนางานสหสาขาเนนการใหขอมูลผูรับบริการและคนหาความเส่ียงกอนการใหการระงับความรูสึก

โดยมีการดําเนินการคือ

1. มีการประชุมรวมกันระหวางหนวยงานคือภาควิชาวิสัญญีวิทยา, MRI, OPD ศัลยกรรมเด็ก

2.คนหาปญหาจากการปฏิบัติงานที่ผานมาพบวาการใหขอมูลแตละจุดจะเปนคนใหขอมูลในสวนที่ตนเองรับผิดชอบ

วิสัญญีจะไมไดพบผูปวยกอนเพ่ือวางแผนใหการระงับความรูสึก แตจะพบผูปวยครั้งเดียวคือหนาหอง ในวันที่มารับการทํา

หัตถการ

3.มีการใหขอมูลโดยมีการเช่ือมโยงกัน และจัดทําแบบตรวจสอบการใหขอมูลของแตละหนวยงานในใบเดียวกัน

4.ภาควิชาวิสัญญีจะมีการจัดตั้ง OPD วิสัญญี เพ่ือประเมินผูปวยเด็ก( OPD CASE ) ที่จะมารับการทําหัตถการภายใต

การระงับความรูสึก

5.ผูปวยเด็กที่นัดผาตัดจาก OPD แลวจะสงมาพบพยาบาลหองผาตัดเพ่ือรับคําแนะนําการปฏิบัติตัวกอนมาผาตัด และ

จะสงพบวิสัญญีพยาบาลและแพทยประจําบานวิสัญญี เพ่ือทําการประเมิน และตรวจรางกายเพ่ือคนหาความเส่ียงกอนการ

ระงับความรูสึก

6.ผูปวยเด็กที่นัด MRI แลว ถาตองการระงับความรูสึก กอนกลับบานจะสงพบวิสัญญีพยาบาลและแพทยประจําบาน

วิสัญญี เพ่ือทําการประเมิน และตรวจรางกายเพ่ือคนหาความเส่ียงกอนการระงับความรูสึก

7.มีการจัดทํา Work instruction การปฏิบัติงานเพ่ือนําเสนอผูอํานวยการโรงพยาบาลอนุมัติ กอนจะนําไปใช ซ่ึงกําลัง

ดําเนินการ

ระยะเวลาดําเนินการ

ระยะที่ 1 มกราคม 2552 – กันยายน 2552

ระยะที่ 2 ตุลาคม 2552 – กันยายน 2553

ผลลัพธท่ีเดน

ผลที่คาดวาจะไดรับคือ

1. ผูปวยและญาติไดรับขอมูลครบถวนกอนมารับการทําหัตถการและการระงับความรูสึก

2. ผูปวยมีความปลอดภัยจากการใหการระงับความรูสึก

3. ผูปวยและญาติมีความพึงพอใจในการใหบริการ

Page 18: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

18

เอกสารแนบ (2)

รายการ แนวทางปฏิบัติในการระงับความรูสึก

การปฏิบัติการบริการระงับความรูสึกในโรงพยาบาลศรีนครินทรมีผูใหบริการจํานวนมาก โดยในป 2552 มี

วิสัญญีแพทย 15 คน วิสัญญีพยาบาล 51 คน เปนผูใหบริการหลักและดวยภารกิจที่ดําเนินการเพ่ือตอบสนองพันธกิจของ

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนมีทั้งดานบริการ ดานการเรียนการสอน และการวิจัย อีกทั้งภารกิจของโรงพยาบาล

ศรีนครินทรนั้นตองเปนโรงพยาบาลที่ผานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จึงทําใหการปฏิบัติงานบริการตองมีมาตรฐาน

การทํางานที่ชัดเจน อันเปนแนวทางปฏิบัติภายในหนวยงานเพ่ือใหผูปวยไดรับความปลอดภัยจากบริการระงับความรูสึก

ภายใตการกํากับดูแลการเรียนการสอนภาคปฏิบัติซ่ึงจําเปนตองฝกทักษะแกผูเขาอบรมที่เหมาะสม แนวทางปฏิบัติงานจึงมี

ความสําคัญในการใชเปนแนวทางการทํางานที่มีความซับซอนอันอาจเกิดอันตรายตอผูปวยได แนวทางปฏิบัติในการ

ประเมินผูปวยและวางแผนลวงหนาสําหรับการผาตัดกรณีรายผูปวยยากมากหรือซับซอนมากมีการดําเนินการรวมกันใน

ระบบการปรึกษาโดยทีมสหสาขาวิชาที่เก่ียวของและมีการปรึกษาผูชํานาญกวา

ในเบื้องตนคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการวิสัญญีไดรวบรวมแนวทางปฏิบัติงานขั้นพ้ืนฐานในกระบวนการ

ดูแลผูปวยโดยพยายามแยกแยะแนวทางปฏิบัติตางๆใหสอดรับกับกิจกรรม ดังนี ้

1. แนวทางปฏิบัติในการประเมินผูปวยและวางแผนลวงหนาสําหรับการระงับความรูสึก ไดแก

1) ขั้นตอนการใหบริการระงับความรูสึก

2) ขั้นตอนการปฏิบัติงานการใหบริการระงับความรูสึก

3) แนวทางการใหบริการวิสัญญีวิทยา

4) Care map เรื่องแนวทางการปฏิบัติตัวในผูปวยที่มารับการบริการวิสัญญี

5) มาตรฐานการใหบริการวางยาสลบ

6) ระเบียบการตรวจเย่ียมผูปวยกอนผาตัด และ แบบบันทึกขอมูลผูปวยกอนผาตัด

7) คูมือ guideline pre-operative advice

8) แนวทางปฏิบัติในการ Informed consent

9) การเตรียมผูปวยเพ่ือเขารับการผาตัดฉุกเฉิน

10) แนวทางรับปรึกษาปญหาผูปวยระหวางหนวยงาน

11) แนวทางการยืมวัสดุอุปกรณการแพทยระหวางหนวยงาน

2. แนวทางปฏิบัติในการปองกันอันตรายและผลแทรกซอนจากการผาตัด เก่ียวกับ

2.1 การติดเช้ือ ไดแกการจัดใหมี

1) แนวทางการทิ้งขยะ

2) การปฏิบัติตัวเม่ือสัมผัสเลือดหรือสารคัดหล่ังของผูปวย สําหรับบุคลากรในสังกัดภาควิชาวิสัญญีวิทยา

3) แนวทางการปฏิบัติในการวางยาสลบ ผูปวยติดเช้ือ HIV, TB, Hepatitis B และ MRSA

2.2 การใชวัสดุและเวชภัณฑ : แนวทางปฏิบัติในการปองกันอันตรายและผลแทรกซอนจากการระงับความรูสึก เก่ียวกับ

2.2.1 การตรวจสอบ การสอบเทียบ และการบํารุงรักษาเครื่องดมยา ไดแก

1) มาตรฐานการตรวจสอบ machine และ circuit

Page 19: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

19

2) นโยบายและแนวปฏิบัติสําหรับการดูแลรักษาเครื่องวางยาสลบ

3) Dialy checklist ของ anesthetic machine

4) แนวทางการดูแล รักษา เครื่องมือ

2.2.2 การตรวจสอบและรับรองคุณภาพของกาซและยา การตรวจสอบและบํารุงรักษาระบบทอสงกาซ

ดําเนินการโดยกรรมการผูรับผิดชอบของโรงพยาบาล

3. แนวทางปฏิบัติในการดูแลผูปวยระหวางและหลังการระงับความรูสึก ไดแก

1) แนวทางในการเตรียมยาและฉีดยาที่ใชในหองผาตัด

2) แนวทางการปฏิบัติในการใหเลือดและผลิตภัณฑสวนประกอบจากเลือด

3) แนวทางการปฏิบัติเม่ือเกิดความผิดพลาด ขณะใหการระงับความรูสึก

4) แนวทางปฏิบัติเม่ือผูปวยเกิด Cardiac arrest ในหองผาตัด และแผนปฏิบัติการชวยชีวิตขั้นสูง แผนที่ 1-4

5) แนวทางปฏิบัติเม่ือผูปวยเสียชีวิตในหองผาตัด

6) แนวทางการปฏิบัติเพ่ือปองกันการใสทอชวยหายใจผิดตําแหนง

7) แนวทางการปฏิบัติในการใสทอชวยหายใจในกรณีที่ใสทอชวยหายใจยากแบบไมทราบลวงหนา

8) ขั้นตอนการตามอาจารย

9) แนวทางการดูแลผูปวยที่มีภาวะ Hypothermia

10) แนวทางการปองกันและแกไขกรณีผูปวยเกิด High block

11) Clinical Practice guideline เรื่องการรักษาดวยการทําใหชักดวยไฟฟา

12) แนวทางปฏิบัติในการใหยาระงับความรูสึกผูปวยที่มาทําผาตัด Renal Transplantation (Recipient)

13) แนวทางการดูแลผูปวย Fracture femur

14) แนวทางการดูแลผูปวยผาตัด Thyroidectomy

15) แนวทางการดูแลผูปวยที่ไดรับ Insulin Overdose

16) การดูแลผูปวยหลังผาตัด (Immediate post op.) ในหองพักฟน

17) แนวทางการใหยาระงับปวดแกผูปวยใหหองพักฟน

18) แนวทางการดูแลผูปวยหลังไดรับ spinal block

19) การใหบริการระงับความรูสึกแกผูปวยทันตกรรมเด็ก (OPD Case)

20) ระเบียบการตรวจเย่ียมผูปวยหลังผาตัด

21) คูมือการกรอกขอมูลใน post anesthetic record

22) แนวทางการดูแลใหการพยาบาลผูปวยหลังทําผาตัดนอกเวลาราชการ (เวลา 17.00-8.30 น.)

23) แนวทางปฏิบัติในการปองกันการผาผิดคนและผิดตําแหนง

4.แนวทางปฏิบัติในการแกไขเม่ือเกิดอันตรายหรือผลแทรกซอนที่รุนแรงกับผูปวย

1) แผนภูมิขั้นตอนรายงานอุบัติการณ

Page 20: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

20

เอกสารแนบ (3)

รายช่ือ คณะทํางาน HA ภาควิชาวิสัญญีวิทยา ปงบประมาณ 53

ลําดับท่ี ช่ือ – สกุล หมายเหตุ

1. รศ.พนารัตน รัตนสุวรรณ ย้ิมแยม ที่ปรึกษา

2. นางกฤษณา สําเร็จ ประธาน

3. นางทิพยวรรณ มุกนําพร เลขาฯ

4. นางพุมพวง สาระพาณิชย ผูชวยเลขาฯ และหัวหนากลุม IC

5. นางวัฒนา ตันทนะเทวินทร หัวหนากลุม PACU

6. นางสาวสุธันนี สิมะจารึก หัวหนากลุม IT

7. นางลักษณาวดี ชัยรัตน ผูประสานงานครู

8. นางวิริยา ถ่ินชีลอง หัวหนากลุมวัฒนธรรม

9. นางกชกร พลาชีวะ หัวหนากลุมเครื่องมือ

10. นางกาญจนา อุปปญ หัวหนากลุมบริหารความเส่ียง

11. นางรัดดา กําหอม หัวหนากลุม Post-op

12. นางศศิวิมล พงศจรรยากุล หัวหนากลุม Pain

13. นางดวงธิดา นนทเหลาพล หัวหนากลุม Intra-op

14. นางไกรวาส แจงเสม หัวหนากลุม SHE

15. นางประภาพรรณ ลิมปกุลวัฒนพร หัวหนากลุม Pre-op

16. นางสาวพิกุล มะลาไสย หัวหนากลุม Supply

17. นางมณีรัตน ธนานันต หัวหนาวิสัญญีพยาบาล

18. รศ.วราภรณ เช้ืออินทร หัวหนาภาควิชาฯและประธาน CLT

Page 21: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

21

เอกสารแนบ (4)

รายช่ือ กรรมการกลุม PCT ภาควิชาวิสัญญีวิทยา ปงบประมาณ 53

ท่ีปรึกษา : อ.สรรชัย, อ.เทพกร และอ.สมบูรณ

กลุม PCT ประธาน สมาชิก

ศัลยกรรม (12คน) อ.ศรินญา สุธันนี, สมยงค, สุเจตนา, วิลาวัลย, พุมพวง,

พิกุล, ลําใย, ดวงธิดา, เพ็ญวิสา, วิริยา, ระรื่น,

ดารณี

Orthopedics (3คน) อ.มาลินี กฤษณา, ยุวดี, ไกรวาส

OB-GYN (3คน) อ.วราภรณ ธิรดา, วินิตา, จงสุข

ENT (4คน) อ.คัทลียา กชกร, นิภาพันธ, ลักษณาวดี, มณีรัตน

ทันตกรรม (3คน) อ.สุหัทยา จันทรฉาย, สุพัฒตรา, ปริณดา

รังสีวิทยา (4คน) อ.พนารัตน กาญจนา, พละเดช, ชาริณี, ลําไพย

จิตเวชวิทยา (3คน) อ.พนารัตน ประภาพรรณ, รัดดา, จันทรจิราภรณ

จักษุวิทยา (3คน) อ.พลพันธ ยุธิดา, สุดใจ, วรนุช

อายุรศาสตร (3คน) อ.วิมลรัตน พูนพิสมัย, วัฒนา, อติพร

กุมารเวชศาสตร(3คน) อ.ปยะพร ทิพยวรรณ, ศศิวิมล, รุงทิวา

เภสัชกรรม (5คน) อ.อุมจิต กฤษณา, นที, สุทธิดา, เบญจศิล, กฤติยา

OR (6คน) อ.วราภรณ, อ.วิมลรัตน,

อ.อัครวัฒน และ

อ.พลพันธ

ทิพยวรรณ, พัชรา, อักษร, พัชรี, ณัชชารีย,

ดวงเนตร

Page 22: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

22

เอกสารแนบ (5)

ตารางการวางแผนและดําเนินกิจกรรม HA ภาคฯ 53

ครั้งท่ี วัน วัน/เดือน/ป กิจกรรม เนื้อหา

ธันวา

คม 5

2

พุธ 9 ธ.ค. ประชุมกลุมหลัก วาระปกติ

พุธ 16 ธ.ค. หัวหนากลุมงาน HA วาระ : รวมกันตั้งเปา, ทําเข็มมุงคุณภาพบริการ

พุธ 23 ธ.ค. ประชุม(วิชาการ) HA Lean Concept โดย อ.วนิดา

พฤหัส 24 ธ.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส สรุปสัมมนาภาคฯอินเตอร รีสอรท จ.อุดรธานี

พุธ 30 ธ.ค. Human Resource

Development

นําเสนองานวิชาการกลุมวิชาการ(เชียงใหม), กลุมวิจัย

(กทม.) และ กลุมHA(ขอนแกน)

มกรา

คม 5

3

พุธ 13 ม.ค. ประชุมกลุมหลัก วาระปกติ

พฤหัส 14 ม.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส 7 HABITS (อ.อัครวัฒน สินเก้ือกูล)

พุธ 20 ม.ค. ประชุมกลุมยอย

พุธ 27 ม.ค. ประชุม HA ประชุมกรรมการ HA ปรับกระบวนการทํางาน

พฤหัส 28 ม.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส การสืบคนขอมูลสูงาน R2R (อ.มาลินี วงศสวัสดิวัฒน)

กุมภา

พัน

ธ 53

พุธ 10 ก.พ. ประชุมกลุมหลัก วาระปกติ

พฤหัส 11 ก.พ. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส Sharing : กลุม IC, เครื่องมือ

พุธ 17 ก.พ. หัวหนากลุม HA ทบทวน KPI ภาคฯ

พุธ 24 ก.พ. หัวหนากลุม HA ทบทวน KPI ภาคฯ

พฤหัส 25 ก.พ. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส Sharing : Pre-op, Intra-op

มีนาค

ม 53

พุธ 10 มี.ค. ประชุมกลุมหลัก วาระปกติ

พฤหัส 11 มี.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส Sharing : กลุม PACU, Post-op

พุธ 17 มี.ค. ประชุมฟนฟูวิชาการภาคฯ ชวยกิจกรรมทั้งภาคฯ

พุธ 24 มี.ค. ประชุมกลุมยอย วาระปกติ

พฤหัส 25 มี.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส M&M (ขอแลก)

พุธ 31 มี.ค. Human Resource

Development

นําเสนองานวิชาการกลุมPAIN(เขาใหญ), กลุมRM(

เชียงใหม) และ กลุมHA(กทม.)

เมษ

ายน

53

พฤหัส 8 เม.ย. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส M&M (ขอแลก)

พุธ 14 เม.ย. วันหยุด -

พุธ 21 เม.ย. ประชุมกลุมหลัก วาระปกติ

พุธ 28 เม.ย. ประชุมหัวหนากลุมHA วาระ : สรุปนผน.03 วางแผน นผง01. (งบฯ54),

เตรียมขอมูล Service Profile (เริ่มใชระยะปการศึกษา)

พฤหัส 29 เม.ย. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส Sharing : กลุม PAIN

Page 23: Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)

23

พฤษ

ภาคม

53

พุธ 12 พ.ค. ประชุมพยาบาล (ฝายพยาบาลขอแลก)

พฤหัส 13 พ.ค. วันหยุด -

พุธ 19 พ.ค. กิจกรรมคุณภาพ อ.ชัช (RM โรงพยาบาล)

พุธ 26 พ.ค. ประชุมกลุมยอย วาระปกติและวางแผนงบฯ 54

พฤหัส 27 พ.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส Sharing : กลุม RM, IT

มิถุน

ายน

53

พุธ 9 มิ.ย. ประชุมกลุมหลัก ติดตาม incidenceที่เก่ียวของ

พฤหัส 10 มิ.ย. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส M&M (ขอแลก)

พุธ 16 มิ.ย. หัวหนากลุม HA ประชุมรายงาน KPI

พุธ 23 มิ.ย. ประชุม(วิชาการ) HA ความรู R2R

พฤหัส 24 มิ.ย. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส 5 items : Risk Management ครั้งที1่

พุธ 30 มิ.ย. Human Resource

Development

APN วิสัญญีพยาบาล

กรกฎ

าคม

53

พุธ 14 ก.ค. ประชุมกลุมหลัก

พฤหัส 8 ก.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส 5 items : Risk Management ครั้งที2่

พุธ 21 ก.ค. ประชุมกลุมยอย

พุธ 28 ก.ค. ประชุม(วิชาการ) HA

พฤหัส 22 ก.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส

สิงห

าคม

53

พฤหัส 5 ส.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส

พุธ 11 ส.ค. ประชุมกลุมหลัก

พุธ 18 ส.ค. หัวหนากลุม HA

พุธ 25 ส.ค. ประชุม(วิชาการ) HA

พฤหัส 19 ส.ค. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส

กันยา

ยน 5

3

พฤหัส 2 ก.ย. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส

พุธ 8 ก.ย. ประชุมกลุมหลัก

พุธ 15 ก.ย. ประชุมกลุมยอย

พฤหัส 16 ก.ย. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส

พุธ 22 ก.ย. ประชุม(วิชาการ) HA

พฤหัส 30 ก.ย. กิจกรรมคุณภาพวันพฤหัส


Recommended