+ All Categories
Home > Documents > ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER...

ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER...

Date post: 14-Aug-2020
Category:
Upload: others
View: 4 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
182
สํานักวิทยบริการฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค สําหรับเด็กปฐมวัย นางเจริญตา จาดเจือจันทร วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร พ.ศ. 2556 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร
Transcript
Page 1: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย

นางเจริญตา จาดเจือจันทร

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

พ.ศ. 2556

ลขิสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

Page 2: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

THE UTILIZATION OF ACTIVITY PACKAGES BASED ON HIGH-SCOPE

LEARNING METHODS AIMING TO DEVELOP CREATIVE THINKING IN

EARLY CHILDHOOD STUDENTS

Mrs. Charoenta Chartchuechan

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for

the Degree of Master Of Education Program in Curriclum And Instruction

Rajabhat Rajanagarindra University

2013

Page 3: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์คณะกรรมการสอบ

............................................................... ประธานกรรมการ

(ผูชวยศาสตราจารย ดร. ศันสนีย จันทรสถิตยพร)

.................................................. กรรมการ ................................................... กรรมการ

(ผูชวยศาสตราจารย ดร. เก้ือกูล สถาพรวจนา) (ดร. อรวรรณ ธรรมพิทักษ)

............................................. กรรมการ ................................. กรรมการและเลขานุการ

(ผูชวยศาสตราจารย ดร. ทิพยวิมล แกววังหิรัญ) (ดร. พอเจตน ธรรมศิริขวัญ)

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร อนุมัติใหนับวิทยานิพนธนี้

เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

.................................................................

(..................................................................)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันท่ี ............ เดือน ........................ พ.ศ. ..............

ชื่อเรื่อง การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป เพ่ือพัฒนา

ความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

ผูวิจัย นางเจริญตา จาดเจือจันทร

อาจารยท่ีปรึกษาหลัก ผูชวยศาสตราจารย ดร. เก้ือกูล สถาพรวจนา

อาจารยท่ีปรึกษารวม ดร. อรวรรณ ธรรมพิทักษ

Page 4: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ช่ือเรื่อง การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป เพ่ือพัฒนา

ความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

ผูวิจัย นางเจรญิตา จาดเจือจันทร

ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต

พ.ศ. 2556

อาจารยท่ีปรึกษาหลัก ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกื้อกูล สถาพรวจนา

อาจารยท่ีปรึกษารวม ดร.อรวรรณ ธรรมพิทักษ

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุงหมายดังนี้ 1) เพ่ือหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม 2) เพื่อศึกษา

ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย 3) เพ่ือเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยที่ไดรับ

การจัดการเรียนรูดวยชุดกิจกรรมตามแนวคิดไฮ-สโคป กอนเรียนและหลังเรียน กลุมตัวอยางท่ีใช

ในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก เด็กปฐมวัยท่ีมีอายุระหวาง 5-6 ป ท่ีกําลังศึกษาอยูท่ีโรงเรียนวัดหัวคู สังกัด

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน

1 หองเรียน จํานวน 20 คน โดยการเลือกแบบสุมอยางงาย

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก ชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนา

ความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยท่ีผูวิจัยสรางข้ึน จํานวน 3 ชดุกิจกรรม 12 แผนการจัดประสบการณ

และแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก t-test แบบ dependent

sample

ผลการวิจัยพบวา

1. ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดประสบการณ โดยใช

ชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยเทากับ 83.68/88.33 ซ่ึงสูงกวาเกณฑ

80/80 ท่ีตั้งไว

2. เด็กปฐมวัยหลังท่ีไดรับการจัดการประสบการณโดยใชชุดกิจกรรมตามแนวคิดไฮ-สโคป

มีความคิดสรางสรรคอยูในระดับสูง

3. เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดประสบการณ โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

มีความคิดสรางสรรคหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

คําสําคัญ: ชุดกิจกรรม, ความคิดสรางสรรค

Page 5: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Title: THE UTILIZATION OF ACTIVITY PACKAGES BASED ON HIGH-SCOPE

LEARNING METHODS AIMING TO DEVELOP CREATIVE THINKING IN

EARLY CHILDHOOD STUDENTS

Researcher: Mrs. Charoenta Chartchuechan

Degree: Master Of Education Program (Curriculum and Instruction)

Year: 2013

Advisor: Asst. Prof. Dr. Kuakoon Satapornwajana

Co-advisor: Dr. Orawan Tampitak

ABSTRACT

The purposes of this research were: 1) to investigate the effectiveness of activity

packages 2) to study the creative thinking of early childhood students, and 3) to compare

the creative thinking before and after using the high-scope method. The sampling

obtained by simple random sampling consisted of 20 second-year kindergarten students

who were 5-6 years old / and were studying in the second semester of the academic

year 2012, at Wathuakoo school under the 0ffice of Samutprakan Primary Education -

Area 2.

The instruments of the study were the activity packages based on high-scope

learning methods consisting of 3 activities packages, 12 lessons and the creative thinking

test. The study was experimented on one group pretest-posttest design. The statistics

used for data analysis was the t-test.

The result of the study were as follows :

1. The average efficiency of activities packages based on high-scope learning

method aiming to develop creative thinking in early childhood students was 83.68/88.33

which was above the standard criteria of 80/80.

2. The creative thinking in early childhood students who were provided

experiences on using activities packages based on high scope learning method was at

a high level.

Page 6: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

3. The early childhood students who were provided experiences on the activity

packages based of high scope learning method was at a high level

Keywords: activity package, creative thinking

Page 7: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

สารบัญ บทท่ี หนา

หนาอนุมัติ ....................................................................................................................................... (1)

บทคัดยอภาษาไทย .......................................................................................................................... (2)

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ..................................................................................................................... (3)

กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................... (4)

สารบัญ ............................................................................................................................................ (5)

สารบัญตาราง .................................................................................................................................. (8)

สารบัญภาพ .................................................................................................................................... (9)

1 บทนํา…………………………………………………………………………..……………………………...................1 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา............................................................................1 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย...................................................................................................4 1.3 สมมติฐานของการวิจัย.......................................................................................................4 1.4 ขอบเขตของการวิจัย..........................................................................................................4

1.5 ความสําคัญของการวิจัย....................................................................................................5

1.6 กรอบแนวคิดของการวิจัย..................................................................................................5

1.7 นิยามศัพทเฉพาะ...............................................................................................................5

1.8 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ.................................................................................................7

2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ................................................................................................8

2.1 หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546...................................................................9

2.1.1 หลักการและจุดมุงหมาย.........................................................................................9

2.1.2 โครงสรางของหลักสูตร..........................................................................................12

2.1.3 สาระการเรยีนรู.....................................................................................................12

2.1.4 การจดักิจกรรมประจําวัน......................................................................................14

2.2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับความคิดสรางสรรค...................................................15

2.2.1 ความหมายของความคิดสรางสรรค.......................................................................15

2.2.2 ความสําคัญของความคิดสรางสรรคในเด็กปฐมวัย................................................16

2.2.3 ทฤษฎีของความคิดสรางสรรค...............................................................................18

2.2.4 การวัดและทดสอบความคิดสรางสรรค.................................................................22

2.2.5 การพัฒนาความคิดสรางสรรคในเด็ก....................................................................30

2.2.6 งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับความคิดสรางสรรค............................................................31

Page 8: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

บทท่ี หนา

2.3 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับชุดกิจกรรม................................................................33

2.3.1 ความหมายและประเภทของชุดกิจกรรม...............................................................33

2.3.2 องคประกอบของชุดกิจกรรม.................................................................................35

2.3.3 การใชชุดกิจกรรมในการจัดประสบการณสําหรับเด็กปฐมวัย................................37

2.3.4 การใชชุดกิจกรรมกับการพัฒนาความคิดสรางสรรค.............................................38

2.3.5 ข้ันตอนในการสรางชุดกิจกรรม.............................................................................41

2.3.6 การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม.....................................................................43

2.3.7 งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับชุดกิจกรรม........................................................................44

2.4 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป........44

2.4.1 ประวัติความเปนมาของการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป......................................44

2.4.2 ทฤษฎีและหลักการท่ีเก่ียวของกับการจัดประสบการณการเรียนรู

ตามแนวคิด ไฮ-สโคป...........................................................................................45

2.4.3 ความสําคัญของการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป...................................................49

2.4.4 กระบวนการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป..............................................................50

2.4.5 งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป.........................................51

2.4.6 งานวิจัยตางประเทศ……………………………………………..........................................52

3 วิธีดําเนินงานวิจัย.....................................................................................................................53

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง..............................................................................................53

3.2 เครื่องมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล..................................................................................53

3.3 การสรางเครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล.............................................................54

3.4 การเก็บรวบรวมและการวิเคราะหขอมูล.........................................................................58

3.5 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล........................................................................................59

4 ผลการวิเคราะหขอมูล............................................................................................................62

4.1 สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล...............................................................................62

4.2 ลําดับข้ันตอนในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล............................................................62

4.3 ผลการวิเคราะหขอมูล.....................................................................................................63

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ...................................................................................67

(6)

Page 9: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

5.1 สรุปผลการวิจัย...............................................................................................................68

5.2 อภิปรายผล.....................................................................................................................68

5.3 ขอเสนอแนะ…………………...............................................................................................71

รายการอางอิง....................................................................................................................................72

บทท่ี หนา

ภาคผนวก...........................................................................................................................................77

ภาคผนวก ก รายชื่อผูเชี่ยวชาญและหนังสือขอความอนุเคราะหในการตรวจ

ความเหมาะสมของเครื่องมือ.................................................................................78

ภาคผนวก ข ตารางแสดงการประเมินความเหมาะสมและตารางบันทึกคะแนน

ความคิดสรางสรรคของแบบทดสอบ.....................................................................84

ภาคผนวก ค ตัวอยางชุดกิจกรรมและแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค................................105

ภาคผนวก ง ตัวอยางภาพการปฏิบัติกิจกรรม...........................................................................143

ประวัติผูวิจัย.....................................................................................................................................147

(7)

Page 10: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

1 แสดงแผนการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิด

สรางสรรค สําหรับเด็กปฐมวัย………………………………………………………………………………..…..54

2 แสดงแบบแผนการวิจัยแบบทดลองกลุมเดียว กอนและหลังการจัดประสบการณ…………..….58

3 ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

โรงเรียนวัดหวัคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2..……63

4 คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

กอนเรียนและหลังเรียน โดยใชกิจกรรมการวาดภาพ……………………………………….……...…...63

5 คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

กอนเรียนและหลังเรียน โดยใชกิจกรรมการวาดภาพ…………………………………….………….…..64

6 คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

กอนเรียนและหลังเรียน โดยใชกิจกรรมการฉีก ตัด ปะ…………………………………………....…...64

7 คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

กอนเรียนและหลังเรียน โดยใชกิจกรรมการวาดภาพ กิจกรรมการตอเติมภาพ

ใหสมบูรณ และกิจกรรมการฉีก ตัด ปะ …………………………………..…………………………...…...65

8 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

กอนเรียนและหลังเรียน ดานความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม

ความคิดละเอียดลออ………………………………………..………………………………………………....…..66

Page 11: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

สารบัญภาพ

ภาพ หนา

1 กรอบแนวคิดการวิจัย...............................................................................................................5

Page 12: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 13: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

1

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การศึกษาเปนรากฐานของชีวิตโดยเฉพาะการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยถือวามีความสําคัญ

เปนอยางยิ่ง เพราะการเปนผูใหญท่ีมีความรู ความสามารถ มีคุณภาพพรอมที่จะพัฒนาประเทศชาติ

ใหเจริญรุงเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศไดนั้น ตองไดรับการศึกษาอบรมอยางมีคุณภาพตั้งแตวัยเด็ก

ซ่ึงไดแกการศึกษาในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 สําหรับเด็กอายุ

3-5 ป มุงเนนใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญาที่เหมาะสมกับวัย

ตามความสามารถและความแตกตางระหวางบุคคล (กรมวิชาการ, 2546ก, หนา 8-9) ดังนั้น

ในการจัดกิจกรรมสําหรับเด็กปฐมวัยจึงมุงเนนใหเด็กไดรับการพัฒนาท้ัง 4 ดาน การพัฒนาความคิด

สรางสรรคแกเด็กตั้งแตเยาววัยหรือชวง 6 ปแรกของชีวิตเปนระยะท่ีเด็ก มีจินตนาการสูง หากชวงวัย

นี้เด็กไดรับประสบการณหรือกิจกรรมท่ีเหมาะสม ก็นับวาเปนการเริ่มตนท่ีดี ในการพัฒนาความคิด

สรางสรรคของเด็ก (ทอแรนซ, 1965, อางถึงใน อารี รังสินันท, 2526, หนา 2) ครูผูสอนจึงควรให

ความสนใจในการพัฒนาดานสติปญญาและความคิดของเด็กตามมาตรฐาน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค

ขอท่ี 11 กําหนดใหเด็กปฐมวัยมีจินตนาการและความคิดสรางสรรค รวมท้ังขอบขายของกิจกรรม

กําหนดใหจัดกิจกรรมเพ่ือใหเด็กไดพัฒนาความคิดสรางสรรค ไดถายทอดอารมณ ความรูสึก และ

ความสวยงามของสิ่งตางๆ รอบตัว โดยการสงเสริมการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย กระตุนใหเด็กไดฝกคิด

และลงมือปฏิบัติ ฝกพัฒนาการดานจินตนาการและความคิดสรางสรรคใหเด็กสามารถท่ีจะถายทอด

ความรูประสบการณท่ีไดรับออกมาทางการคิด การพูด การกระทํา รวมท้ังการเลน

กระทรวงศึกษาธิการ (2551, หนา 1) การปฏิรูปการศึกษาท้ังระบบตามพระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ใหความสําคัญตอการจัด

การศึกษาปฐมวัยอยางมาก เพราะการศึกษาในระดับนี้เปนในการสงเสริมพัฒนาการดานความคิด

สรางสรรคของเด็กปฐมวัย โดยมุงเนนใหครูผูสอนสนับสนุน สงเสริมใหเด็กมีความรู ความสามารถสูงสุด

เปนคนดี มีความสุข ตามธรรมชาติและตามศักยภาพของผูเรียน โดยหลักการท่ีวาเด็กทุกคนมีความสามารถ

ในการเรียนรู สามารถพัฒนาตนเองได และถือวาเด็กมีความสําคัญเปนศูนยกลาง แหงการเรียนรู ดังนั้น

การพัฒนาเนนความสําคัญท้ังความรู คุณธรรม และกระบวนการเรียนรูอยางสมดุลกัน การจัดเนื้อหาสาระ

และกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของเด็ก โดยฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ

Page 14: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

2

การเผชิญสถานการณ เด็กไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน

จัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียนและอํานวยความสะดวกเพ่ือใหเด็กเกิดการเรียนรูและ

มีความรอบรู ดังนั้น การจัดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรค จึงเปนสิ่งจําเปนเพ่ือใหเด็กแสดงออก

ในดานความคิดท่ีหลากหลาย ไดแก คิดริเริ่ม คิดคลองตัว คิดยืดหยุน คิดละเอียดลออ

ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถที่สําคัญของบุคคล ซ่ึงหากไดรับการพัฒนาตั้งแตเด็ก

ในวัยระยะแรกๆ แลวจะทําใหเด็กเกิดความคิดสรางสรรค และหากมีการพัฒนาเปนอยางดีจะสงผลไปยัง

คุณภาพของเด็กในอนาคตดวย ซ่ึงสอดคลองกับ วราภรณ รักวิจัย (2535, หนา 160-161) ที่พบวา

ชวงแรกของชีวิตจนถึงวัย 5 ขวบ เปนชวงท่ีสําคัญมากในการพัฒนาความคิดสรางสรรค ตั้งแตวัยเด็ก

และพัฒนาการติดตอกันจนถึงขั้นสูง โดยไมถูกบั่นทอนใหลดนอยลงเพราะเราเชื่อกันวาทุกคน

มีความคิดริเริ่มสรางสรรคและสามารถจะสงเสริมกันได โดยเฉพาะเด็กชวงกอนวัยเรียนเพราะเปนระยะ

ท่ีเด็กมีจินตนาการสูง ศักยภาพดานความคิดริเริ่มสรางสรรคกําลังพัฒนา หากไดรับการจัดประสบการณ

หรือกิจกรรมท่ีเหมาะสมตอเนื่องเปนลําดับก็เทากับเปนการวางรากฐานท่ีม่ันคงสําหรับการพัฒนา

ความคิดสรางสรรคของเด็กในวัยตอมา (เยาวพา เตชะคุปต, 2542, หนา 8)

วิไล แพงศรี (2547, หนา 207) ไดทํา 20การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวมเพ่ือพัฒนารูปแบบ

การจัดการศึกษาปฐมวัย20ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ2 0 โดยไดดําเนินโครงการ

2 0 "โครงการบาน-โรงเรียนรวมใจ" พบวาในการพัฒนาทางสมองของเด็กระดับชั้นอนุบาลปที่ 2 ท่ี

เปนกลุมเปาหมายนั้นมีการพัฒนาทักษะการคิดอยางมีเหตุผลคิดแตยังไมสามารถคิดหาเหตุผลมา

อางอิงได และมีทักษะการคิดแกปญหาไดดีกวา 2 0การคิดสรางสรรค 2 0 จากผลการศึกษาดังท่ีกลาวมาเด็ก

ปฐมวัยและนักเรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงควรไดรับการพัฒนาท่ีเนนทักษะความคิด

สรางสรรคควบคูกับการคิดวิเคราะห เพราะครูผูสอนควรจัดการเรียนรูโดยใหผูเรียนพัฒนาทักษะทุก

ดานรวมท้ังสมองซีกซายและซีกขวาอยางสมดุลกัน

กรมวิชาการ (2546ข, หนา 58) กลาววาการจัดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคในตาราง

กิจกรรมประจําวันของเด็กปฐมวัย มีจุดมุงหมายเพ่ือพัฒนาเด็กท้ังทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม

และสตปิญญา ควรสงเสริมใหเด็กแสดงความคิดสรางสรรคและแสดงความรูสึกนึกคิด ซ่ึงสอดคลองกับ

อารี พันธมณี (2545, หนา 164) ท่ีเสนอวาการจัดกิจกรรมท่ีสอดคลองกับความสนใจ ความสามารถ

และพัฒนาการของเด็ก กิจกรรมไมเพียงสงเสริมการประสานสัมพันธระหวางกลามเนื้อมือและตา และ

ผอนคลายความตึงเครียดทางอารมณเทานั้น แตยังเปนการสงเสริมความ คิดสรางสรรคและนําไปสู

การเรียน เขียน อานอยางสรางสรรคตอไป

กระบวนการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เปนกระบวนหนึ่งของการจัดการเรียนรูท่ีเนนเด็ก

เปนศูนยกลาง เปนการเรียนรูแบบลงมือกระทํา เด็กจะเผชิญกับประสบการณสําคัญ จากการจัดกิจกรรม

ประจําวัน โดยผานกระบวนการวางแผน (plan) ปฏิบัติ (do) และทบทวน (recall) ซ่ึงเปนกระบวนการหนึ่ง

Page 15: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

3

ที่มีความเหมาะสมและสามารถนํามาจัดประสบการณ เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคไดอยางมี

ประสิทธิภาพ วิธีการดังกลาวมีเปาหมายเพ่ือสนับสนุนการเรียนรูและการพัฒนาของเด็ก พัชรี ผลโยธิน

(2543, หนา 27) กลาววา กระบวนการวางแผน ปฏิบัติและทบทวนเปนข้ันตอนการทํางานท่ีทําใหเกิด

การมีปฏสิัมพันธระหวางเด็กกับเด็ก เด็กกับครู ซ่ึงกระบวนการทํางานเปนกลุมและการมีปฏิสัมพันธ

ทางสังคมเชนนี้ จะสงผลตอการพัฒนาทักษะดานการคิดโดยเฉพาะความคิดสรางสรรค ซึ่งแนวคิด

ไฮ-สโคป เนนความสําคัญของการเรียนรูแบบลงมือกระทําผานประสบการณตางๆ ที่หลากหลาย

ซ่ึงเต็มไปดวยวัสดุอุปกรณและกิจกรรมที่เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก โดยในการจัดกิจกรรม

ทางความคิดสรางสรรคเด็กจะไดรับการสงเสริม ในขณะท่ีวางแผนซ่ึงถือเปนกระบวนการคิดของเด็ก

เก่ียวกับเปาหมายท่ีจะกําหนดการกระทําตามท่ีคาดหวัง การเลือกใชวัสดุ อุปกรณที่เปนเปาหมาย

สําหรับการสรางผลงาน สวนในข้ันตอนของการปฏิบัติกิจกรรมนั้นเปนข้ันตอนท่ีสงเสริมใหเด็กมีสวนรวม

ในการทํางานท่ีเต็มไปดวยวัสดุอุปกรณ เกิดปฏิสัมพันธ เปนการเสริมสรางทักษะการคิดในเชิงปฏิสัมพันธ

คือเด็กรวมกันคิดเพ่ือแกปญหาเปนกลุมขณะทํากิจกรรม หลังสิ้นสุดกิจกรรมเด็กรวมกลุมกันเพ่ือสรุป

ทบทวนวาไดดําเนินการตามแผนท่ีวางไวหรือไมเพียงใด โดยครูจะใชคําถามในการสนับสนุนและขยาย

การเรียนรูของเด็กไปพรอมๆ กับการเพ่ิมทักษะการสื่อสารท้ัง 3 ข้ันตอนนี้ จะเห็นไดวากระบวนการ

ตามแนวคิดไฮ–สโคป เปนการเรียนรูท่ีเด็กไดมีโอกาสลงมือกระทําผานกิจกรรม วัสดุอุปกรณและ

การมีปฏิสัมพันธเปนกลุม โดยครูจะมีบทบาทสําคัญท่ีทําใหเด็กเกิดการเรียนรู กระตุนใหเด็กรูจัก

การวางแผนดําเนินกิจกรรมดวยตนเองโดยการใชคําถามปลายเปดใหเด็กเรียนรูผานการกระทํา เชื่อมโยง

ประสบการณท่ีเปนรูปธรรม ครูและเด็กทํางานรวมกันในบรรยากาศที่มีการใหเกียรติและเคารพ

ซ่ึงกันและกัน จากกระบวนการทํางานโดยใชกระบวนการวางแผน ปฏิบัติ ทบทวนจะสงผลตอการพัฒนา

ทักษะกระบวนการคิด และสามารถสงเสริมพฤติกรรมท่ีพึงประสงคได ดังนั้น กระบวนการดังกลาว

จึงนับเปนวิธีการท่ีเหมาะสมในการนํามาพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยไดอยางมีประสิทธิภาพ

ดังงานวิจัยของ พันธิตรา เกาะสุวรรณ (2546, บทคัดยอ) ไดศึกษาผลของการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

ท่ีมีตอความคิดสรางสรรคของนักเรียน ชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนเปรมประชาวัฒนา อําเภอบางใหญ

จังหวัดนนทบุรี ผลการศึกษาพบวา นักเรียนชั้นอนุบาลปท่ี 2 ท่ีไดรับการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

มีความคิดริเริ่มสรางสรรคเพ่ิมข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

จากความสําคัญและความเปนมาท่ีกลาวมาแลว ประกอบกับการท่ีผูวิจัยเปนครูผูสอนในระดับ

ปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

สมุทรปราการ เขต 2 จากการวัดและประเมินผลพัฒนาการของเด็กปฐมวัยตามสภาพความเปนจริง

ตามระดับเกณฑการประเมินผลงานในดานความคิดสรางสรรคจะอยูในระดับ 2 และระดับ 1

ซ่ึงหมายความวาเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการอยูในระดับปานกลางคอนขางต่ํา ซ่ึงตามเกณฑ การผานเกณฑ

การประเมิน เด็กจะตองไดระดับพัฒนาการเฉลี่ย ระดับ 2 ข้ึนไป และจากการสังเกตเด็กระหวาง

Page 16: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

4

การจัดกิจกรรมทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียนในปการศึกษาที่ผานมาจนถึงปจจุบัน พบวา

การแสดงออกของเด็กในการรวมกิจกรรมสรางสรรค เด็กสวนใหญจะแสดงออกในลักษณะที่ซํ้ากัน

ลอกเลียนแบบกัน โดยยังไมสามารถคิดกระทําหรือแสดงสิ่งท่ีแปลกใหม ตัวอยางเชน การวาดภาพ

เด็กจะวาดภาพแบบเดิมตามท่ีตนเองเคยวาดภาพมากอน การปนตามจินตนาการ เด็กก็จะปนแบบเดิมๆ

การประดิษฐเศษวัสดุเด็กไมสามารถสรางผลงานใหแลวเสร็จตามเวลาท่ีครูกําหนดได หรือมีองคประกอบ

ไมครบถวน และใชเวลาในการทํากิจกรรมนานกวาเวลาท่ีกําหนด

ดังนั้น เพ่ือเปนการพัฒนาความคิดสรางสรรคใหกับเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปที่ 2

โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 จังหวัด

สมุทรปราการ ผูวิจัยในฐานะท่ีเปนครูผูสอนระดับปฐมวัยเห็นความสําคัญที่จะจัดประสบการณ

การเรียนรูใหเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย และเพ่ือเปนแนวทางสําหรับครูผูสอนระดับปฐมวัย

นําไปใชเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคของการวิจัยดังนี้

1.2.1 เพ่ือหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย สําหรับ

จัดการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป ตามเกณฑมาตรฐาน 80/80

1.2.2 เพ่ือศึกษาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรู ตามแนวคิด

ไฮ–สโคป

1.2.3 เพ่ือเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการใชชุดกิจกรรม

สําหรับการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

1.3 สมมติฐานของการวจัิย

การวิจัยครั้งนี้ มีสมมติฐานของการวิจัยดังนี้

1.3.1 ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย ตามแนวคิดไฮ-สโคป

มีประสิทธภิาพตามเกณฑมาตรฐาน 80/80

1.3.2 ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยหลังการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิด

ไฮ–สโคป สูงกวากอนการใชชุดกิจกรรม

Page 17: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

5

1.4 ขอบเขตของการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ มีขอบเขตของการวิจัยดังนี้

1.4.1 ประชากร

ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก เด็กปฐมวัยท่ีมีอายุระหวาง 5–6 ป ท่ีกําลังศึกษาอยูท่ี

โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2

ปการศึกษา 2555 จํานวน 2 หองเรียนๆ ละ 20 คน รวม 40 คน

1.4.2 กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก เด็กปฐมวัยท่ีมีอายุระหวาง 5-6 ป ท่ีกําลังศึกษาอยูท่ี

โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2

ปการศึกษา 2555 จํานวน 20 คน โดยการเลือกแบบสุมอยางงาย (simple random sampling)

ซ่ึงการจัดชั้นเรียนเด็กปฐมวัยเปนแบบคละหองเรียนมีจํานวน 2 หองเรียนซ่ึงวิธีการเลือกกลุมตัวอยาง

ใชวิธีการสุมโดยการจับฉลากกลุมตัวอยางมา 1 หองเรียนท่ีมีความสามารถคละกัน

1.4.3 ขอบเขตดานเนื้อหา

ขอบเขตดานเนื้อหา ท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก

1) โครงสราง สาระการเรียนรูของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546

สําหรับเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โดยผูวิจัยนํามาสรางเปนแผนการจัดประสบการณ สําหรับ

เด็กปฐมวัย จํานวน 12 แผน

2) ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย จํานวน 3 ชดุกิจกรรม

1.5 ความสําคัญของการวิจัย

ความสําคัญของการวิจัยมีดังนี้

1.5.1 ผลของการวิจัยจะเปนแนวทางสําหรับครูผูสอนในการพัฒนาความคิดสรางสรรคของ

เด็กปฐมวัย

1.5.2 ไดแนวทางการพัฒนาความคิดสรางสรรคใหแกเด็กปฐมวัย

1.5.3 ไดชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป สําหรับพัฒนาความคิดสรางสรรคใหกับ

เด็กปฐมวัย

1.6 กรอบแนวคิดของการวิจัย

Page 18: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

6

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดเสนอกรอบแนวคิดในการวิจัย

แสดงความสัมพันธของลักษณะตัวแปรตนและตัวแปรตาม ดังนี้

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ชุดกิจกรรมการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ-สโคป

ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

ประกอบดวย

1. ความคิดคลองตัว

2. ความคิดยืดหยุน

3. ความคิดริเริ่ม

4. ความคิดละเอียดลออ

ภาพ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

1.7 นิยามศัพทเฉพาะ

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนดนิยามศัพทเฉพาะไว ดังนี้

1.7.1 การเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป หมายถึง การใหเด็กปฐมวัยทํากิจกรรมโดยใชกระบวนการ

วางแผน (plan) ปฏิบัติ (do) และทบทวน (recall) ซ่ึงมีกระบวนการตอเนื่องกัน 3 ข้ันตอน ดังนี้

1) ข้ันการวางแผน หมายถึง การสนทนารวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก

เก่ียวกับสิ่งท่ีตองทํารวมกันหรือการใชวัสดุอุปกรณมาสรางผลงาน

2) ข้ันการปฏิบัติ หมายถึง การดําเนินการปฏิบัติตามท่ีเด็กวางแผนดวยตนเอง

ในการสรางความคิด และการตัดสินใจเลือกวัสดุอุปกรณ และชวยกันเก็บอุปกรณเขาท่ีใหเรียบรอย

3) ข้ันทบทวน หมายถึง การสนทนารวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก

เพ่ือนําเสนอผลงาน และทบทวนกระบวนการทํางานรวมท้ังความประทับใจในผลงานท่ีทํา

1.7.2 ชุดกิจกรรมการเรียนรู หมายถึง ชุดกิจกรรมท่ีใชจัดประสบการณเพ่ือใหเด็กปฐมวัย

สามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคตามความสามารถของตน ซึ่งผูวิจัยจัดทําขึ้นเปนชุดกิจกรรม

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย ประกอบดวยชุดกิจกรรม จํานวน 3 ชุดกิจกรรม

จําแนกเปน 12 แผนการจัดประสบการณ ไดแก

ชุดกิจกรรมท่ี 1 จินตนาการจากการปน ประกอบดวย

1) แผนการจัดประสบการณท่ี 1 เรื่อง การปนจากดินน้ํามัน

2) แผนการจัดประสบการณท่ี 2 เรื่อง การปนจากแปงขาวเหนียว

Page 19: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

7

3) แผนการจัดประสบการณท่ี 3 เรื่อง การปนจากแปงขนมปง

4) แผนการจัดประสบการณท่ี 4 เรื่อง การปนจากแปงสาลี

ชุดกิจกรรมท่ี 2 ฉีก ตัด ปะ สรางสรรคความคิด ประกอบดวย

1) แผนการจัดประสบการณท่ี 5 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษโปสเตอรสี

2) แผนการจัดประสบการณท่ี 6 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษอังกฤษ

3) แผนการจัดประสบการณท่ี 7 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษหนังสือพิมพ

4) แผนการจัดประสบการณท่ี 8 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษหนังสือนิตยสาร

ชุดกิจกรรมท่ี 3 การประดิษฐดวยเศษวัสดุ ประกอบดวย

1) แผนการจัดประสบการณท่ี 9 เรื่อง การประดิษฐจากถวยไอศกรีม

2) แผนการจัดประสบการณท่ี 10 เรื่อง การประดิษฐจากกลองนม

3) แผนการจัดประสบการณท่ี 11 เรื่อง การประดิษฐจากแกนกระดาษชําระ

4) แผนการจัดประสบการณท่ี 12 เรื่อง การประดิษฐจากกลองสบู

1.7.3 ความคิดสรางสรรค หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยแตละคนในการคิดสิ่งใหมๆ

ท่ีแตกตางไปจากเดิม และใชประโยชนไดอยางเหมาะสม ความคิดสรางสรรคในการวิจัยครั้งนี้

ประกอบดวย ความคิดสรางสรรค 4 ดาน ดังนี้

1) ความคิดคลองตัว หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยแตละคนคิดไดอยางรวดเร็ว

ในปริมาณท่ีมากกวาคนอ่ืน ในระยะเวลาท่ีเทากัน

2) ความคิดยืดหยุน หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยแตละคนในการคิดได

หลายแบบ คิดไดหลายประเภท

3) ความคิดริเริ่ม หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยแตละคนท่ีมีความคิดใหม

กวาคนอ่ืน คิดในสิ่งท่ีแปลกใหมแตกตางจากความคิดแบบธรรมดา ท่ีแตกตางจากผูอ่ืน

4) ความคิดละเอียดลออ หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยแตละคนคิด

อยางรอบคอบ และสามารถบอกรายละเอียดในสิ่งที่คนอื่นมองไมเห็น เพื่อขยายความคิดหลัก

ใหสมบูรณยิ่งข้ึน

1.7.4 แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค หมายถึง แบบทดสอบท่ีใชวัดความคิดสรางสรรค

ของเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โดยวัดจากชิ้นงาน 3 ประเภท คือ

1) การวาดภาพ

2) การตอเติมภาพใหสมบูรณ

3) การฉีก ตัด ปะ

1.7.5 เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กท่ีมีอายุระหวาง 5–6 ป ที่กําลังศึกษาอยูที่โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555

Page 20: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

8

1.8 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัยในครั้งนี้ มีดังนี้

1.8.1 เปนแนวทางสําหรับผูท่ีสนใจใชชุดกิจกรรมตามแนวคิดไฮ–สโคป เพ่ือพัฒนาความคิด

สรางสรรคสําหรับนักเรียนในระดับชั้นอ่ืนๆ

1.8.2 ไดชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับ

เด็กปฐมวัย

Page 21: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

9

บทท่ี 2

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ในการวิจัยเรื่อง การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ในครั้งนี้ ผูวิจัยไดรวบรวมเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ดังนี้

2.1 หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546

2.1.1 หลักการและจุดมุงหมาย

2.1.2 โครงสรางของหลักสูตร

2.1.3 สาระการเรียนรู

2.1.4 การจดักิจกรรมประจําวัน

2.2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับความคิดสรางสรรค

2.2.1 ความหมายของความคิดสรางสรรค

2.2.2 ความสําคัญของความคิดสรางสรรคในเด็กปฐมวัย

2.2.3 ทฤษฎีของความคิดสรางสรรค

2.2.4 การวัดและทดสอบความคิดสรางสรรค

2.2.5 การพัฒนาความคิดสรางสรรคในเด็ก

2.2.6 งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับความคิดสรางสรรค

2.3 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับชุดกิจกรรม

2.3.1 ความหมายและประเภทของชุดกิจกรรม

2.3.2 องคประกอบของชุดกิจกรรม

2.3.3 การใชชุดกิจกรรมในจัดประสบการณสําหรับเด็กปฐมวัย

2.3.4 การใชชุดกิจกรรมกับการพัฒนาความคิดสรางสรรค

2.3.5 ข้ันตอนในการสรางชุดกิจกรรม

2.3.6 การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม

2.3.7 งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับชุดกิจกรรม

2.4 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

Page 22: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

10

2.4.1 ประวัติความเปนมาของการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

2.4.2 ทฤษฎีและหลักการท่ีเก่ียวของกับการการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

2.4.3 ความสําคัญของการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

2.4.4 กระบวนการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

2.4.5 งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

2.4.6 งานวิจัยตางประเทศ

2.1 หลกัสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546

2.2.1 หลักการและจุดมุงหมาย

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 (กรมวิชาการ, 2546ข, หนา 1–6) กลาวถึง

การศึกษาปฐมวัยวาเปนการจัดการศึกษาในลักษณะของการอบรมเลี้ยงดูและใหการศึกษาเด็กจะไดรับ

การพัฒนาท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาตามวัยและความสามารถของแตละบุคคล

ซ่ึงการจัดการศึกษาปฐมวัยนี้เปนการจัดการศึกษาสําหรับเด็กท่ีมีชวงอายุ 3-5 ป ใหไดรับการเตรียม

ความพรอมกอนท่ีจะเขาศึกษาในระดับประถมศึกษา ในการจัดการศึกษาปฐมวัยจะจัดตามหลักสูตร

การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ประกอบดวย

ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย

การศึกษาปฐมวัยเปนการพัฒนาเด็กตั้งแตแรกเกิดถึง 5 ป บนพ้ืนฐานการอบรมเลี้ยงดู และ

การสงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีสนองตอธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแตละคนตามศักยภาพ

ภายใตบริบทสังคม วัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยูดวยความรัก ความเอ้ืออาทรและความเขาใจของทุกคน

เพ่ือสรางรากฐานคุณภาพชีวิตใหเด็กพัฒนาไปสูความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ เกิดคุณคาตอตนเองและ

สังคม

หลักการ

หลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีสาระสําคัญดังนี้

1) สงเสริมกระบวนการเรียนรูและพัฒนาการท่ีครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกประเภท

2) ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและใหการศึกษาที่เนนเด็กเปนสําคัญ โดยคํานึงถึง

ความแตกตางระหวางบุคคล และวิถีชีวิตของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคมและวัฒนธรรมไทย

3) พัฒนาเด็กโดยองครวมผานการเลนกิจกรรมท่ีเหมาะกับวัย

4) จัดประสบการณการเรียนรูใหสามารถดํารงชีวิตประจําวันไดอยางมีคุณภาพและ

มีความสุข

5) ประสานความรวมมือระหวางครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก

Page 23: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

11

จุดมุงหมาย

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสําหรับเด็กอายุ 3–5 ป มุงใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย

อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ท่ีเหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกตางระหวางบุคคล

จึงกําหนดจุดหมายซ่ึงถือเปนมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ดังนี้

สําหรับเด็กอายุ 4-5 ป

การจัดการศึกษาปฐมวัยเปนการจัดการศึกษาในลักษณะของการอบรมเลี้ยงดู และใหการศึกษา

เด็กจะไดรับการพัฒนาท้ังทางดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญาตามวัยและความสามารถ

ของแตละบุคคล ซ่ึงมีจุดมุงหมายซ่ึงถือเปนมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ดังนี้

1) รางกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยท่ีดี

2) กลามเนื้อใหญและกลามเนื้อเล็กแข็งแรงใชไดอยางคลองแคลวและประสาน

สัมพันธกัน

3) มีสุขภาพจิตดี และมีความสุข

4) มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจท่ีดีงาม

5) ชื่นชม และแสดงออกทางศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว และรักการออกกําลังกาย

6) ชวยเหลือตนเองไดเหมาะสมกับวัย

7) รักธรรมชาติและสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม และความเปนไทย

8) อยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข

9) ใชภาษาสื่อสารไดเหมาะสมกับวัย

10) มีความสามารถในการคิด และแกปญหาไดเหมาะสมกับวัย

11) มีจินตนาการ และความคิดสรางสรรค

12) มีเจตคติท่ีดีตอการเรียนรู และมีทักษะในการแสวงหาความรู

เด็กอายุ 4 ป

พัฒนาการทางดานรางกาย

1) กระโดดขาเดียวอยูกับท่ีได

2) รับลูกบอลไดดวยมือท้ังสอง

3) เดินข้ึนลงบันไดสลับเทาได

4) เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได

5) ตัดกระดาษเปนเสนตรงได

6) กระฉับกระเฉงไมชอบอยูเฉย

พัฒนาการดานอารมณและจิตใจ

1) แสดงออกทางอารมณไดเหมาะสมกับบางสถานการณ

Page 24: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

12

2) เริ่มรูจักชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผูอ่ืน

3) ชอบทาทายผูใหญ

4) ตองการใหมีคนฟง คนสนใจ

พัฒนาการดานสังคม

1) แตงตัวไดดวยตนเอง ไปหองสวมไดเอง

2) เลนรวมกับคนอ่ืนได รอคอยตามลําดับกอนหลัง

3) แบงของใหคนอ่ืน

4) เก็บของเลนเขาท่ีได

พัฒนาการดานสติปญญา

1) จําแนกสิ่งตางๆ ดวยประสาทสัมผัสท้ัง 5 ได

2) บอกชื่อและนามสกุลของตนเองได

3) พยายามแกปญหาดวยตนเองหลังจากไดรับคําชี้แนะ

4) สนทนาโตตอบ/เลาเรื่องเปนประโยคอยางตอเนื่อง

5) สรางผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพ่ิมข้ึน

6) รูจักใชคําถาม “ทําไม”

เด็กอายุ 5 ป

พัฒนาการดานรางกาย

1) กระโดดขาเดียวไปขางหนาอยางตอเนื่องได

2) รับลูกบอลท่ีกระดอนข้ึนจากพ้ืนไดดวยมือท้ังสอง

3) เดินข้ึน ลงบันไดสลับเทาไดอยางคลองแคลว

4) เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได

5) ตัดกระดาษตามแนวเสนโคงท่ีกําหนด

6) ใชกลามเนื้อเล็กไดดี เชน ติดกระดุม ผูกเชือกรองเทา

7) ยืดตัวคลองแคลว

พัฒนาการดานอารมณและจิตใจ

1) แสดงอารมณไดสอดคลองกับสถานการณอยางเหมาะสม

2) ชื่นชมความสามารถในผลงานของตนเองและผูอ่ืน

3) ยึดตัวเองเปนศูนยกลางนอยลง

พัฒนาการดานสังคม

Page 25: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

13

1) ปฏิบัติกิจวัตรประจําวันไดดวยตนเอง

2) เลนหรือทํางานโดยมีจุดมุงหมายรวมกับผูอ่ืน

3) พบผูใหญ รูจักไหว ทําความเคารพ

4) รูจักขอบคุณ เม่ือรับของจากผูใหญ

5) รับผิดชอบงานท่ีไดรับมอบหมาย

พัฒนาการดานสติปญญา

1) บอกความแตกตางของกลิ่น สี เสียง รส รูปราง จําแนก และจัดหมวดหมูสิ่งของได

2) บอกชื่อ นามสกุล และอายุของตนเองได

3) พยายามหาวิธีแกปญหาดวยตนเอง

4) สนทนาโตตอบ/เลาเปนเรื่องราวได

5) สรางผลงานตามความคิดของตนเอง โดยมีรายละเอียดเพ่ิมข้ึนและแปลกใหม

6) รูจักใชคําถาม “ทําไม” “อยางไร”

7) เริ่มเขาใจสิ่งท่ีเปนนามธรรม

8) นับปากเปลาไดถึง 20

จากท่ีกลาวมาแลวสรุปไดวา มาตรฐานคุณลักษณะตามวัยเปนความสามารถตามวัยหรือ

พัฒนาการตามธรรมชาติของเด็กปฐมวัยโดยเมื่อเด็กถึงวัยนั้นๆ ผูสอนจําเปนตองทําความเขาใจ

คุณลักษณะตามวัย เพื่อนําไปพิจารณาจัดประสบการณใหเด็กแตละวัยไดอยางถูกตองเหมาะสม

ขณะเดียวกันจะตองสังเกตเด็กแตละดาน ซ่ึงมีความแตกตางระหวางบุคคล เพ่ือนําขอมูลท่ีไดไปชวยเหลือ

เพ่ือใหการพัฒนาเด็กไดเต็มความสามารถและศักยภาพ โดยมุงเนนพัฒนาการดานรางกาย อารมณ

จิตใจ สังคม และสติปญญา

2.1.2 โครงสรางของหลักสูตร

โครงสรางของหลักสูตรในการจัดการศึกษาปฐมวัย ใชระยะเวลาในการจัดประสบการณ

ใหกับเด็ก 1-3 ปการศึกษาโดยประมาณ ท้ังนี้ข้ึนอยูกับอายุของเด็กที่เริ่มเขาสูสถานศึกษาหรือ

สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

2.1.3 สาระการเรียนรู

สาระการเรยีนรู ใชเปนสื่อกลางในการจัดกิจกรรมใหกับเด็ก เพ่ือสงเสริมพัฒนาการทุกดาน

ท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ซ่ึงจําเปนตอการพัฒนาเด็กใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ

ท้ังนี้สาระการเรียนรูประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือกระบวนการและคุณลักษณะหรือคานิยม

คุณธรรม จริยธรรม ความรูสําหรับเด็ก 3-5 ป จะเปนเรื่องราวท่ีเก่ียวของกับตัวเด็ก บุคคลและสถานท่ี

Page 26: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

14

ท่ีแวดลอมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งตางๆ รอบตัวเด็กท่ีเด็กมีโอกาสไดใกลชิดหรือมีปฏิสัมพันธ

ในชีวิตประจําวันและเปนสิ่งท่ีเด็กสนใจจะไมเนนเนื้อหาการทองจํา ในสวนที่เกี่ยวของกับทักษะหรือ

กระบวนการจําเปนตองบูรณาการทักษะท่ีสําคัญและจําเปนสําหรับเด็ก เชน ทักษะการเคลื่อนไหว

ทักษะทางสังคม ทักษะการคิด ทักษะการใชภาษา คณิตศาสตรและวิทยาศาสตร เปนตน ขณะเดียวกัน

ควรปลูกฝงใหเด็กเกิดเจตคติท่ีดี มีคานิยมท่ีพึงประสงค เชน ความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอื่น

รักการเรียนรู รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และมีคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวัย เปนตน

ผูสอนสามารถนําสาระการเรียนรูมาจัดในลักษณะหนวยการสอนแบบบูรณาการหรือเลือกใช

วิธีการท่ีสอดคลองกับปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย สาระการเรียนรูแบงเปน 2 สวน ดังนี้

1) ประสบการณสําคัญ

ประสบการณสําคัญเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งสําหรับการพัฒนาเด็กทางดานรางกาย

อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาชวยใหเด็กเกิดทักษะที่สําคัญสําหรับการสรางองคความรู

โดยใหเด็กไดมีปฏิสัมพันธกับวัตถุ สิ่งของ บุคคลตางๆ ท่ีอยูรอบตัว รวมท้ังปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม

ไปพรอมกัน ประสบการณสําคัญ มีดังนี้

(1) ประสบการณสําคัญท่ีสงเสริมพัฒนาการดานรางกาย ไดแก

ก. การทรงตัวและการประสานสัมพันธของกลามเนื้อใหญ

ข. การประสานสัมพันธของกลามเนื้อเล็กเชน การเลนเครื่องเลนสัมผัส

การเขียนภาพและการเลนกับสี การปนและประดิษฐสิ่งตางๆ ดวยดินเหนียว ดินน้ํามัน แทงไม เศษวัสด ุ

การตอของ บรรจุ เท และแยกชิ้นสวน

ค. การรักษาสุขภาพ และการปฏิบัติตนตามสุขอนามัย

ง. การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ่ืนในกิจวัตรประจําวัน

(2) ประสบการณสําคัญท่ีสงเสริมพัฒนาการดานอารมณและจิตใจ ไดแก

ก. ดนตรี การแสดงปฏิกิริยาโตตอบเสียงดนตรี การเลนเครื่องดนตรีงายๆ เชน

เครื่องดนตรีประเภทเคาะ ประเภทตี การรองเพลง

ข. การชื่นชมและสรางสรรคสิ่งสวยงาม การแสดงออกอยางสนุกสนานกับ

เรื่องตลก ขําขัน และเรื่องราว/เหตุการณท่ีสนุกสนานตางๆ

ค. การเลน เชน การเลนอิสระ การเลนรายบุคคล การเลนเปนกลุมการเลน

ในหองเรียนและนอกหองเรียน

ง. คุณธรรม จริยธรรม และการปฏิบัติตนตามหลักศาสนาท่ีนับถือ

(3) ประสบการณสําคัญท่ีสงเสริมพัฒนาการดานสังคม ไดแก

ก. การเรียนรูทางสังคม

ข. การปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของตนเอง

Page 27: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

15

ค. การเลนและการทํางานรวมกับผูอ่ืน

ง. การวางแผน ตัดสินใจเลือก และลงมือปฏิบัติ

จ. การมีโอกาสไดรับรูความรูสึก ความสนใจ และความตองการของตนเองและ

ผูอ่ืน

ฉ. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเคารพความคิดเห็นของผูอ่ืน

ช. การแกปญหาในการเลน

ซ. การปฏิบัติตามวัฒนธรรมทองถ่ินท่ีอาศัยอยูและความเปนไทย

(4) ประสบการณสําคัญท่ีสงเสริมพัฒนาการดานสติปญญา ไดแก

ก. การคิด

ข. การใชภาษา

ค. การสังเกต การจําแนก และการเปรียบเทียบ

ง. จํานวน

จ. มิติสัมพันธ

ฉ. เวลา

2) สาระท่ีควรเรียนรู

สาระท่ีควรเรียนรู เปนเรื่องราวรอบตัวเด็กท่ีนํามาเปนสื่อในการจัดกิจกรรมใหเด็ก

เกิดการเรียนรู ไมเนนการทองจําเนื้อหา ผูสอนสามารถกําหนดรายละเอียดขึ้นเองใหสอดคลองกับวัย

ความตองการ และความสนใจของเด็ก โดยใหเด็กไดเรียนรูผานประสบการณสําคัญที่ระบุไวขางตน

ท้ังนี้อาจยืดหยุนเนื้อหาได โดยคํานึงถึงประสบการณและสิ่งแวดลอมในชีวิตจริงของเด็ก สาระท่ีเด็กอายุ

3-5 ป ควรเรียนรู มีดังนี้

(1) เรื่องราวเก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรรูจักชื่อ นามสกุล รูปรางหนาตา รูจักอวัยวะตางๆ

วิธีระวังรักษารางกายใหสะอาด ปลอดภัย เรียนรูท่ีจะเลนและทําสิ่งตางๆ ดวยตนเองคนเดียวหรือ

กับผูอ่ืน ตลอดจนเรียนรูท่ีจะแสดงความคิดเห็น ความรูสึก และแสดงมารยาทท่ีดี

(2) เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก เด็กควรไดมีโอกาสรูจักและ

รับรูเรื่องราวเก่ียวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน รวมท้ังบุคคลตางๆ ท่ีเด็กตองเก่ียวของหรือมีโอกาส

ใกลชิด และมีปฏิสัมพันธในชีวิตประจําวัน

(3) ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรจะได เรียนรู สิ่ ง มีชี วิต สิ่ ง ไม มีชี วิตรวมท้ัง

ความเปลี่ยนแปลง ของโลกท่ีแวดลอมเด็กตามธรรมชาติ เชน ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน

(4) สิ่งตางๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรจะไดรูจัดสี ขนาด รูปราง รูปทรง น้ําหนัก ผิวสัมผัส

สิ่งของตางๆ รอบตัว สิ่งของเครื่องใช ยานพาหนะและการสื่อสารตางๆ ท่ีใชอยูในชีวิตประจําวัน

Page 28: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

16

2.1.4 การจัดกิจกรรมประจําวัน

กิจกรรมสําหรับเด็กอายุ 3-5 ป สามารถนํามาจัดเปนกิจกรรมประจําวันไดหลายรูปแบบ

เปนการชวยใหท้ังผูสอนและเด็กทราบวาแตละวันจะทํากิจกรรมอะไร เมื่อใด และอยางไร การจัด

กิจกรรมประจําวันมีหลักการจัดและขอบขายของกิจกรรมประจําวัน ดังนี้

1) หลักการจัดกิจกรรมประจําวัน

(1) กําหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแตละกิจกรรมใหเหมาะสมกับวัยของเด็ก

ในแตละวัน

(2) กิจกรรมท่ีตองใชความคิด ท้ังในกลุมเล็กและกลุมใหญ ไมควรใชเวลาตอเนื่อง

นานเกิน 20 นาที

(3) กิจกรรมท่ีเด็กมีอิสระเลือกเลนเสรี เชน การเลนตามมุม การเลนกลางแจง

ควรใชเวลาประมาณ 40-60 นาที

(4) กิจกรรมควรมีความสมดุลระหวางกิจกรรมในหองและนอกหอง กิจกรรมท่ีใช

กลามเนื้อใหญและกลามเนื้อเล็ก กิจกรรมท่ีเปนรายบุคคล กลุมยอยและกลุมใหญ กิจกรรมท่ีเด็ก

เปนผูริเริ่มและผูสอนเปนผูริเริ่ม และกิจกรรมท่ีใชกําลังและไมใชกําลัง ควรจัดใหครบทุกประเภท ท้ังนี้

กิจกรรมท่ีตองออกกําลังกายควรจัดสลับกับกิจกรรมท่ีไมตองออกกําลังมากนักเพ่ือเด็กจะไดไมเหนื่อย

เกินไป

2) ขอบขายของกิจกรรมประจําวัน การเลือกกิจกรรมท่ีจะนํามาจัดในแตละวันตองให

ครอบคลุมสิ่งตอไปนี้

(1) การพัฒนากลามเนื้อใหญ เพ่ือใหเด็กไดพัฒนาความแข็งแรงของกลามเนื้อใหญ

การเคลื่อนไหวและความคลองแคลวในการใชอวัยวะตางๆ จึงควรจัดกิจกรรมโดยใหเด็กไดเลนอิสระ

กลางแจง เลนเครื่องเลนสนาม เคลื่อนไหวรางกายตามจังหวะดนตรี

(2) การพัฒนากลามเนื้อเล็ก เพ่ือใหเด็กไดพัฒนาความแข็งแรงของกลามเนื้อเลก็

การประสานสัมพันธระหวางมือและตา จึงควรจัดกิจกรรมโดยใหเด็กไดเลนเครื่องเลนสัมผัส เลนเกม

ตอภาพ ฝกชวยเหลือตนเองในการแตงกาย หยิบจับชอนสอมใชอุปกรณศิลปะ เชน สีเทียน กรรไกร

พูกัน ดินเหนียว

(3) การพัฒนาอารมณ จิตใจ และปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม เพ่ือใหเด็กมีความรูสึก

ท่ีดีตอตนเองและผูอ่ืน มีความเชื่อม่ัน กลาแสดงออก มีวินัยในตนเอง รับผิดชอบ ซ่ือสัตย ประหยัด

เมตตากรุณา เอ้ือเฟอ แบงปน มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาท่ีนับถือ จึงควร

จัดกิจกรรมตางๆ ผานการเลน ใหเด็กไดมีโอกาสตัดสินใจเลือก ไดรับการตอบสนอง ตามความตองการ

ไดฝกปฏิบัติโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ตลอดเวลาท่ีโอกาสเอ้ืออํานวย

Page 29: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

17

(4) การพัฒนาสังคมนิสัย เพ่ือใหเด็กมีลักษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอยางเหมาะสม

และอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ชวยเหลือตนเองในการทํากิจวัตรประจําวันมีนิสัยรักการทํางาน

รูจักระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผูอื่น จึงควรจัดใหเด็กไดปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน

อยางสมํ่าเสมอ เชน รับประทานอาหาร พักผอนนอนหลับ ขับถาย ทําความสะอาดรางกาย เลนและ

ทํางานรวมกับผูอ่ืน ปฏิบัติตามกฎกติกา ขอตกลงของสวนรวม เก็บของเขาท่ีเม่ือเลนหรือทํางานเสร็จ

(5) การพัฒนาการคิด เพ่ือใหเด็กไดพัฒนาความคิดรวบยอด สังเกต จําแนก

เปรียบเทียบ จัดหมวดหมู เรียงลําดับเหตุการณ แกปญหา จึงควรจัดกิจกรรมใหเด็กไดสนทนา

อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก คนควาจากแหลงขอมูลตางๆ ทดลอง

ศึกษานอกสถานท่ี ประกอบอาหาร หรือจัดใหเด็กไดเลนเกมการศึกษาท่ีเหมาะสมกับวัยอยางหลายหลาย

ฝกการแกปญหาในชีวิตประจําวันและในการทํากิจกรรมท้ังท่ีเปนกลุมยอย กลุมใหญ หรือรายบุคคล

(6) การพัฒนาภาษา เพ่ือใหเด็กไดมีโอกาสใชภาษาสื่อสาร ถายทอดความรูสึกนึกคิด

ความรูความเขาใจในสิ่งตางๆ ท่ีเด็กมีประสบการณ จึงควรจัดกิจกรรมทางภาษาใหมีความหลากหลาย

ในสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนรู มุงปลูกฝงใหเด็กรักการอานและบุคลากรที่แวดลอมตองเปน

แบบอยางท่ีดีในการใชภาษา ท้ังนี้ตองคํานึงถึงหลักการจัดกิจกรรม ทางภาษาที่เหมาะสมกับเด็ก

เปนสําคัญ

(7) การสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เพ่ือใหเด็กไดพัฒนาความคิด

ริเริ่มสรางสรรค ไดถายทอดอารมณความรูสึกและเห็นความสวยงามของสิ่งตางๆ รอบตัว โดยใชกิจกรรม

ศิลปะและดนตรีเปนสื่อ ในการเคลื่อนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ใหประดิษฐสิ่งตางๆ อยางอิสระ

ตามความคิดริเริ่มสรางสรรคของเด็ก เลนบทบาทสมมติในมุมเลนตางๆ เลนน้ํา เลนทราย เลนกอสราง

สิ่งตางๆ เชน แทงไม รูปทรงตางๆ

จากหลักการ แนวคิดและจุดมุงหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 พบวา

มีจุดมุงหมายท่ีมุงเนนใหเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการท้ังทางดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคมและสติปญญา

มีความพรอมท่ีจะไดรับการศึกษาตอในระดับประถมศึกษา ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยเปนผูจัดการศึกษา

ใหกับเด็กปฐมวัย มีความมุงเนนท่ีจะสงเสริมใหเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทุกๆ ดานตามท่ีหลักสูตรกําหนด

และมุงหวังท่ีจะพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยสูงข้ึน ซ่ึงเปนท่ียอมรับวาความคิดสรางสรรค

มีอยูในคนทุกคนและเปนความสามารถทางสติปญญาท่ีสามารถพัฒนาไดตั้งแตวัยเด็กความคิดสรางสรรค

เกิดข้ึนไดทุกวัย เด็กอายุ 5–6 ป จะเปนวัยท่ีมีความคิดสรางสรรคสูงสุด อยางไรก็ตามชวงวัยอ่ืนๆ

ความคิดสรางสรรคก็สามารถพัฒนาอันเปนผลมาจากสิ่งแวดลอมอ่ืนๆ ประกอบดวยมิใชอายุท่ีเพ่ิมข้ึน

อยางเดียว เชน กฎ ระเบียบ เกณฑ วัฒนธรรมประเพณีท่ีเด็กเรียนรูควบคูกับอายุท่ีเพ่ิมข้ึน (Torrance,

1965; อางถึงใน ฌานิกา จงบุรี, 2551, หนา 17)

Page 30: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

18

2.2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความคิดสรางสรรค

2.2.1 ความหมายของความคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรค (creativity) เปนศักยภาพทางสมองท่ีมีอยูในทุกๆ คน และเปนสิ่งท่ีมี

สวนชวยใหเกิดอารยธรรมตางๆ ข้ึนในสังคมมนุษย ทําใหเกิดการคนพบการประดิษฐอุปกรณหรือ

เทคโนโลยีมากมายท่ีชวยอํานวยความสะดวกใหกับเรา การศึกษาคนควาเรื่องความคิดสรางสรรคนั้น

ไดกระทํากันอยางแพรหลาย ซ่ึงมีผูใหนิยามของความคิดสรางสรรค ในหลายแงมุมดวยกัน ดังนี้

กิลฟอรด (Guilford, 1967, หนา 61; อางถึงใน กาญจนา สองแสน, 2551, หนา 30)

ใหความหมายวาความคิดสรางสรรคเปนลักษณความคิดอเนกนัย (divergent thinking) คือความคิด

หลายทิศทางหลายแงหลายมุม คิดไดกวางไกล ลักษณะความคิดเชนนี้จะนําไปสูความคิดประดิษฐ

สิ่งแปลกใหม รวมท้ังการคิดหาวิธีการแกปญหาไดสําเร็จดวย ความคิดอเนกนัย ประกอบดวยความคิด

ริเริ่ม (originality) ความคิดคลองตัว (fluency) ความคิดยืดหยุน (flexibility) และความคิดละเอียดลออ

(elaboration) ซ่ึงสอดคลองกับ ทอรแรนซ (Torrance, 1963; อางถึงใน อารี พันธมณี, 2545, หนา 16)

ไดใหความหมายของความคิดสรางสรรค วิธีการเรียนรูของบุคคลท่ีมีความคิดสรางสรรคชอบการเรียนรู

โดยใชการตั้งคําถาม ซักถาม เสาะแสวงหาทดลองเพื่อพยายามที่จะคนพบความจริงหรือคําตอบ

ดวยตนเอง

เทเลอร (Taylor, 1964, 108–109; อางถึงใน อารี พันธมณี, 2546, หนา 154) ไดใหความหมาย

ของความคิดสรางสรรควาเปนความคิดท่ีจะยอนกลับเพ่ือแกปญหาแนวทางใหม ซ่ึงความคิดสรางสรรค

ประกอบดวยความคิดคลองแคลวในการคิด เปนการกระตุนความคิดจากภายใน และการรวมกันใช

ความคิดเหลานี้เพ่ือใหเกิดความคลองตัวและความม่ันใจมากข้ึน ความคิดยืดหยุนเปนการพิจารณา

ปญหาไดหลายแงมุมและความคิดริเริ่มเปนการพิจารณาสิ่งตางๆ ในทางท่ีแปลกใหม

อารี พันธมณี (2545, หนา 5-6) ไดกลาวถึงความคิดสรางสรรควาเปนกระบวนการทางสมอง

ท่ีคิดในลักษณะอเนกนัยนําไปสูการคิดคนพบสิ่งแปลกใหมดวย การคิดดัดแปลงปรุงแตงจากความคิดเดิม

ผสมผสานกันใหเกิดสิ่งใหม การประดิษฐคนพบสิ่งตางๆ ตลอดจนวิธีการคิดทฤษฎีหลักการไดสําเร็จ

ซ่ึงความคิดสรางสรรคไดท้ังการคิดในสิ่งท่ีเปนไปได

วนิช สุธารัตน (2547, หนา 164) กลาววาความคิดสรางสรรคเปนความคิดท่ีเกิดข้ึนตอเนื่อง

จากจินตนาการโดยมีลักษณะท่ีแตกตางไปจากความคิดของบุคคลอ่ืน ความคิดสรางสรรคอาศัยพ้ืนฐาน

จากประสบการณเดิม คือ ความรู ขอมูลขาวสาร การศึกษาเหตุผล และการใชปญญาในการจัดสราง

รูปแบบของความคิดในรูปแบบใหม อาจแสดงออกมาเปนรูปธรรมอยางประจักษชัดหรือมีลักษณะเปน

นามธรรม ซ่ึงจะเปนพ้ืนฐานใหมีความคิดเชื่อมโยง จนเกิดความประจักษชัดและกอใหเกิดการคนพบ

Page 31: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

19

สิ่งใหมๆ ทําใหเกิดเปนผลงานทางศิลปะและวิทยากรสาขาตางๆ รวมท้ังผลงานทางวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี อันเปนประโยชนแกสังคม ประเทศชาติและมนุษยชาติ

จากความหมายของความคิดสรางสรรคดังท่ีกลาวมาแลวสรุปไดวา ความคิดสรางสรรค

เปนความสามารถของแตละบุคคลในการผสมผสานเชื่อมโยงความรูและประสบการณที่มีอยู

เพ่ือการแกปญหา หรือคิดคนสิ่งใหมๆ ดวยวิธีการท่ีแปลกใหมไมซํ้าแบบเดิม การที่คนมีความคิด

สรางสรรคยอมท่ีจะคิดแกปญหา หรือพัฒนาตนเองไดดีกวาผูอ่ืน นิยามศัพทขางตนสรุปไดวาความคิด

สรางสรรคประกอบดวย 4 ลักษณะ คือ ไดแก ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม และ

ความคิดละเอียดลออ

2.2.2 ความสําคัญของความคิดสรางสรรคในเด็กปฐมวัย

ความคิดสรางสรรคมีความสําคัญและความจําเปนสําหรับบุคคลและสังคมมาก

เพราะความคิดสรางสรรค สามารถประยุกตใหเกิดนวัตกรรมที่เปนประโยชนในการสรางสรรคสังคม

และความเจริญกาวหนาในดานตางๆ เชน การแพทย การเกษตร การคมนาคม และการแกปญหา

สภาพแวดลอมและดานอ่ืนๆ ผู ท่ี มีความคิดสรางสรรคจะมีความคิดใหมๆ เกิดขึ้นในสมอง

แลวแปลความคิดนั้นออกมาเปนการกระทํา (Torrance, 1965; อางถึงใน ฌานิกา จงบุรี, 2551,

หนา 12) ความคิดสรางสรรคจึงชวยใหมนุษยคนพบสิ่งแปลกใหมที่เปนประโยชนตอการดํารงชีวิต

ความคิดสรางสรรคกอใหเกิดการผลิตและนําเอาความรูใหมๆ ทางวิชาการไปใชใหเกิดประโยชน เชน

ความคิดสรางสรรค ทางการศึกษากอใหเกิดแนวคิด ทฤษฎีและวิชาการใหมๆ ซ่ึงนําไปสูการปรับปรุง

กระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ความคิดสรางสรรคทางภาษา ศิลปะ ดนตรี

กอใหเกิดผลงานใหมๆ ท่ีมีคุณคาตอมนุษยท้ังดานอารมณและการดํารงชีวิต

อารี รังสินันท (2526, หนา 5) และเจอรซิล (Jersild, 1972, pp. 153-158; อางถึงใน อารี

พันธมณี, 2546, หนา 156-157) กลาววา ความคิดสรางสรรคมีความสําคัญในการชวยสงเสริมเด็ก

ในดานตางๆ มีประโยชนท้ังตอตัวเด็กและสังคม ดังนี้

1) ความสําคัญตอตัวเด็ก

(1) ลดความเครียดทางอารมณ บุคคลท่ีมีความคิดสรางสรรคตองการแสดงออก

อยางอิสระท้ังความคิดและการปฏิบัติ มีความมุงม่ันจริงจังในสิ่งท่ีคิด หากไดทําตามท่ีคิดจะทําให

ลดความเครียดและความกังวล เพราะไดตอบสนองความตองการพ้ืนฐานของตนเอง ซึ่งลักษณะตางๆ

ท่ีบุคคลสรางสรรคตองการตอบสนอง ไดแก ความอยากรูอยากเห็น ความสนใจที่จะศึกษาคนควา

เผชิญกับสิ่งท่ีทาทายความสามารถ เปนตน

(2) มีความสนุกสนาน เพลิดเพลินและเปนสุข บุคคลที่มีความคิดสรางสรรค

เม่ือไดทําสิ่งท่ีตนไดคิดไดเลนไดทดลองกับความคิดจะรูสึกพอใจตื่นเตนกับผลงานท่ีเกิดข้ึนจะทํางาน

อยางเพลิดเพลินทุมเทอยางจริงจัง และเต็มกําลังความสามารถและทําอยางเปนสุข แมจะเปนงานหนัก

Page 32: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

20

แตจะเปนเรื่องท่ีงายและเบา จะเห็นไดวาการทํางานของศิลปน นักวิทยาศาสตรและนักสรางสรรค

สาขาตางๆ จะใชเวลาทํางานติดตอกันครั้งละหลายๆ ชั่วโมง และทําอยางตอเนื่องนานหลายปจนคนพบ

บางสิ่งบางอยางท่ีสามารถผลิตผลงานสรางสรรคข้ึนมาได

(3) มีความภาคภูมิใจและเชื่อม่ันในตนเอง การไดทําในสิ่งที่ตนคิด ไดทดลอง

ไดปฏิบัติจริงเม่ืองานนั้นประสบความสําเร็จจะทําใหบุคคล เกิดความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในตนเอง

หากงานนั้นไมสําเร็จบุคคลท่ีมีความคิดสรางสรรคจะเขาใจและยอมรับผลท่ีเกิดข้ึน ไดเรียนรูและ

คนพบบางสิ่งบางอยาง ความไมสําเร็จชวงนี้จะเปนพ้ืนฐานใหเกิดความมานะพยายามและมีความกลา

ท่ีจะกาวไปขางหนาเพ่ือความสําเร็จตอไป

(4) สรางนิสัยในการทํางานที่ดี ขณะที่เด็กทํางาน เด็กจะไดเรียนรูการทํางาน

ท่ีเปนระเบียบ และนิสัยท่ีดีในการทํางานโดยครูชี้แนะ และหัดใหเด็กมีวินัย เชน รูจักเก็บของเขาท่ี

ลางมือเม่ือทํางานเสร็จ

(5) เปดโอกาสใหเด็กไดสํารวจ คนควาทดลอง เด็กจะชอบทํากิจกรรมและใชวัสดุ

ตางกันเพ่ือสรางสิ่งตางๆ ซ่ึงเปนโอกาสท่ีเด็กจะใชความคิดริเริ่มและจินตนาการของเขาสรางสิ่งใหมข้ึน

โดยครูควรจัดหาวัสดุไวใหเด็กมีโอกาสพัฒนาการทดลองของตน เชน กลองยาสีฟน เปลือกไขและ

เศษวัสดุเหลือใช เพ่ือใหเขาฝกสมมติเปนนักกอสรางหรือสถาปนิก

2) ความสําคัญตอสังคม

(1) ทําใหสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง เพราะผลงานสรางสรรคนํามาซ่ึงความแปลกใหม

ทําใหสังคมเจริญกาวหนา ถาสังคมหยุดนิ่งจะทําใหสังคมนั้นลาหลัง

(2) คิดประดิษฐสิ่งของเครื่องใชและเครื่องอํานวยความสะดวก เชน เครื่องจักรกล

รถแทรกเตอร รถยนต เครื่องวิดน้ํา เครื่องนวดขาว เครื่องเก็บผลไม เครื่องบด สิ่งเหลานี้

ชวยในการผอนแรงของมนุษยไดมาก ชวยลดความเหนื่อยยากลําบากไดมาก และไมตองทํางานหนัก

ทําใหชีวิตมีความสุขมากข้ึน

(3) ชวยใหเกิดความสะดวกสบาย รวดเร็ว เชน การคนพบรถจักรยานยนต เรือท่ีใช

เครื่องจักร รถไฟ เครื่องบิน ยานอวกาศ ทําใหการคมนาคม ติดตอกัน การเดินทางขนสงสะดวกสบาย

กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู ความคิด ความเขาใจกันมากยิ่งข้ึน

(4) เพ่ิมความปลอดภัยในชีวิตและการมีชีวิตท่ียืนยาวข้ึน การคนพบทางการแพทย

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหชีวิตมนุษยไมตองเสี่ยงอันตราย การคนพบยารักษาโรควัณโรค เปนตน

การคนพบความรูใหมๆ ในเรื่องโภชนาการ การออกกําลังกาย การดูแลสุขภาพอนามัย ท้ังรางกายและ

จิตใจ ทําใหคนมีชีวิตยืนยาวข้ึน

(5) ชวยประหยัดแรงงานและเศรษฐกิจ ผลการคนพบในดานตางๆ ทางวิทยาศาสตร

เทคโนโลยี การแพทย การศึกษา การเกษตรชวยใหมนุษยมีเวลามากข้ึนสามารถนาํพลังงานไปใช

Page 33: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

21

ทําอยางอ่ืนเพ่ือกอใหเกิดรายไดและเพ่ิมพูนเศรษฐกิจไดมากข้ึน มีเวลาหาความรู ชื่นชมกับความงาม

สุนทรียภาพและศิลปะไดมากยิ่งข้ึน

(6) ชวยในการแกปญหาสังคม เนื่องจากสภาพสังคมเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

จําเปนตองคิดหรือหาวิธีใหมๆ มาใชในการแกปญหาท่ีเพ่ิมมากข้ึนใหหมดไป

(7) ชวยใหเกิดความเจริญกาวหนาและดํารงไวซึ่งมนุษยชาติ ความคิดสรางสรรค

ดานวิทยาศาสตรการแพทย ศิลปะ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง เปนตน ชวยยกมาตรฐาน

การดํารงชีวิต ทําใหมนุษยเปนสุขและสามารถสรางสรรคสังคมใหเจริญข้ึนตามลําดับ

ความคิดสรางสรรคใหความสนุกสนานและความพอใจของเด็ก และมีอิทธิพลตอบุคลิกภาพ

ของเด็กมาก นอกจากนี้การท่ีบุคคลสามารถสรางสรรคสิ่งใหมๆ นั้นนับวาเปนสิ่งท่ีมีคุณคาเปนอยางยิ่ง

อยางไรก็ตามสิ่งท่ีผูมีความคิดสรางสรรคไดคิดอาจนํามาเปนใชไดท้ังในทางท่ีเปนประโยชน และทําให

เกิดโทษเปนอันตรายได ดังนั้นการสงเสริมความคิดสรางสรรคโดยเฉพาะในเด็ก จึงจําเปนตองเนนให

ผู เ ก่ียวของเขาใจตรงกันวา จะตองสงเสริมความคิดสรางสรรคใหเด็กในทางท่ีเปนประโยชน

เพ่ือใหความคิดสรางสรรคเปนสิ่งท่ีมีคุณคาตอสังคมในสวนรวมและตนเอง เฮอรลอค (Hurlock, 1972;

อางถึงใน ฌานิกา จงบุรี, 2551, หนา 13)

จะเห็นไดวา ความคิดสรางสรรคมีความสําคัญตอเด็กอยางยิ่งและเด็กควรไดรับการปลูกฝง

ใหรูจักการปลูกฝงใหรูจักคิดสรางสรรคตั้งแตเยาววัย เพราะความคิดสรางสรรคนอกจากจะเปนประโยชน

ตอตนเองโดยใหตนเองโอกาสแสดงศักยภาพทางสติปญญาแลว ความคิดสรางสรรคยังใหประโยชน

ทางสังคม โดยดูจากความกาวหนาทางสังคมทุกๆ ดานเกิดจากนวัตกรรมแปลกใหมที่เปนผลมาจาก

ความคิดสรางสรรคท้ังสิ้น

จากความสําคัญดังกลาว นักการศึกษาจึงทําการศึกษาที่มาของความคิดสรางสรรคและ

ไดนําเสนอแนวคิดและทฤษฎี ดังนี้

2.2.3 ทฤษฎีความคิดสรางสรรค

ทฤษฎท่ีีเก่ียวของกับความคิดสรางสรรคท่ีนักวิชาการกลาวถึงมีดังนี้

1) ทฤษฎีของ ทอแรนซ (Torrance, 1965; อางถึงใน ฌานิกา จงบุรี, 2551, หนา 17)

ความคิดสรางสรรคเปนกระบวนการแกปญหาอยางสรางสรรค ความคิดแกปญหาเปนความสามารถ

ของบุคคลในการแกปญหาดวยความลึกซ้ึงท่ีนอกเหนือไปจากลําดับข้ันตอนของการคิดอยางปกติ

ธรรมดาอันเปนลักษณะภายในของบุคคลท่ีจะคิดหลายแงมุมผสมผสานจนไดรับความคิดแปลกใหม

เปนความคิดแปลกไปจากบุคคลอ่ืนและมีผลงานไมซํ้าใคร สิ่งท่ีนาสนใจคือ ทอแรนซ ไดยืนยันวา

ความคิดสรางสรรคเกิดข้ึนไดทุกวัย เด็กอายุ 5–6 ป จะเปนวัยท่ีมีความคิดสรางสรรคสูงสุด อยางไรก็ตาม

ชวงวัยอ่ืนๆ ความคิดสรางสรรคก็สามารถพัฒนาอันเปนผลมาจากสิ่งแวดลอมอ่ืนๆ ประกอบดวยมิใช

Page 34: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

22

อายุท่ีเพ่ิมข้ึนอยางเดียว เชน กฎเกณฑ ระเบียบ วัฒนธรรมประเพณีท่ีเด็กเรียนรูควบคูกับอายุท่ีเพ่ิมข้ึน

ความคิดสรางสรรคในรูปแบบของการแกปญหาตามทฤษฎีของทอแรนซ มีข้ันตอนตอไปนี้

(1) การคนหาขอเท็จจริง (fact finding) เริ่มจากความกังวลวุนวายสับสน

ยังไมสามารถคนหาสาเหตุของปญหา

(2) การคนพบปญหา (problem finding) คิดจนเขาใจสาเหตุของปญหา

(3) การคนพบแนวคิด (idea finding) ตั้งสมมติฐานแล ะรวบรวมขอมูล

(4) การคนพบคําตอบ (solution finding) การทดสอบสมมติฐานโดยการคนพบ

คําตอบ

(5) การยอมรับผลจากการคนพบ (acceptance finding) การยอมรับคําตอบและ

หาแนวทางท่ีคิดสิ่งใหม

จากท่ีกลาวมา ความคิดสรางสรรคเปนกระบวนการที่สงเสริมการแกปญหา

อยางสรางสรรคตามลําดับข้ันตอนและการผสมผสานความคิดแปลกใหมเพ่ือใหเกิดการพัฒนาความคิด

ของบุคคลใหเต็มตามศักยภาพโดยเนนกฎเกณฑใหเด็กเรียนรูตามอายุและความเหมาะสมของเด็ก

2) ทฤษฎีของเทเลอร

นักการศึกษาและนักวิชาการไดทําการศึกษาเก่ียวกับความคิดสรางสรรค ดังนี้

ทฤษฎีของ เทเลอร (Tayler, 1964; อางถึงใน บุศรา จิตวรรณา, 2551, หนา 24-25)

ไดใหขอคิดของทฤษฎีวา ผลงานของความคิดสรางสรรคของคนนั้น ไมจําเปนตองเปนข้ันสูงสุดเสมอไป

คือ ไมจําเปนตองคิดคนควาประดิษฐของแปลกที่ยังไมมีใครคิดมากอนเลย หรือสรางทฤษฎีที่ตองใช

การคิดคนดานนามธรรมอยางสูงยิ่ง แตความคิดสรางสรรคของคนนั้นอาจใชข้ันใดข้ันหนึ่ง ใน 6 ข้ัน

ตอไปนี้

ข้ันท่ี 1 เปนความคิดสรางสรรคข้ันตนสุด เปนสิ่งธรรมดาสามัญ เปนพฤติกรรม

หรือการแสดงออกของตนอยางอิสระ ซ่ึงพฤติกรรมนั้นไมจําเปนตองอาศัยความคิดริเริ่ม และทักษะ

แตอยางหนึ่งอยางใด คือเปนเพียงใหกลาแสดงออกอยางอิสระเทานั้น

ข้ันท่ี 2 เปนงานท่ีผลิตออกมาโดยท่ีผลงานนั้นจําเปนตองอาศัยทักษะบางประการ

แตไมจําเปนตองเปนสิ่งใหม

ข้ันท่ี 3 ข้ันสรางสรรคเปนข้ันท่ีแสดงถึงความคิดแปลกใหมของบุคคลไมได

ลอกเลียนแบบมาจากใคร แมวางานนั้นจะมีคนอ่ืนคิดไวแลวก็ตาม

ข้ันท่ี 4 เปนข้ันความคิดสรางสรรค ข้ันประดิษฐสิ่งใหมๆ โดยไมซํ้าแบบใครเปนข้ัน

ท่ีผูกระทําไดแสดงใหเห็นความสามารถท่ีแตกตางไปจากผูอ่ืน

ข้ันท่ี 5 เปนข้ันการพัฒนาปรับปรุงผลงานใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน

ข้ันท่ี 6 เปนความคิดสรางสรรคสุดยอดสามารถคิดสิ่งท่ีเปนนามธรรมข้ันสูงสุดได

Page 35: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

23

ทฤษฎีความคิดสองลักษณะนี้เก่ียวของกับการทํางานของสมองมนุษยโดยตรง

เพราะความคิดสรางสรรคเกิดจากการทํางานของสมองซีกขวา ซ่ึงทําหนาท่ีคิดจินตนาการ คิดแปลกๆ

ใหมๆ ความซาบซ้ึงในดนตรี ศิลปะ วรรณคดี เปนตน สวนสมองซีกซายเปนสวนท่ีคิดและทํางาน

ออกมาเปนรูปธรรม เชน การวิเคราะห การหาเหตุผล กฎเกณฑ

สมองซีกซาย สมองซีกขวา

- สรรหาถอยคํา - ไมมีถอยคํา

- วิเคราะห - สังเคราะห

- ใชเหตุผล - หยั่งรูเอง

- เชิงตรรกวิทยา - ความคิดเชิงสรางสรรค

- ความแบงแยก - ความเปนอันหนึ่งอันเดียว

- มีกาลเวลา - ไมมีกาลเวลา

- โนมเอียงเขาหากฎเกณฑ - โนมเอียงเขาหากฎเกณฑของดนตรี

ทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร และศิลปะ

จากท่ีกลาวมาแลวสรุปไดวา การสรางความคิดสรางสรรคเปนกระบวนการทํางาน

ของสมองซีกซายและขวาเพ่ือสรางความคิดสรางสรรคหรือสรางผลงานโดยผานข้ันตอนหรือการประดิษฐ

ผลงานท่ีหลากหลายในลักษณะท่ีแตกตางกัน จากท่ีกลาวมาแลวความคิดสรางสรรคมีอยูในตัวบุคคลทุกคน

แตจะมีมากหรือนอยข้ึนอยูกับสิ่งเราตางๆ หากไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบ มีขั้นตอนและ

ใหสามารถแสดงออกทางความคิดสรางสรรคไดอยางถูกวิธีก็จะทําใหบุคคลนั้นเกิดความคิดสรางสรรค

มากข้ึน

3) ทฤษฎีโครงสรางสมรรถภาพทางสมองหรือทฤษฎีโครงสรางทางสติปญญา กิลฟอรด

(Guilford, 1968; อางถึงใน อารี รังสินันท, 2526, หนา 24-29) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันไดศึกษาวิจัย

การวิเคราะหตัวประกอบ (factor analysis) ทางสติปญญาเปนเวลาประมาณ 20 ป โดยคนพบความคิด

เอกนัยและอเนกนัยเปนความคิดสรางสรรค ความมีเหตุผล และการแกปญหา กิลฟอรด ไดแบงสมรรถภาพ

ทางสมองออกเปน 3 มิติ ดังนี้

(1) มิติท่ี 1 เนื้อหา (content) หมายถึง เนื้อหาขอมูลหรือสิ่งเราท่ีสมองรับเขาไป

เปนสื่อในการคิด แบงออกเปน 4 ลักษณะ คือ

ก. ภาพ (figural) หมายถึง ขอมูลหรือท่ีเราท่ีเปนรูปธรรม หรือรูปท่ีแนนอน

ซ่ึงสามารถรับรู และทําใหเกิดความรูสึกนึกคิดได เชน ภาพ เปนตน

ข. สัญลักษณ (symbolic) หมายถึง ขอมูลหรือสิ่งเราท่ีอยูในเครื่องหมายตางๆ

เชน ตัวอักษร ตัวเลข โนตดนตรีและสัญลักษณอ่ืนๆ

Page 36: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

24

ค. ภาษา (semantic) หมายถึง ขอมูลหรือสิ่งเราที่อยูในรูปของถอยคําที่มี

ความหมายตางๆ กันในติดตอสื่อสารได เชน พอ แม เพ่ือน ชอบ โกรธ เสียใจ เปนตน

ง. พฤติกรรม (behavior) หมายถึง ขอมูลท่ีแสดงออก กิริยา อาการ การกระทํา

ท่ีสามารถสังเกตเห็น รวมท้ังทัศนคติ การรับรู การคิด เชน การหัวเราะ การยิ้ม การสั่นศีรษะ

การแสดงความคิดเห็น เปนตน

(2) มิติท่ี 2 วิธีการคิด (operation) หมายถึง มิติท่ีแสดงลักษณะกระบวนการ

ปฏิบัติงานหรือกระบวนการคิดของสมอง แบงออกเปน 5 ลักษณะ คือ

ก. การรับการเขาใจ (cognition) หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคล

ท่ีตีความเม่ือเห็นสิ่งเรา

ข. การจํา (memory) หมายถึง ความสามารถในการเก็บสะสมความรู และ

ขอมูลตางๆ แลวสามารถระลึกไดเม่ือตองการ

ค. การคิดแบบอเนกนัย หรือความคิดกระจาย (divergent inking) หมายถึง

ความสามารถในการคิดตอบสนองตอสิ่งเราไดหลายรูปแบบหลายแงหลายมุม

ง. การคิดแบบเอกนัย หรือความคิดรวม (convergent thinking) หมายถึง

ความสามารถในการคิดหาคําตอบท่ีดีท่ีสุดจากขอมูล หรือสิ่งเราท่ีกําหนด

จ. การประเมินคา (evaluation) หมายถึง ความสามารถของบุคคลท่ีสามารถ

ในการตีราคาลงสรุป โดยอาศัยเกณฑท่ีดีท่ีสุด

(3) มิติท่ี 3 ผลของการคิด หมายถึง มิติท่ีแสดงผล (product) ท่ีไดจากการทํางาน

การจัดการกระทํา วิธีการคิดจากขอมูลจากเนื้อหา ผลการคิดออกมาในรูปลักษณะตางๆ กัน ดังนี้คือ

ก. หนวย (unit) หมายถึง สิ่งท่ีมีคุณสมบัติเฉพาะตัวและแตกตางไปจากสิ่งอ่ืนๆ

ข. จําพวก (class) หมายถึง ประเภท จําพวก หรือกลุมของหนวยท่ีมีคุณสมบัติ

หรือลักษณะรวมกัน

ค. ความสัมพันธ (relation) หมายถึง ผลของการเชื่อมโยงความคิดของประเภท

หรือหลายประเภทเขาดวยกัน โดยอาศัยลักษณะบางอยางเปนเกณฑ ความสัมพันธอาจอยูในรูปของ

หนวยกับหนวย จําพวกกับจําพวก หรือระบบกับระบบ

ง. ระบบ (system) หมายถึง การเชื่อมโยงของสิ่งเรา โดยอาศัยกฎเกณฑหรือ

ระเบียบแบบแผนบางอยาง

จ. การแปลงรูป (transformation) หมายถึงการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง

ดัดแปลง ตีความขยายความ ใหนิยามใหม หรือการจัดองคประกอบสิ่งเรา หรือขอมูลออกมาในรูปใหม

ฉ. การประยุกต (implication) หมายถึง การคาดคะเนหรือทํานายจากขอมูล

สิ่งท่ีกําหนดไว โครงสรางของสมรรถภาพทางสมองหรือการวัดเชาวนปญญาของกิลฟอรด แบงออกเปน

Page 37: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

25

120 เซลล หรือ 120 องคประกอบ โดยในแตละตัวจะประกอบดวย หนวยยอยของสามมิติเรียงจากเนื้อหา

วิธีการคิด และผลของการคิด

จากการแบงสมรรถภาพทางสมองออกเปน 3 มิติ ดังกลาวจะเห็นไดวาความคิดเกิดจากสื่อ

สิ่งเราท่ีสมองรับเขามาในกระบวนการทางความคิดแลวจึงออกมาเปนผลของการคิด ซ่ึงผลของการคิด

ในสวนของความคิดสรางสรรคนั้น กิลฟอรด (Guilford; อางถึงใน อารี พันธมณี, 2545, หนา 35-41)

กลาววาความคิดสรางสรรคประกอบดวย 4 องคประกอบ ดังนี้คือ

1) ความคิดคลองตัว หมายถึง ความคลองแคลวหรือความคลองตัวในการคิด ตอบสนอง

ตอสิ่งเราใหไดมากท่ีสุดเทาท่ีจะมากได หรือความสามารถในการคิดหาคําตอบท่ีชัดเจนตรงประเด็น

ใหไดจํานวนมากท่ีสุด ความคิดคลองตัวเนนปริมาณความคิด กลาวคือความคิดยิ่งมีปริมาณมากเทาใด

ก็ยิ่งจะดีมากเทานั้น

2) ความคิดยืดหยุน หมายถึง ความคิดยืดหยุนในความคิดและการกระทํา การปรับ

ความคิดและการกระทํา การปรับความคิดใหเขากับสถานการณตางๆ เปนตน สําหรับในท่ีนี้

ความหมายของความยืดหยุนหมายถึงปริมาณของจําพวก กลุมประเภทท่ีตอบสนองตอสิ่งเราและ

เชนเดียวกับความคิดคลองตัว คือเนนปริมาณเชนกัน แตเปนปริมาณของประเภทกลาวคือคําตอบยิ่งมาก

ประเภทยิ่งดี หรือกลาวอีกอยางวาเปนความสามารถในการคิดตอบสนองตอสิ่งเราใหไดมากประเภทท่ีสุด

เทาท่ีจะมากได ซ่ึงจะใหคําตอบมีความหลากหลายและแตกแยกแขนงออกไดหลายแขนง

3) ความคิดริเริ่ม หมายถึง ความคิดแปลกใหมไมซํ้ากับความคิดของคนอ่ืน และแตกตาง

จากความคิดธรรมดา ความคิดริเริ่มอาจเกิดจากการคิดของเดิมท่ีมีอยูแลวใหแปลกแตกตางจากท่ีเคยเปน

หรือสามารถพลิกแพลงใหกลายเปนสิ่งใหมท่ีไมเคยคิดความคิดริเริ่มอาจจะเปนการนําเอาความคิดเกา

มาปรุงแตงผสมผสานจนเกิดเปนของใหมก็ได ความคิดริเริ่มมีหลายระดับ แตเปนความคิดครั้งแรก

ท่ีคิดไดหรือเกิดข้ึนกับตนเองโดยไมมีใครสอน

4) ความคิดละเอียดลออ หมายถึง ความคิดในรายละเอียด คิดเปนขั้นตอน สามารถ

อธิบายใหเห็นภาพพจนชัดเจน หรือเปนผลงานท่ีสมบูรณข้ึน ความคิดละเอียดลออจัดเปนความคิด

ในรายละเอียดท่ีนํามาตกแตง ขยายความคิดครั้งแรกใหสมบูรณข้ึน

สรุปไดวา ความคิดสรางสรรคเกิดจากกระบวนการคิดซ่ึงสังเกตไดจากปริมาณของความคิด

ท่ีเกิดข้ึนความคิดแปลกแตกตางไมซํ้ากันและการมีความคิดเปนข้ันตอนมีการอธิบายชัดเจนเพ่ือใหเกิด

ความสมบรูณของผลงานโดยการนําพ้ืนฐานของความคิดเดิมมาพลิกแพลงใหเกิดผลงานชิ้นใหมท่ีมี

ความสมบรูณของงานและมีความละเอียดมากข้ึนจากการใชพ้ืนฐานของความคิดเดิม

2.2.4 การวัดและทดสอบความคิดสรางสรรค

ในชวงชีวิตเด็กปฐมวัย เด็กแตละคนจะเจริญเติบโตและมีลักษณะพัฒนาการแตกตางกันไป

ตามวัยและวุฒิภาวะ พัฒนาการดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา จะมีความสัมพันธ

Page 38: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

26

และพัฒนาอยางตอเนื่อง และเปนไปตามลําดับข้ันตอน การวัดและประเมินผลงานจะไมวัดและประเมิน

ความรู ความจํา ความเขาใจ จากเนื้อหาสาระในหนวยการเรียน แตจะวัดพัฒนาการความพรอม

ในการเรียนรูเปนหลัก โดยเนนการวัดท้ังกระบวนการและผลงานวิธีการวัด เชน การสังเกต การวาดภาพ

การสนทนาและซักถาม และการตรวจผลงาน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2534, หนา 4-6) ในการวัดความคิด

สรางสรรคมีจุดมุงหมายทางการศึกษาประการหนึ่ง คือเพ่ือเปนแนวทางในการสงเสริมพัฒนาความคิด

สรางสรรคของเด็กใหเจริญถึงขีดสุด ใหเด็กสามารถคิดสรางสรรค และสรางผลงานท่ีมีคุณคาท้ังตอตนเอง

และตอสังคมโดยสวนรวม อารี พันธมณี (2545, หนา 209-212) การศึกษาในเรื่องการวัดความคิด

สรางสรรคไดพยายามศึกษาและพัฒนาเปนลําดับ โดยเฉพาะการวัดความคิดสรางสรรคของเด็ก

ซ่ึงใชวิธีการวัดหลายรูปแบบ ดังนี้

1) การสังเกต หมายถึง การสังเกตพฤติกรรมของบุคคลท่ีแสดงออกเชิงสรางสรรค

ซ่ึงอับราฮัม และแอนดรู (Abraham & Andrew; อางถึงใน อารี รังสินันท, 2526, หนา 173-175) ได

ศึกษาแบบตางๆ ของความคิด จินตนาการ และไดใชวิธีการสังเกตเปนวิธีการวัดผลวิธีหนึ่งในหลายๆ

วิธีการ เขาพยายามท่ีจะวัดความคิดจินตนาการเลียนแบบ การทดลอง การปรับปรุงและตกแตงสิ่งตางๆ

การแสดงละคร การใชคําอธิบายและบรรยายใหเกิดภาพพจนชัดเจน การเลานิทาน การแตงเรื่องใหม

การเลนและการคิดเกมใหมๆ ตลอดจนพฤติกรรมท่ีแสดงความรูสึกซาบซ้ึงตอความสวยงาม ซ่ึง กิลฟอรด

(Guilford) และทอแรนซ (Torrance) ไดออกแบบสิ่งเราที่เปนวงกลม และสี่เหลี่ยมใหเด็กวาดภาพ

ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของการวัดความคิดสรางสรรคของเด็กและพิจารณาความคิดสรางสรรคในแงของ

ความแปลกใหม ไมซํ้าแบบ และความละเอียดลออ ในการตกแตงภาพ เปนตน

2) การวาดภาพ หมายถึงการใหเด็กวาดภาพจากสิ่งเราท่ีกําหนดเปนการถายทอด

ความคิดสรางสรรคออกมาเปนรูปธรรม และสามารถสื่อความหมายได สิ่งเราท่ีกําหนดใหเด็กอาจเปน

วงกลม สี่เหลี่ยม แลวใหเด็กวาดภาพตอเติมใหเปนภาพท่ีสมบูรณ ลักษณะดังกลาวไดมี การทดลองใช

และศึกษากันมาเปนเวลานานแลว เชน ซิมปสัน (Simpson, 1927; อางถึงใน อารี รังสินันท, 2526,

หนา 174) ไดใชจุดวงกลมเล็กๆ 40 จุด จํานวน 50 ชุด เปนสิ่งเราใหเด็กวาด และพิจารณาความคิด

คลองแคลว ความคิดริเริ่ม และความคิดยืดหยุนจากภาพท่ีเด็กวาด

3) การสนทนาและซักถาม จะใชไดดีตั้งแตเริ่มตนสอน กําลังสอน และหลังจาก

การสอนแลว ใชซักถามเรื่องราว ประสบการณจากผลงาน ในการวัดนิยมจัดเปนอันดับ ดีมาก ดี พอใช

และตองปรับปรุงหรือสงเสริม

4) การตรวจผลงานวิธีนี้ไดจากการนําผลงานของเด็กมาตรวจโดยจัดเปนกลุมตามอันดับ

คุณภาพของงาน ซ่ึงอันดับคุณภาพของงานควรมี 3–5 อันดับ คือ ดี ปานกลาง ออน หรือดีมาก ดี

ปานกลาง ออน ออนมาก ซ่ึงมีการจัดอันดับคุณภาพก็เพ่ือจะไดดูกาวหนาดานพัฒนาการของเด็ก

Page 39: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

27

จากการศึกษาพบวา สิ่งสําคัญท่ีจะทําใหทราบวาเด็กมีพัฒนาการและมีความเจริญงอกงาม

อยางไร ก็คือการบันทึกความเจริญงอกงามของเด็กไวเปนรายบุคคล การเจริญงอกงามของเด็ก

ก็เพ่ือท่ีจะใชเปนขอมูลในการสงเสริมเด็กท่ีมีความพรอมหรือแกไขขอบกพรองท่ีเกิดจากการเรียนรู

ท่ีผิดพลาดซ่ึงอาจเกิดจากการสังเกตแลวบันทึกความเจริญงอกงามของเด็ก ตามลําดับข้ันของเด็ก

เด็กมีความเขาใจ มีความคิดริเริ่ม มีความคิดสรางสรรคหรือไม

แบบทดสอบความคิดสรางสรรค

แบบทดสอบความคิดสรางสรรคเปนเครื่องมืออยางหนึ่งในการวัดพฤติกรรมความคิดสรางสรรค

ท่ีเปนระบบ ซ่ึงหากใชควบคูกับแบบสํารวจพฤติกรรมหรือแบบสังเกตพฤติกรรมความคิดสรางสรรค

ก็ยิ่งจะชวยใหไดขอมูลท่ีใกลเคียง และถูกตองกับความเปนจริงมากยิ่งข้ึน (อารี พันธมณี, 2545, หนา

182-189)

แบบทดสอบความคิดสรางสรรคมีท้ังท่ีใชภาษาเปนสื่อและใชภาพเปนสื่อ เพ่ือเราใหเด็ก

แสดงออกเชิงความคิดสรางสรรค โดยมีการกําหนดเวลา ปจจุบันแบบทดสอบมาตรฐานท่ีใชวัดความคิด

สรางสรรคมีหลายแบบ เชน แบบทดสอบความคิดสรางสรรคของ ทอแรนซ แบบทดสอบความคลองแคลว

ของ กิลฟอรด และคริสเตนเสน

แบบทดสอบความคิดสรางสรรคในเด็ก มีดังนี้

1) แบบทดสอบความคลองแคลวของ กิลฟอรด และคริสเตนเสน แบบทดสอบนี้

กิลฟอรด และคณะแหงมหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนียตอนใต คิดข้ึนเพ่ือวัดความคิดกระจาย (divergent

thinking) โดยมุงวัดตัวประกอบในแตละเซลล ตามโครงสรางสมรรถภาพทางสมอง ซ่ึงมี 3 มิติ คือ

เนื้อหาท่ีคิด (content) วิธีการคิด (operation) และผลิตผลแหงความคิด (product)

ลักษณะของแบบทดสอบความคลองแคลวของ กิลฟอรด และคริสเตนเสน

ประกอบดวย แบบทดสอบยอย 4 ชุด จํานวน 11 ฉบับ โดยแบงออกเปนดานภาษาเขียน 7 ฉบับ

ดานรูปภาพ 3 ฉบับ และเปนโจทยปญหา 1 ฉบับ แบบทดสอบนี้เหมาะสําหรับนักเรียนระดับมัธยมและ

ผูใหญ ตัวอยางของแบบทดสอบ มีดังนี้

(1) ความคลองแคลวในการใชคํา (word fluency) ใหเขียนคําประกอบดวย

ตัวอักษรท่ีกําหนดให เชน ป: ปด ปด ปาด เปนตน

(2) ความคลองแคลวทางความคิด (identional fluency) ใหเขียนชื่อท่ีอยูในพวก

หรือประเภทเดียวกัน เชน ของเหลวท่ีเปนเชื้อเพลิง ไดแก น้ํามันกาด แกสโซลีน และแอลกอฮอล

(3) ความคลองแคลวดานเชื่อมโยง (associational fluency) ใหเขียนคําตางๆ

ท่ีมีความหมายคลายคลึงกับคําท่ีกําหนดให เชน หนัก: ยาก แข็ง เปนตน

(4) ความคลองแคลวในการแสดงออก (expressional fluency) ใหเขียนประโยค

ประกอบดวยคํา 4 คํา ในแตละคําเริ่มตนดวยตัวอักษรท่ีกําหนดให

Page 40: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

28

(5) การใชประโยชนอยางอื่น (alternate uses) ใหบอกประโยชนอยางอื่น

ของสิ่งเฉพาะท่ีกําหนดให มิใชเปนการใชประโยชนโดยท่ัวๆ ไป

(6) การสรุปผล (consequence) ใหบอกเหตุการณตางๆ ท่ีเกิดข้ึนอันเปนผลเนื่องจาก

เหตุการณสมมติฐานท่ีกําหนดให

(7) ประเภทของงานอาชีพ (possible Jobs) ใหบอกรายชื่อของงานอาชีพตางๆ

ท่ีเก่ียวของกับคําท่ีกําหนดให เชน หลอดไฟฟา: วิศวกรไฟฟา เจาของโรงงานทําหลอดไฟฟา และอ่ืนๆ

เปนตน

(8) การวาดรูป (making objects) ใหวาดรูปสิ่งของเฉพาะโดยใชโครงราง (shade)

ของรูปท่ีกําหนดให เชน รูปวงกลม และรูปสามเหลี่ยม เปนตน

(9) การสเก็ตชรูป (sketches) ใหตอเติมใหเปนรูปจากภาพรางท่ีกําหนดให เชน

วงกลม สามเหลี่ยม และตอเติมภาพใหสมบูรณ และแตกตางกันใหมากท่ีสุด

(10) แกปญหา (match problem) จากโจทยท่ีกําหนดให เชน ปญหาไมขีดไฟ

ใหเอากานไมขีดไฟจํานวนหนึ่งออก โดยใหกานไมขีดไฟท่ีเหลือประกอบกันเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือ

รูปสามเหลี่ยมท่ีมีจํานวนรูปตามตองการ

(11) การตกแตงรูป (decorations) ใหตกแตงรูปวาดเกี่ยวกับสิ่งของทั่วไป

ท่ีรางเอาไวแลวดวยแบบท่ีแตกตางกัน

จากการศึกษาพบวา แบบทดสอบความคิดสรางสรรคในเด็กมีจุดประสงค

เพ่ือวัดความคิดสรางสรรคตามโครงสรางของสมอง โดยใชแบบทดสอบนี้จะวัดเนื้อหาท่ีคิด วิธีการคิด

ผลิตผลแหงความคิด ซ่ึงเหมาะสําหรับเด็กนักเรียนระดับชั้นมัธยมและผูใหญ โดยแบบทดสอบ

จะมีรายละเอียด ในการทดสอบดานความคิดคลองแคลวในการใชคําดานความคิด ดานการเชื่อมโยง

ดานการสรุปอยางมีเหตุผล ประเภทของงานและอาชีพการวาดรูป และสเก็ตรูป การแกปญหา

การตกแตงรูปซ่ึงแบบทดสอบดังกลาว มีผลตอการพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กเปนอยางมาก

2) แบบทดสอบของ วอลลาช และโคแกน แบบทดสอบนี้ประกอบดวยแบบทดสอบยอย

ดังนี้

ฉบับท่ี 1 “พวกเดียวกัน” มี 4 ขอ ใหผูตอบพยายามนึกหาคําตอบที่แปลกใหม

ไมเหมือนใครมาใหมากท่ีสุดจากสิ่งเราท่ีกําหนดให เชน จากสี่เหลี่ยม เปนตน

ฉบับท่ี 2 “ประโยชนของสิ่งของ” มี 8 ขอ ใหบอกประโยชนของกระดาษหนังสือพิมพ

ท่ีอานแลวมาใหมากท่ีสุด

ฉบับท่ี 3 “ความเหมือน” มี 10 ขอ เชน เกาอ้ีกับโตะมีอะไรคลายกันบาง

ฉบับท่ี 4 “ความหมายของภาพเสน” มี 8 ขอ ใหบอกมาใหมากท่ีสุดวาเม่ือดูภาพ

แลวนึกถึงอะไรบาง

Page 41: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

29

ฉบับท่ี 5 “ความหมายของเสน” มี 8 ขอ ใหดูภาพท่ีเปนเสนแลวบอกวาเปนอะไร

ไดบางบอกมาใหมากท่ีสุด แบบทดสอบนี้ใชเวลา 55 นาที

จากการศึกษาพบวา แบบทดสอบของ วอลลาช และโคแลน กับแบบทดสอบของ

กิลฟอรด และคริสเตนเสน มีความคลายกันคือ การใชแบบทดสอบโดยการวัดความคิดสรางสรรคจาก

โครงสรางของสมองใชความรูพ้ืนฐาน วิธีการคิด การตอยอดความคิดและการเชื่อมโยงความคิด

โดยสรุปอยางมีเหตุผลเขามาประกอบในกิจกรรม สวนความแตกตางกันคือ วอลลาช และโคแลน

ไมเนนการแกปญหาแตกิลฟอรด และคริสเตนเสน เนนการแกปญหาเพื่อใหเด็กเกิดกระบวนการ

ในการแกปญหาจากกิจกรรมท่ีปฏิบัติ

3) แบบทดสอบความคิดสรางสรรคของ ทอแรนซ

ทอแรนซ (Torrance, 1965; อางถึงใน อารี รังสินันท, 2526, หนา 180-184)

เปนผูพัฒนาเครื่องมือวัดความคิดสรางสรรคซ่ึงมีท้ังแบบสํารวจ แบบทดสอบหลายรูปแบบ สําหรับ

แบบทดสอบ ทอแรนซ ไดพัฒนาข้ึนภายในขอบเขตและเนื้อหาทางการศึกษา ซ่ึงเปนโปรแกรมการวิจัย

ระยะยาวท่ีเนนเฉพาะประสบการณในหองเรียนท่ีจะสนับสนุนและเราใหเด็กเกิดความคิดสรางสรรค

แบบทดสอบความคิดสรางสรรคของ ทอแรนซ มีดังตอไปนี้

(1) แบบทดสอบความคิดสรางสรรคโดยอาศัยรูปภาพ (thinking creatively)

มี 2 แบบ คือ แบบ ก และแบบ ข

(2) แบบทดสอบความคิดสรางสรรคโดยอาศัยภาษา (thinking creatively with

words) มี 2 แบบ คือ แบบ ก และแบบ ข

(3) แบบทดสอบความคิดสรางสรรคโดยอาศัยเสียงและภาษา (thinking creatively

with sounds and words: sounds and images)

(4) แบบทดสอบความคิดสรางสรรคโดยอาศัยการปฏิบัติโดยอาศัยการปฏิบัติ และ

การเคลื่อนไหว (thinking creatively in action and movement)

จากการศึกษาพบวา แบบทดสอบความคิดสรางสรรคของ ทอแรนซ ซึ่งจะใชโปรแกรม

การวิจัยระยะยาวท่ีเนนเฉพาะประสบการณในหองเรียนเพ่ือท่ีจะสนับสนุนและเราใหเด็กเกิดความคิด

สรางสรรคโดยใชแบบทดสอบความคิดสรางสรรคโดยอาศัยรูปภาพ ภาษา เสียง การปฏิบัติและ

การเคลื่อนไหว

สําหรับในการวิจัยครั้งนี้ไดแนวคิดจากแบบทดสอบของ ทอแรนซ และผูวิจัยนํามาพัฒนา

โดยอาศัยรูปภาพ มี 2 แบบ คือ แบบ ก และแบบ ข เปนแบบทดสอบคูขนาน ซ่ึง ทอแรนซ ไดกําหนด

สิ่งเราใหมีลักษณะคลายกัน มีจุดมุงหมายเดียวกัน แตแตกตางกันในสิ่งเราท่ีกําหนด แบบทดสอบ

ท้ังแบบ ก และแบบ ข ใชสําหรับเด็กอนุบาลถึงระดับอุดมศึกษา มีรายละเอียดของแบบทดสอบดังนี้

Page 42: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

30

แบบทดสอบความคิดสรางสรรคโดยอาศัยรูปภาพเปนสื่อแบบ ก

1) แบบทดสอบนี้ประกอบดวย แบบทดสอบยอย 3 ชุด ซ่ึง ทอแรนซ เรียกแบบทดสอบ

ยอยนี้วากิจกรรม ดังนั้นแบบสอบยอยจึงประกอบดวยกิจกรรม 3 กิจกรรม ดังนี้

กิจกรรมชุดท่ี 1 การวาดภาพ โดยใหเด็กตอเติมภาพจากสิ่งเราท่ีกําหนดเปนกระดาษ

สติกเกอรสีเขียวรูปไข ใหเด็กตอเติมภาพใหแปลกใหม นาตื่นเตนและนาสนใจท่ีสุดเทาท่ีจะเปนไปได

แลวใหตั้งชื่อภาพท่ีวาดแลวใหแปลกท่ีสุด

กิจกรรมชุดท่ี 2 การตอเติมภาพใหสมบูรณ โดยใหเด็กตอเติมภาพจากสิ่งเราท่ีกําหนด

เปนเสนในลักษณะตางๆ มีจํานวน 10 ภาพ เปนการตอเติมภาพใหแปลกนาสนใจและนาต่ืนเตนท่ีสุด

เทาท่ีจะเปนไปได แลวตั้งชื่อภาพท่ีตอเติมเสร็จแลวใหแปลกและนาสนใจดวย

กิจกรรมชุดท่ี 3 การใชเสนคูขนาน โดยใหเด็กตอเติมภาพจากเสนคูขนาน จํานวน

30 คู เนนการประกอบภาพโดยใชเสนคูขนานเปนสวนสําคัญของภาพ และตอเติมภาพใหแปลก

แตกตางไมซํ้ากัน แลวตั้งชื่อภาพท่ีตอเติมแลวดวย

การทําแบบทดสอบท้ัง 3 กิจกรรม เนนการวาดภาพใหแปลก นาตื่นเตน นาสนใจ

และวาดภาพจากความคิดของเด็กเอง หรือแสดงเอกลักษณของภาพ กิจกรรมท้ัง 3 ชุด ใชเวลาทดสอบ

กิจกรรมชุดละ 10 นาที เม่ือหมดเวลากิจกรรมตองเริ่มทํากิจกรรมชุดถัดไปทันทีกิจกรรมทั้ง 3 ชุด

ซ่ึงใชเวลา 30 นาที

2) แบบทดสอบความคิดสรางสรรคโดยอาศัยรูปภาพเปนสื่อแบบ ข

แบบทดสอบนี้มีลักษณะเปนแบบทดสอบคูขนานกับแบบ ก จะแตกตางกันเฉพาะ

สิ่งเราท่ีกําหนด กลาวคือ ในกิจกรรมชุดท่ี 1 เปนการวาดภาพ โดยใหเด็กตอเติมจากกระดาษสติกเกอร

สีสมเปนรูปคลายไสกรอก กิจกรรมชุดท่ี 2 การวาดภาพใหสมบูรณ โดยใหเด็กตอเติมจากเสนลักษณะ

ตางๆ ซ่ึงตางกันแบบ ก และกิจกรรมชุดท่ี 3 การใชวงกลม (circles) โดยใหเด็กตอเติมภาพจากสิ่งเรา

ท่ีเปนวงกลมขนาดเดียวกันจํานวน 30 วง

ในการทดสอบผูทําการทดสอบควรสรางความคุนเคยเปนกันเองกับเด็กไมใหเด็ก

เกิดความหวาดกลัว ตื่นเตน และคํานึงถึงคะแนนไดตก การใชคําพูดกระตุน และสรางแรงจูงใจใหเด็ก

เปนสิ่งจําเปนในการทําแบบทดสอบ ในทํานองท่ีวา วันนี้ครูมีเกมสนุกๆ มาใหนักเรียนเลน โดยจะให

นักเรียนวาดภาพตามท่ีนักเรียนคิดวาแปลกใหมท่ีสุด ซ่ึงไมเคยมีใครวาดมากอน พยายามวาดภาพ

ใหตางจากคนอ่ืนๆ และขอใหนักเรียนสนุกสนานกับการวาดภาพในวันนี้

การตรวจใหคะแนนความคิดสรางสรรคแบงเปน 4 ดาน ดังนี้

1) ความคิดคลองตัว หมายถึง ใหคะแนนในกิจกรรมชุดท่ี 2 และกิจกรรมชุดท่ี 3 คะแนน

ความคิดคลองตัวไดจากการวาดภาพไดชัดเจน และสื่อความหมายได ในกิจกรรมวาดภาพใหคะแนน

ภาพละ 1 คะแนน กิจกรรมท่ี 2 คะแนนความคิดคลองตัว ใหคะแนนสูงสุด 10 คะแนน กิจกรรมท่ี 3

Page 43: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

31

ความคิดคลองตัวใหคะแนนสูงสุด 30 คะแนน รวมคะแนนความคิดคลองตัวชุดท่ี 2 และชุดท่ี 3 รวมเปน

40 คะแนน

2) ความคิดริเริ่ม หมายถึง คะแนนความคิดริเริ่มซ่ึงข้ึนอยูกับความถ่ีทางสถิติของภาพ

ตางไปจากธรรมดา โดยดูท่ีภาพหลักไมใชดูท่ีชื่อกํากับไว สําหรับภาพท่ีตรงกับเกณฑในคูมือการตรวจ

จะไดคะแนน 0 คะแนน สวนท่ีแตกตางจากเกณฑท่ีตั้งไวจะใหคะแนนภาพละ 1 คะแนน คะแนนสูงสุด

ของความคิดริเริ่มท้ัง 3 กิจกรรรม รวมเปน 41 คะแนน

3) ความคิดละเอียดลออ หมายถึง การตรวจใหคะแนนท้ัง 3 กิจกรรม แตละภาพ

ใหคะแนนต่ําสุด 1 คะแนน ภาพท่ีมีรายละเอียดในแตละสวนใหคะแนนสวนละ 1 คะแนน ไมวา

จะตอเติมในภาพท่ีกําหนดให หรือสวนท่ีวางรอบๆ บริเวณภาพ ซ่ึงสิ่งท่ีตอเติมจะดูแลวสมจริงสมจังและ

มีความหมาย การคิดใหคะแนนในดานนี้ คะแนนสูงสุดของความคิดละเอียดลออ รวมเปน 15 คะแนน

การใหคะแนนประมาณจากสเกล 5 สเกล

4) ความคิดยืดหยุน หมายถึง ความสามารถในการคิดไดหลายทาง หลายประเภท

หลายชนิด หลายกลุม และคําตอบไมไดจัดอยูในกลุมหรือประเภทเดียว โดยใหคะแนนเปนกลุมหรือ

ประเภทละ 1 คะแนน

แบบทดสอบชุดนี้ อารี รังสินันท และคณะกรรมการฝกหัดครู (อารี รังสินันท, 2526,

หนา 187-194) ซ่ึงมีสวนเก่ียวของกับแบบทดสอบความคิดสรางสรรค ซ่ึงกรมการฝกหัดครูไดทําการวิจัย

ความคิดสรางสรรคไว 3 เรื่อง คือ

1) ความคิดสรางสรรคของเด็กไทยในระดับชั้นอนุบาล-ป. 4 พ.ศ. 2521

2) ความคิดสรางสรรคของเด็กไทยในระดับชั้น ป. 5-ม.ศ. 3 พ.ศ. 2522

3) ความคิดสรางสรรคของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2523

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยขอกลาวถึงเฉพาะในสวนท่ีเก่ียวของกับเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยเรื่อง

ความคิดสรางสรรคของเด็กในระดับชั้นอนุบาล ดังนี้

1) วิธีการเฉพาะในการทําขอสอบ เพ่ือเปนการสรางแรงจูงใจแกนักเรียน ใหครูหรือ

ผูคุมสอบปฏิบัติ ดังนี้

(1) ครูหรือผูคุมสอบกลาวขอความในทํานองท่ีจูงใจใหนักเรียนทําแบบทดสอบ

“ในวันนี้ ครูมีของเลนมาใหนักเรียนเลนสนุกๆ โดยจะใหนักเรียนเลนวาดภาพอะไรก็ไดท่ีนักเรียน

คิดฝนวาภาพนั้นแปลกท่ีสุด ใหมท่ีสุด ซึ่งไมเคยมีใครคิดวาดมากอน และพยายามวาดภาพนั้น

ใหตางไปจากคนอ่ืนๆ และครูขอใหนักเรียนทุกคนจงมีความสนุกสนานกับการวาดภาพในวันนี้”

(2) ครูแจกแบบทดสอบแกนักเรยีน

(3) ครูแจกดินสอดําแกนักเรียนในกรณีท่ีเด็กบางคนไมมี

Page 44: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

32

(4) ครูใหนักเรียนแตละคนกรอกรายละเอียดเก่ียวกับตัวนักเรียนท่ีหนาปก

แบบทดสอบใหเรียบรอย

(5) ครูเปนผูกรอกรายละเอียดเก่ียวกับตัวนักเรียนสําหรับนักเรียนชั้นอนุบาล

2) ครูชี้แจงการทําแบบทดสอบ ดังนี้

(1) จํานวนกิจกรรมในการทําแบบทดสอบนี้จะมีกิจกรรมท่ีนาสนใจอยู 3 ชุดดวยกัน

กิจกรรมเหลานี้จะเปดโอกาสใหนักเรียนไดใชความคิดฝนและวาดภาพออกมาในรูปตางๆ

(2) ครูบอกใหนักเรียนทุกคนเปดแบบทดสอบหนาแรก (กิจกรรมชุดท่ี 1)

(3) ครอูานคําชี้แจงการทํากิจกรรมชุดท่ี 1 ใหนักเรียนฟงอยางชัดเจน (และใหนักเรียน

อานในใจพรอมไปดวย)

3) คําชี้แจง

(1) กิจกรรมชุดท่ี 1 การวาดภาพ

ก. นักเรียนจะเห็นกระดาษสีเขียวตามรูปท่ีอยูขางลาง กระดาษนี้ดึงออกมาได

โดยแกะกระดาษท่ีอยูดานหลังท้ิงไป แลวนํากระดาษสีเขียวมาติดไวทางดานขวามือ (ครูแสดงวิธีการ

และชี้ใหนักเรียนดูเปนตัวอยาง แตไมตองติดกระดาษสีเขียวบนหนากระดาษอีกดานหนึ่ง)

ข. นักเรียนลองคิดแลววาดภาพท่ีแปลกใหมท่ียังไมเคยมีใครเคยวาดมากอน

โดยตอเติมตกแตงจากกระดาษสีเขียวท่ีนํามาปะไวเพ่ือทําใหภาพนั้นนาสนใจ และนาตื่นเตนมากท่ีสุด

เทาท่ีจะเปนไปได

ค. ใหตั้งชื่อภาพท่ีวาดใหแปลกท่ีสุดไวบนเสนท่ีขีดไวให

ง. กิจกรรมชุดท่ี 1 ใหเวลาทําเพียง 10 นาที

จ. ครูเริ่มกิจกรรมชุดท่ี 2 เม่ือหมดเวลา 10 นาทีแรก โดย

ก) ใหนักเรียนเปดไปหนากิจกรรมชุดท่ี 2

ข) ครูอานคําชี้แจงการทําแบบทดสอบกิจกรรมชุดท่ี 2 ดังนี้

(2) กิจกรรมชุดท่ี 2 วาดภาพใหสมบูรณ

ก. ใหตอเติมตกแตงจากภาพท่ีใหมาขางลางนี้ท้ัง 10 ภาพ

ข. ใหคิดวาดภาพท่ีแปลกแตกตางไปจากคนอ่ืน และทําใหเปนเรื่องท่ีนาสนใจ

นาตื่นเตนท่ีสุดเทาท่ีจะทําได

ค. ใหตั้งชื่อภาพแตละภาพท่ีวาดเสร็จแลวนั้น และเขียนชื่อภาพไวในชองท่ีได

กําหนด

ง. ใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมชุดท่ี 2 ใหเวลา 10 นาที

จ. ครูเริ่มกิจกรรมชุดท่ี 3 เม่ือหมดเวลาของกิจกรรมชุดท่ี 2 โดย

Page 45: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

33

ก) ใหนักเรียนเปดหนากิจกรรมชุดท่ี 3

ข) ครูอานคําชี้แจงการทําแบบทดสอบกิจกรรมชุดท่ี 3 ดังนี้

(3) กิจกรรมชุดท่ี 3 การใชเสน

ก. ใหวาดภาพโดยตอเติมตกแตงจากเสนคูขางลางนี้

ข. คิดและวาดภาพใหแปลกแตกตางไปจากคนอ่ืนใหมากท่ีสุด

ค. ใหนักเรียนลงมือทํา

ง. กิจกรรมชุดท่ี 3 ใชเวลา 10 นาที

4) คูมือการตรวจใหคะแนนความคิดสรางสรรค

การตรวจใหคะแนนความคิดสรางสรรค แบงตามองคประกอบของความคิดสรางสรรค

ซ่ึงในท่ีนี่มี 3 องคประกอบ คือ

(1) ความคิดคลองแคลว

การตรวจใหคะแนนความคิดคลองแคลวจะตรวจในกิจกรรมชุดท่ี 2 และ 3 เทานั้น

คะแนนความคิดคลองแคลวใหนับจากจํานวนท่ีแตกตางกันอยางเห็นไดชัดในกิจกรรมชุดท่ี 2 ความคิด

คลองแคลวท้ังหมดหรือสูงสุดจะเทากับ 10 คะแนน และใหใสไวในกระดาษตรวจใหคะแนนหรือกิจกรรม

ชุดท่ี 3 ความคิดคลองแคลวสูงสุดจะเทากับ 30 คะแนน แตกอนจะเริ่มตรวจควรตรวจสอบดูวาภาพนั้น

ชัดเจนไหม หรือถาวาดภาพซํ้ากันก็จะใหคะแนนเพียงภาพเดียว คะแนนทั้งหมดของกิจกรรมชุดที่ 3

ใหใสในความคิดคลองแคลวกิจกรรมชุดท่ี 3 ในกระดาษตรวจใหคะแนน

(2) ความคิดริเริ่ม

การใหคะแนนความคิดริเริ่มข้ึนอยูความถ่ีทางสถิติของภาพท่ีแตกตางไปจาก

ธรรมดาจากการตอบของกลุมตัวอยาง ในการใหคะแนนความคิดริเริ่มใหดูท่ีภาพเปนหลักไมใชดูชื่อ

ท่ีกํากับไว

การใหคะแนนความคิดริเริ่ม สําหรับภาพท่ีซํ้ากันมากจะไดคะแนน 0 ดังรายชื่อ

ท่ีกําหนดไวขางลาง ผูตรวจควรดูตามรายการท่ีใหมานี้ สวนภาพท่ีแตกตางจากรายชื่อในรายการท่ีใหไว

กําหนดใหคะแนนภาพละ 1 คะแนน คะแนนท่ีไดใหเขียนลงในชองวางขางหลังความคิดริเริ่ม กิจกรรม

ท่ี 1…………… กิจกรรมท่ี 2……………กิจกรรมท่ี 3……………ในกระดาษตรวจใหคะแนน คะแนนรวม

ของความคิดริเริ่มไดมาจากผลรวมของความคิดริเริ่มท้ัง 3 กิจกรรม

กิจกรรมท่ี 1 รายชื่อตอไปนี้เปนรายชื่อภาพท่ีไดคะแนน 0

ก. ภาพท่ีไมมีความหมาย และไมมีชื่อกํากับไว

ข. เด็กผูชาย คนผูชาย

ค. วงกลม

ง. รูปไข

Page 46: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

34

จ. เด็กผูหญิง คนผูหญิง

ฉ. คนทุกชนิด นอกจากคนท่ีมาจากโลกอ่ืน

ช. มะมวง

กิจกรรมท่ี 2 รายชื่อตอไปนี้เปนรายชื่อภาพท่ีไดคะแนน 0

ก. ภาพท่ีไมมีความหมายและไมมีชื่อกํากับไว

ข. หัวใจ

ค. หนาคนทุกชนิด

ง. นกทุกชนิด

จ. แวนตา

กิจกรรมท่ี 3 รายชื่อตอไปนี้เปนรายชื่อภาพท่ีไดคะแนน 0

ก. ภาพท่ีไมมีความหมายและไมมีชื่อกํากับไว

ข. หนังสือ

ค. ประตู

ง. หีบ กลอง

(3) ความละเอียดลออ ในการใหคะแนนความคิดละเอียดลออ มีดังนี้

ก. แตละภาพใหคะแนนต่ําสุด 1 คะแนน

ข. สวนละเอียดท่ีตอเติมภาพเพ่ือขยายหรืออธิบายภาพไดชัดเจนยิ่งข้ึนถือเปน

ความคิดละเอียดลออ

ดังนั้น เกณฑการตรวจใหคะแนนความละเอียดลออ คือ ให 1 คะแนน แกรายละเอียด

แตละสวนท่ีตอเติมภาพใหสมบูรณยิ่งข้ึน ไมวาจะตอเติมในตัวสิ่งเราหรือขอบ หรือสวนท่ีวางรอบๆ สิ่งท่ี

กําหนดให อยางไรก็ตามสิ่งท่ีตอเติมจะตองแลดูสมจริง และมีความหมาย

จากท่ีกลาวมาขางตนแสดงใหเห็นวาความคิดสรางสรรคเปนศักยภาพทางสมองท่ีสําคัญและ

สามารถพัฒนาไดในเด็กปฐมวัย โดยวิธีการวัดและประเมินอยางชัดเจนสิ่งสําคัญคือเราสามารถพัฒนา

ความคิดสรางสรรคเด็กไดโดยการศึกษาพัฒนาการอายุในแตละวัยเพ่ือใหผูวิจัยทราบพัฒนาการเด็ก

และทําใหพัฒนาความคิดสรางสรรคอยางเหมาะสมกับวัย

2.2.5 การพัฒนาความคิดสรางสรรคในเด็ก

การพัฒนาความคิดสรางสรรคมักจะแตกตางจากพัฒนาการดานสติปญญา เนื่องจาก

พัฒนาการดานสติปญญาจะเจริญงอกงามตามลําดับวุฒิภาวะและประสบการณท่ีเพ่ิมข้ึนแตพัฒนาการ

ดานความคิดสรางสรรคจะพัฒนาสูงสุดในชวงแรกของวัยเด็ก ทอแรนซ (Torrance, 1964; อางถึงใน

กิติยา เกาเอ้ียน, 2551, หนา 24–25) ไดศึกษาพัฒนาการความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยในชวงวัย

ตางๆ ดังนี้

Page 47: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

35

อายุ 2–4 ป เด็กจะเริ่มเรียนรูสิ่งตางๆ จากประสบการณโดยตรงแลวถายทอดประสบการณ

ท่ีเด็กรับรู โดยวิธีการแสดงออกและทางจินตนาการ มีชวงเวลาความสนใจสั้นและเริ่มเอาใจตนเอง

ตองการทําสิ่งตางๆ ดวยตนเอง ซ่ึงเปนการพัฒนาความเชื่อม่ันตนเองเด็กอยากรูอยากเห็นและถามปญหา

ใหผูใหญรําคาญไดบอยๆ เด็กวัยนี้ควรมีของเลนชนิดท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไดหลายรูปแบบ เชน รูปสี่เหลี่ยม

สําหรับตอหรือดินน้ํามันจะทําใหเด็กมีจินตนาการไดดีกวาของเลนท่ีแนนอนตายตัว ผูใหญควรชักจูง

ใหเด็กปลูกตนไมหรือเลี้ยงสัตวใหเด็กทําสิ่งตางๆ ดวยตนเอง เด็กจะรูสึกยินดีเม่ือทําไดสําเร็จ ควรใช

ความชวยเหลือเล็กๆ นอยๆ หรือคอยปลอบโยนเด็กเม่ือทําไมเสร็จ

อายุ 4–6 ป เด็กวัยนี้มีจินตนาการดี เริ่มเรียนรูทักษะในการวางแผนการเลน เรียนรูถึงหนาท่ี

ของผูใหญโดยผานการเลน สามารถเชื่อมโยงเหตุการณเขาดวยกัน เด็กจะเริ่มเลียนแบบบทบาท

ของผูใหญ หรือผูใกลชิดมีความอยากรูอยากเห็น เด็กจะพยายามคนหาขอเท็จจริงผิดหรือถูก แมวา

ยังไมเขาใจเหตุผล เริ่มรับรูอารมณของผูอื่นและเริ่มคิดไดวาการกระทําของตนเองจะทําใหผูอื่นรูสึก

อยางไร ความเชื่อม่ันจะพัฒนาในระยะนี้ โดยการสรางชิ้นงานในทางสรางสรรคประสบการณใหมๆ

และการเลนดวยคําพูด เด็กจะตองไดรับความชวยเหลือในการเลนเพ่ือฝกดานจินตนาการ การเลน เชน

สิ่งของตางๆ ท่ีจะใชเลนขายของ เลนเปนหมอ เลนเปนครูในโรงเรียน เปนตน ซ่ึงครู พอแมควรยอมให

เด็กทําสิ่งตางๆ ดวยตนเอง และคอยแนะนํา ตอบคําถามของเด็กและรวมรับรูในสิ่งท่ีเด็กคิด เด็กวัย

ท่ีควรสงเสริมความคิดสรางสรรคเพราะพัฒนาการทางความคิดสรางสรรคในชวง 6 ปแรกจะสูงมาก

หากไดรับการจัดสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสม

จากแนวคิดของ ทอรแรนซ มีผูนํามาวิจัยเพื่อหาวิธีพัฒนาความคิดสรางสรรค เชน อภิสิทธิ์

กัมพลาวลี (2547, หนา 66-67) ทําการศึกษาผลของการฝกกิจกรรมตอเติมผลงานจากสิ่งเราท่ีไมสมบูรณ

ตามแนวคิดของ ทอแรนซ ท่ีมีความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 2 โรงเรียนวัดภาษี

กรุงเทพมหานคร พบวา นักเรียนท่ีไดรับการฝกกิจกรรมตอเติมผลงานจากสิ่งเราท่ีไมสมบูรณตามแนวคิด

ของ ทอแรนซ ท่ีมีความคิดสรางสรรคของนักเรียนมากกวานักเรียนที่ไมไดรับการฝกกิจกรรมตอเติม

ผลงานจากสิ่งเราท่ีไมสมบูรณตามแนวคิดของ ทอแรนซ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

กาญจนา สองแสน (2551, หนา 72) ทําการศึกษาผลการจัดการเรียนรูแบบนักวิจัยท่ีมีความคิด

ตอสรางสรรคของเด็กปฐมวัย อายุ 4-5 ป กําลังศึกษาอยูชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนชุมชนวัดไทรยอย

จังหวัดนนทบุรี พบวาการจัดการเรียนรูแบบนักวิจัยสงเสริมใหเด็กปฐมวัยมีความคิดสรางสรรคสูงข้ึน

อยางชัดเจน

กระทรวงศึกษาธิการ (2534, หนา 16–17; อางถึงใน กิติยา เกาเอ้ียน, 2551, หนา 27) ระบุ

การพัฒนาความคิดสรางสรรคทําไดท้ังทางตรงโดยการสอน หรือในทางออมโดยการจัดบรรยากาศและ

สภาพแวดลอมท่ีพัฒนาความเปนอิสระในการเรียนรู หลักในการพัฒนาความคิดสรางสรรคในทางออม

ดังนี้

Page 48: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

36

1) ยอมรับคุณคาและความสามารถของบุคคลอยางไร

2) แสดงและเนนใหเห็นความคิดของเด็กมีคุณคาและสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชน

3) ใหความเขาใจและเห็นใจในตัวเด็กและความรูสึกของเด็ก

4) อยาพยายามกําหนดแบบเพ่ือใหทุกคนมีความคิดและบุคลิกเดียวกัน

5) อยาสนับสนุนหรือใหรางวัลเฉพาะผลงานท่ีมีผูทดลองทําเปนท่ียอมรับกันแลวควรให

ผลงานแปลกใหมมีโอกาสไดรับรางวัลและคําชมเชยบาง

6) สงเสริมใหใชจินตนาการของตนเอง โดยยกยองเม่ือใชจินตนาการท่ีแปลกและมีคุณคา

7) กระตุนและสงเสริมใหเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องอยูเสมอ

8) สงเสริมใหถามและใหความสนใจตอคําถาม รวมท้ังชี้แนะแหลงคําตอบ

9) ตั้งใจเอาใจใสความคิดแปลกๆ ของเด็กดวยใจเปนกลาง

10) พึงระลึกเสมอวาการพัฒนาความคิดสรางสรรคจะตองใชเวลาและคอยเปนคอยไป

จากพัฒนาการความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยท่ีกลาวมาขางตนจะเห็นไดวาพัฒนาการของ

เด็กปฐมวัยเริ่มตั้งแตแรกเกิด โดยอายุแรกเกิดถึง 2 ป เด็กเริ่มถามชื่อสิ่งของตางๆ เด็กมีความกระตือรือรน

ในการสํารวจ ชิม สัมผัส แสวงหาโอกาสในการอยากรูอยากเห็น อายุ 2–4 ป เด็กจะเรียนรูสิ่งตางๆ

จากประสบการณตรง เด็กอยากรูและถามปญหากับผูใหญ ตองการทํา สิ่งตางๆ ดวยตนเอง เมื่ออายุ

4–6 ป เด็กมีการวางแผนในการเรียนรู การเลน เริ่มสรางผลงาน เริ่มมีจินตนาการเปนของตนเอง รับรู

อารมณของผูอ่ืนและเริ่มคิดไดวาการกระทําของตนเองจะทําใหรูสึกอยางไร ความเชื่อมั่นจะพัฒนา

ในชวงวัยนี้ โดยการสรางชิ้นงานในทางสรางสรรคและสงเสริมใหใชจินตนาการของตนเองอยางตอเนื่อง

อยูเสมอ

2.2.6 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับความคิดสรางสรรค

กรองชนก ทองงาม (2546, บทคัดยอ) ทําการศึกษาผลสัมฤทธิ์การวาดภาพระบายสี

ดานความคิดนามธรรมและความคิดสรางสรรค จากการเรียนดวยชุดกิจกรรมวาดภาพระบายสีของ

นักเรียนท่ีบกพรองทางการไดยิน พบวาทําการศึกษาผลสัมฤทธิ์การวาดภาพระบายสีดานความคิด

นามธรรมและความคิดสรางสรรคสูงข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

ดวงพร พิทักษวงศ (2546, หนา 81) ทําการศึกษาชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อพัฒนาความคิด

สรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย พบวาชุดกิจกรรมศิลปะเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

ท่ีเรียนชุดกิจกรรมศิลปะเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคและท่ีเรียนศิลปะแบบปกติตามแนวการจัด

ประสบการณชั้นปฐมวัย แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

สุวรรณา กอนทอง (2547, หนา 69-71) ทําการศึกษาเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของ

เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะประกอบเสียงดนตรีคลาสสิกและเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัด

กิจกรรมศิลปะแบบปกติ ท่ีกําลังศึกษาอยูชั้นอนุบาลปท่ี 3 พบวาเด็กปฐมวัยไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะ

Page 49: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

37

ประกอบเสียงดนตรีคลาสสิกและเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะแบบปกติ ไดรับการจัดกิจกรรม

ศิลปะประกอบเสียงดนตรีคลาสสิกและเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะแบบปกติ มีความคิด

สรางสรรคสูงข้ึนกวาการทดลองและมีความคิดสรางสรรคแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ

.01

อภิสิทธิ์ กัมพลาวลี (2547, หนา 66-67) ทําการศึกษาผลของการฝกกิจกรรมตอเติมผลงาน

จากสิ่งเราท่ีไมสมบูรณตามแนวคิดของ ทอแรนซ ท่ีมีความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นอนุบาลปท่ี 2

โรงเรียนวัดภาษี กรุงเทพมหานคร พบวานักเรียนท่ีไดรับการฝกกิจกรรมตอเติมผลงานจากสิ่งเรา

ท่ีไมสมบรูณตามแนวคิดของ ทอแรนซ ท่ีมีความคิดสรางสรรคของนักเรียนมากกวานักเรียนท่ีไมไดรับ

การฝกกิจกรรมตอเติมผลงานจากสิ่งเราท่ีไมสมบูรณตามแนวคิดของ ทอแรนซ อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติท่ีระดับ .01

มันฑณี คัมภีรพงศ (2549, หนา 51) ทําการศึกษาผลการเรียนรูของ วิลเลี่ยมส ที่มีตอ

ความคิดสรางสรรคทางศิลปะของนักเรียนชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนวัดมกุฏกษัตริยาราม กรุงเทพมหานคร

พบวานักเรียนท่ีไดรับการฝกกิจกรรมตามแนวคิดของ วิลเลี่ยมส มีความคิดสรางสรรคมากขึ้นกวา

นักเรียนท่ีไมไดรับการฝกกิจกรรมตามแนวคิดของ วิลเลี่ยมส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

กาญจนา สองแสน (2551, หนา 72) ทําการศึกษาผลการจัดการเรียนรูแบบนักวิจัยที่มีตอ

ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย อายุ 4-5 ป กําลังศึกษาอยูชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนชุมชนวัดไทรยอย

จังหวัดนนทบุรี พบวาการจัดการเรียนรูแบบนักวิจัยสงเสริมใหเด็กปฐมวัยมีความคิดสรางสรรคสูงข้ึน

อยางชัดเจน

กิติยา เกาเอ้ียน (2551, หนา 84) ทําการศึกษาผลของการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรค

โดยใชแนวคิดของ วิลเลี่ยมส ท่ีมีตอความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปที่ 1 โรงเรียน

วัดบุณฑริการาม พบวาเด็กปฐมวัยไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคโดยใชแนวคิดของ วิลเลี่ยมส

สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

ฌานิกา จงบุรี (2551, หนา 89) ทําการศึกษาผลของการจัดประสบการณแบบโครงการท่ีมี

ตอความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปท่ี 2 พบวาเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดประสบการณ

แบบโครงการมีผลการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

ศิรปิระภาพรรณ ตุมวิจิตร (2552, หนา 68) ทําการศึกษาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

จากการจัดกิจกรรมศิลปะติดดอกไมแหง ชั้นอนุบาลปท่ี 1 พบวาเด็กปฐมวัยกอนและหลังไดรับการจัด

กิจกรรมศิลปะการปะติดดอกไมแหง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

พจนีย เชื้อบัณฑิต (2554, หนา 63) ทําการศึกษาความคิดสรางสรรคของเด็กท่ีไดรับการจัด

กิจกรรมศิลปะประดิษฐดวยกระดาษ ชั้นอนุบาลปท่ี 3 พบวาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

Page 50: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

38

หลังจากทดลองสูงกวากอนการทดลองดวยการจัดกิจกรรมศิลปะดวยกระดาษอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ท่ีระดับ .01

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนาความคิดสรางสรรค พบวา

ในการพัฒนาความคิดสรางสรรคนั้น ครูผูสอนตองจัดประสบการณใหสอดคลองกับความสนใจของเด็ก

เพ่ือใหสามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคไดอยางแทจริง โดยการใชกิจกรรมท่ีหลากหลายซ่ึงกิจกรรมนั้น

อาจจัดเปนกิจกรรมเดี่ยวหรือจัดกิจกรรมหลายรูปแบบ ซ่ึงชุดกิจกรรมควรประกอบกิจกรรมยอย

ท่ีสามารถชวยในการพัฒนาเด็กไดดีท้ังรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญารวมท้ังการฝกฝนปฏิบัติ

ใหเด็กไดเกิดการเรียนรู การคิดเปน ทําเปน รูจักแกปญหา

2.3 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับชุดกิจกรรม

2.3.1 ความหมายของชุดกิจกรรมและประเภทของชุดกิจกรรม

ชุดการเรียนมีชื่อเรียกตางกัน เชน ชุดการสอน ชุดการเรียนการสอน ชุดการเรียนสําเร็จรูป

ชุดการสอนรายบุคคล ชุดการเรียนรูดวยตนเอง ชุดการเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู ซ่ึงเปนชุดของสื่อ

ประสมท่ีจัดข้ึนสําหรับหนวยการเรียน ชุดการสอน ชุดการเรียน ชดุการเรียนการสอนหรือชุดกิจกรรม

มีผูใหความหมายไวตางๆ กัน ดังนี้

แคปเฟอร และมิเลียน (Kapfer & Mirian, 1972, pp. 3-10) ใหความหมายวาชุดกิจกรรม

เปนรูปแบบของการสื่อสารระหวางครูกับนักเรียน ซ่ึงประกอบคําแนะนําท่ีใหนักเรียนไดทํากิจกรรม

การเรียนจนบรรลุพฤติกรรมท่ีเปนผลของการเรียนรู การรวบรวมเนื้อหาท่ีนํามาสรางชุดกิจกรรมนั้น

ไดมาจากขอบขายของความรูที่หลักสูตรตองการใหนักเรียนไดเรียนรู และเนื้อหาจะตองตรงและ

ชัดเจนท่ีจะสื่อความหมายใหผูเรียนไดเกิดพฤติกรรมตามเปาหมายของการเรียน

กูด (Good, 1973, p. 306) อธิบายถึงชุดกิจกรรมวา ชุดกิจกรรมคือโปรแกรมทางการสอน

ทุกอยางท่ีจัดไวเฉพาะ มีวัสดุอุปกรณท่ีใชในการสอน อุปกรณที่ใชในการเรียน คูมือครู เนื้อหา

แบบทดสอบ ขอมูลท่ีเชื่อถือได มีการกําหนดจุดมุงหมายของการเรียนไวอยางชัดเจน ชุดกิจกรรมนี้

ครูเปนผูจัดใหนักเรียนแตละคนไดศึกษาและฝกฝนตนเอง โดยครูเปนผูคอยแนะนําเทานั้น

บุญเก้ือ ควรหาเวช (2542, หนา 91) กลาววา ชุดการสอนเปนสื่อการสอนชนิดหนึ่ง

ซ่ึงเปนชุดของสื่อประสม (multi media) ที่จัดขึ้นสําหรับหนวยการเรียน ตามหัวขอเนื้อหาและ

ประสบการณของแตละหนวยท่ีตองการใหผูเรียนไดรับ

ชัยยงค พรหมวงศ และคนอ่ืนๆ (2537, หนา 8) ใหความหมายชุดการสอนวาเปนสื่อประสม

ท่ีไดจากระบบการผลิตและการนําสื่อการสอนท่ีสอดคลองกับวิชา หนวย หัวเรื่องและวัตถุประสงค

เพ่ือชวยใหการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนอยางมีประสิทธิภาพ

Page 51: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

39

ลัดดา สุขปรีดี (2543, หนา 126) กลาววา ชุดการสอนเปนสื่อประสมสําเร็จรูปเพ่ือใหครูใช

ในการสอนโดยท่ีครูไมตองเตรียมสื่ออ่ืนๆ หรือวางแผนการสอนใหม

กิดานันท มลิทอง (2546, หนา 39) กลาววา ชุดการสอน (teaching package) เปนการนํา

วัสดุมาผลิตเปนชุดสื่อประสมข้ึนตามข้ันตอนการใชของระบบการสอนของแตละวิชา สําหรับผูสอน

แตละวิชา สวนชุดการเรียน (learning package) เปนการนําวัสดุมาผลิตเปนชุดสื่อประสมขึ้น

ตามข้ันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของแตละวิชาสําหรับผูเรียนใหสามารถใชเรียนได

ดวยตนเอง สื่อประสมแตละชุดจะมีลักษณะเปนอยางไร และประกอบดวยอะไรบางนั้น ข้ึนอยูกับ

จุดมุงหมายของบทเรียนและวัตถุประสงคของการใช โดยท่ัวไปแลวชุดสื่อประสมจะจัดอยูในกลองหรือ

แฟม

จากการศึกษาความหมายของชุดการสอนขางตนพอสรุปไดวา ชดุการสอน ชุดการเรียนหรือ

ชุดกิจกรรมเปนชุดสื่อประสมท่ีสรางข้ึนอยางเปนระบบ มีการกําหนดจุดมุงหมายของการเรียนไว

อยางชัดเจน ซ่ึงประกอบดวย คูมือครู เนื้อหา กิจกรรม วัสดุอุปกรณและแบบทดสอบมีการจัดเก็บไว

ในแฟมหรือกลอง ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยเลือกใชคําวา ชุดกิจกรรมเปนคําหลัก เพราะชื่อ

มีความเหมาะสม สอดคลองกับการจัดประสบการณท่ีเนนให เด็กเรียนรูแบบลงมือกระทํา

ประเภทของชุดกิจกรรม

ชุดกิจกรรมมีการหลายประเภท นักการศึกษาหลายทานไดจําแนกประเภทชุดกิจกรรมไว

ใกลเคียงกัน ไดแก ชัยยงค พรหมวงศ และคนอ่ืนๆ (2537, หนา 118-119) บุญเก้ือ ควรหาเวช (2542,

หนา 94-95) สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2545, หนา 52-53)

ประเภทของชุดกิจกรรมมีดังนี้

1) ชุดการเรียนการสอนประกอบการบรรยาย เปนชุดการเรียนการสอนที่มุงขยาย

เนื้อหาสาระการสอนแบบบรรยายใหชัดเจนข้ึน โดยกําหนดกิจกรรมและสื่อการสอนใหครูใชประกอบ

การบรรยาย บางครั้งจึงเรียกวา “ชุดการเรียนการสอนสําหรับครู” ชุดการเรียนการสอนนี้จะมีเนื้อหาวิชา

เพียงหนวยเดียวและใชกับผูเรียนท้ังชั้น โดยแบงหัวขอท่ีจะบรรยายและกิจกรรมไวตามลําดับข้ัน ท้ังนี้

เพ่ืออํานวยความสะดวกแกครูผูสอน และเพ่ือเปลี่ยนบทบาทการพูดของครูใหนอยลง เปนการเปดโอกาส

ใหผูเรียนไดมีสวนในการจัดกิจกรรมการเรียนมากยิ่งข้ึน ชุดการเรียนการสอนประกอบการบรรยายนี้

นิยมใชกับการฝกอบรม และการสอนในระดับอุดมศึกษา สื่อการสอนท่ีใชอาจเปนแผน คําสอน แผนภูมิ

รูปภาพ ภาพยนตร โทรทัศน หรือกิจกรรมกลุม เปนตน

2) ชุดการเรียนการสอนสําหรับกิจกรรมกลุม เปนชุดการเรียนการสอนที่มุงเนน

ท่ีตัวผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมรวมกัน ครูจะเปลี่ยนบทบาทจากผูบรรยายเปนผูแนะนํา ชวยเหลือผูเรียน

ชุดการเรียนการสอนแบบกิจกรรมกลุม อาจจัดเรียนในหองเรียนแบบศูนยการเรียน ชุดการเรียนการสอน

แตละชุดจะประกอบดวยชุดการสอนยอยท่ีมีจํานวนเทากับจํานวนศูนย ที่แบงไวในรูปสื่อประสม

Page 52: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

40

อาจใชเปนสื่อรายบุคคล หรือท้ังกลุมใชรวมกันก็ได ในขณะทํากิจกรรมการเรียนหากมีปญหาผูเรียน

สามารถซักถามครูไดเสมอ เม่ือจบการเรียนในแตละศูนยกิจกรรมนั้น ซ่ึงจัดไวในรูปสื่อประสมอาจใช

เปนสื่อรายบุคคลหรือท้ังกลุมใชรวมกันก็ได ในขณะทํากิจกรรมการเรียนหากมีปญหา ผูเรียนสามารถ

ซักถามครูไดเสมอ เม่ือจบการเรียนในแตละศูนยแลว ผูเรียนสนใจท่ีจะเรียนเสริมก็สามารถศึกษาไดจาก

ศูนยสํารองท่ีจัดเตรียมไวโดยไมตองเสียเวลารอคอยผูอ่ืน

3) ชุดการเรียนการสอนรายบุคคล เปนชุดการเรียนการสอนที่จัดไวใหผูเรียน

เรียนดวยตนเองตามคําแนะนําท่ีระบุไว แตอาจมีการปรึกษากันระหวางเรียนได และเม่ือสงสัย ไมเขาใจ

บทเรียนตอนไหน สามารถไตถามครูได การเรียนจากชุดการเรียนการสอนรายบุคคลนี้ นิยมใชหองเรียน

ท่ีมีลักษณะพิเศษ แบงเปนสัดสวนสําหรับผูเรียนแตละคน ซ่ึงเรียกวาหองเรียนรายบุคคล ชุดการเรียน

การสอนรายบุคคลนี้ นักเรียนอาจนําไปเรียนท่ีบานไดดวย โดยมีผูปกครองหรือบุคลากรอื่นคอยให

ความชวยเหลือ ชดุการเรียนการสอนรายบุคคลนี้เนนหนวยการสอนยอย จึงนิยมเรียกวา บทเรียนโมดูล

ชัยยงค พรหมวงศ และคนอ่ืนๆ (2537, หนา 118-119) ไดเพ่ิมชุดกิจกรรมข้ึนอีก 1 ประเภท

ท่ีนักการศึกษาทานอ่ืนไมไดกลาวคือ ชุดการเรียนการสอนทางไกล เปนชุดการเรียนการสอนสําหรับ

ผูเรียนอยูตางถ่ินตางเวลา มุงสอนใหผูเรียนศึกษาดวยตนเอง โดยไมตองมาเขาชั้นเรียน ประกอบดวย

สื่อประเภทสิ่งพิมพ รายการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ภาพยนตร และการสอนเสริม

ตามศูนยบริการการศึกษา เชน ชุดการเรียนการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช

เปนตน

จากการศึกษาประเภทของชุดการสอน ชุดการเรียน หรือชุดกิจกรรม แบงออกเปนหลายประเภท

ซ่ึงแตละประเภทครูและเด็กมีบทบาทแตกตางกันไป ในแนวการสรางชุดกิจกรรมกลุม ท่ีมุงเนนใหเด็ก

ไดลงมือปฏิบัติกิจกรรมท่ีมีอยูในชุดกิจกรรม โดยมีครูเปนผูดูแลอยางใกลชิดและเปนผูนําในการปฏิบัติ

กิจกรรมรวมกับนักเรียน การวิจัยในครั้งนี้ไดนําชุดการเรียนการสอนสําหรับกิจกรรมกลุมท่ีมุงเนน

ท่ีตัวผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมรวมกัน ครูจะเปลี่ยนบทบาทเปนผูแนะนํา ชวยเหลือผูเรียน สื่อท่ีใชเปนสื่อ

รายบุคคล หรือท้ังกลุมใชรวมกันก็ได

2.3.2 องคประกอบของชุดกิจกรรม

บุญชม ศรีสะอาด (2541, หนา 95-96) กลาววาชุดการเรียนการสอนจะมีองคประกอบท่ีสําคัญ

4 ดาน ดังนี้

1) คูมือการใชชุดการเรียนการสอน เปนคูมือท่ีจัดทําข้ึน เพ่ือใหผูใชชุดการเรียนการสอน

ศึกษาและปฏิบัติตาม เพ่ือใหบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพ อาจประกอบดวยแผนการสอนสิ่งท่ีครู

ตองเตรียมกอนสอน บทบาทของผูเรียน การจัดชั้นเรียน (ในกรณีของชุดการสอนท่ีมุงใชกับกลุมยอย

เชน ในศูนยการเรียน)

Page 53: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

41

2) บัตรงาน เปนบัตรท่ีมีคําสั่งวาจะใหผูเรียนปฏิบัติอะไรบาง โดยระบุกิจกรรมตามลําดับ

ข้ันตอนของการเรียน

3) แบบทดสอบวัดความกาวหนาของผูเรียน เปนแบบทดสอบท่ีใชสําหรับตรวจสอบวา

หลังจากเรียนชุดการเรียนการสอนจบแลว ผูเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู

ท่ีกําหนดหรือไม

4) สื่อการเรียนตางๆ เปนสื่อสําหรับผูเรียนไดศึกษา มีหลายชนิดประกอบกันอาจเปน

ประเภทสิ่งพิมพ เชน บทความ เนื้อหาเฉพาะเรื่อง จุลสาร บทเรียนโปรแกรม หรือประเภทโสตทัศนูปกรณ

เชน รูปภาพ แผนภูมิตางๆ เทปบันทึกเสียง ฟลมสตริป สไลดขนาด 2 x 2 นิ้วของจริง เปนตน

กิดานันท มลิทอง (2546, หนา 39) กลาววา องคประกอบของชุดการสอนและชุดการเรียน

มีดังนี้

1) คูมือสําหรับผูสอนในการใชชุดการสอนซ่ึงจะมีรายละเอียดตางๆ เพ่ือเปนแนวทาง

ในการสอนรวมถึงการจัดหาวัสดุ อุปกรณการสอน สวนคูมือสําหรับผู เรียนในชุดการเรียน

จะเปนรายละเอียดเพ่ือใหผูเรียนไดทราบถึงเนื้อหาและกิจกรรมตางๆ ในการเรียน

2) คําสั่งเพ่ือกําหนดแนวทางในการสอนหรือการเรียน

3) เนื้อหาบทเรียน จัดอยูในรูปของสไลด ฟลมสตริป เทปบันทึกเสียง วัสดุกราฟก

มวนวีดีทัศน หนังสือบทเรียน บทเรียนคอมพิวเตอร ซ่ึงเปนเนื้อหาตามหลักสูตร

4) กิจกรรมการเรียนเปนการใหผูเรียนทํารายงาน กิจกรรมท่ีกําหนดให หรือคนควา

ตอจากท่ีเรียนไปแลวเพ่ือความรูท่ีกวางขวางข้ึน

5) แบบทดสอบเปนแบบทดสอบเก่ียวกับเนื้อหาบทเรียนนั้นเพ่ือการประเมินผูเรียน

สุกิจ ศรีพรหม (2541, หนา 69) กลาววาชุดการสอนมีองคประกอบ 7 อยาง คือ

1) เนื้อหาหรือมโนทัศนท่ีตองการใหผูเรียนศึกษา (concept focus) ชุดการสอนหนึ่ง

ควรเนนใหผูเรียนศึกษาเพียงมโนทัศนหลักเรื่องเดียว

2) วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (behaviorally stated objective) เปนสิ่งท่ีสําคัญท่ีสุด

ท่ีจะทําใหชุดการสอนนั้นประสบความสําเร็จหรือลมเหลว เปนขอความท่ีระบุถึงพฤติกรรมท่ีคาดวา

จะใหเกิดข้ึนหลังจากการเรียนรู

3) มีกิจกรรมใหเลือกหลายๆ อยาง (multiple active methodologies) คือ

รายละเอียดของกิจกรรมท่ีตองการใหนักเรียนปฏิบัติ

4) วัสดุประกอบการเรียน (diversified learning resources) กิจกรรมใหเลือก

หลายทางจําเปนตองมีวัสดุประกอบการเรียนหลายๆ อยาง

5) แบบทดสอบ (evaluation instrument) ในการประเมินผลดูวานักเรียน

เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรูจากการสอนมากนอยเพียงใด แบบทดสอบท่ีใชอาจใช 3 ลักษณะ คือ

Page 54: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

42

(1) แบบทดสอบกอนเรียน (pre-test)

(2) แบบทดสอบตนเอง (self-test)

(3) แบบทดสอบหลังเรียน (post-test)

6) กิจกรรมสํารองหรือกิจกรรมเพ่ิมเติม (breadth and depth activities) หลังจาก

ท่ีนักเรียนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแลว อาจจัดกิจกรรมท่ีเสนอแนะเพ่ิมเติมความสนใจ

7) คําชี้แจงวิธีใชชุดการสอน (instruction) เนื่องจากชุดการสอนท่ีผลิตข้ึนเพ่ือให

นักเรียนเรียนดวยตนเอง คําชี้แจงวิธีใชชุดการสอนจึงจําเปนตองบอกรายละเอียดของวิธีใชชุดการสอน

ทําใหนักเรียนสามารถเขาใจและเรียนไดดวยตนเอง

บุญเก้ือ ควรหาเวช (2542, หนา 95-102) ไดกําหนดองคประกอบที่สําคัญๆ ภายใน

ชุดการเรียนการสอน โดยจําแนกออกเปน 4 สวน คือ

1) คูมือครู เปนคูมือครูและแผนการสอนสําหรับผูสอน หรือผูเรียนตามแตชนิดของ

ชุดการเรียนการสอน ภายในคูมือจะชี้แจงถึงวิธีการใชชุดการเรียนการสอนเอาไวอยางละเอียด

ประกอบดวย

(1) คํานํา (สําหรับคูมือท่ีเปนเลม)

(2) สวนประกอบของชุดการเรียนการสอน

(3) คําชี้แจงสําหรับผูเรียน

(4) สิ่งท่ีผูสอนและผูเรียนตองเตรียม

(5) บทบาทของผูสอนและผูเรียน

(6) การจัดหองเรียน

(7) แผนการสอน

(8) เนื้อหาสาระของชุดการเรียนการสอน

(9) แบบฝกหัดปฏิบัติหรือกระดาษตอบคําถาม

(10) แบบทดสอบกอนและหลังเรียน (พรอมเฉลย)

2) บัตรคําสั่งหรือคําแนะนํา จะเปนสวนท่ีบอกใหผูเรียนดําเนินการเรียน หรือประกอบ

กิจกรรมแตละอยาง ตามข้ันตอนท่ีกําหนดไวประกอบดวย

(1) คําอธิบายในเรื่องท่ีจะศึกษา

(2) คําสั่งใหผูเรียนดําเนินกิจกรรม

(3) การสรุปบทเรียน

3) เนื้อหาสาระและสื่อ จะบรรจุไวในรูปของสื่อการสอนตางๆ อาจจะประกอบดวย

บทเรียนโปรแกรม สไลด เทปบันทึกเสียง ฟลมสตริป แผนภาพโปรงใส วัสดุกราฟก หุนจําลอง

ของตัวอยาง รูปภาพ เปนตน

Page 55: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

43

4) แบบประเมินผล ผูเรียนจะทําการประเมินผลความรูดวยตนเอง กอนและหลังเรียน

แบบประเมินผลท่ีอยูในชุดการเรียนการสอน อาจจะเปนแบบฝกหัด ใหเติมคําในชองวางเลือกคําตอบ

ท่ีถูก จับคู ดูผลการทดลอง หรือทํากิจกรรม เปนตน

ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดสรางชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคโดยใชคูมือการใช

ประกอบดวย จุดประสงคการเรียนรู คําแนะนําสําหรับครูผูสอน แผนการจัดการเรียนรู เนื้อหาสาระ

ของชุดกิจกรรม สื่อการเรียนรู การวัดและประเมินผล แบบทดสอบกอนและหลังเรียนรู

2.3.3 การใชชุดกิจกรรมในการจัดประสบการณสําหรับเด็กปฐมวัย

20 ชุดกิจกรรมมีประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนทุกระดับถือวาเปนนวัตกรรมการสอน

ท่ีไดรับความนิยมอยางแพรหลาย และเปนสื่อท่ีมีความเหมาะสมชวยเราความสนใจรวมท้ังชวยสงเสริม

ใหผูเรียนเกิดความเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรูดวยตนเองตามความสามารถของแตละคน

ทําใหผูเรียนเกิดทักษะในการแสวงหาความรูไมเบื่อหนายในการเรียน มีสวนรวมในการเรียนและ

สรางความม่ันใจใหแกครูเพราะชุดกิจกรรมมีการจัดระบบการใชสื่อ ผลิตสื่อ และกิจกรรมการเรียนรู

รวมท้ังมีขอแนะนํา การใชสําหรับครู ทําใหครูมีความพรอมในการจัดกิจกรรมการเรียนรูจึงกอใหเกิด

ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนอยางแทจริง 2 0 ชุดกิจกรรมท่ีผานการทดลองใช และไดปรับปรุงแกไข

แลวสามารถสงเสริมคุณภาพการจัดการศึกษาไดอยางเหมาะสมยิ่งข้ึน

การใชชุดกิจกรรมในการจัดประสบการณใหกับเด็กปฐมวัย สงผลตอการพัฒนาความคิด

สรางสรรคของเด็ก ดังนี้

1) ชวยเราความสนใจ เนื่องจากผูเรียนจะประกอบกิจกรรมดวยตนเอง ทําใหผูเรียน

สนใจตอการเรียนตลอดเวลา

2) ชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท่ีดีสามารถเรียนรูไดตามความสนใจ ความสามารถ

ความถนัดของตนเองตามโอกาสท่ีเอ้ืออํานวย

3) สงเสริมและฝกหัดใหผูเรียนรูจักการแสวงหาความรูดวยตนเอง และมีความรับผิดชอบ

ตนเองและสังคม

4) ชวยใหการเรียนเปนอิสระจากการสอนแบบเดิมของผูสอน เนื่องจากผูสอนจะเปลี่ยน

บทบาทจากผูบรรยายมาเปนผูแนะนํา ชวยเหลือ และใชชุดกิจกรรมทําหนาท่ีถายทอดความรูตางๆ

แทนครู

5) สรางความพรอม และความม่ันใจใหแกครู เพราะในการผลิตชุดกิจกรรมนั้น

ไดจัดระบบการใชสื่อการสอน ท้ังการผลิตสื่อการสอน กิจกรรม ตลอดจนขอแนะนําการใชสําหรับ

ผูสอนสามารถนําไปใชไดทันที

6) สงเสริมการเรียนแบบตอเนื่องหรือการศึกษาตลอดชีพ เพราะสามารถนําชุดกิจกรรม

ไปศึกษาดวยตนเองไดทุกเวลา และทุกสถานท่ี

Page 56: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

44

7) ชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนรู เพราะชุดกิจกรรมไดผลิตข้ึนโดยกลุมผูมีความรู

ความสามารถ มีการทดลองใชจนแนใจวาใชไดผลดีมีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีตั้งไวแลวจึงนําออกใช

จากที่กลาวมาแลวพอสรุปไดวา การนําชุดกิจกรรมไปใชในการจัดการเรียนรูใหกับเด็ก

จะสงผลใหการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพราะสื่อในชุดกิจกรรมเปนสิ่งท่ีชวยให

เด็กไดเขาใจในเนื้อหาบทเรียนไดกระจางมากข้ึน และเปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็น ฝกฝน

การตัดสินใจ การแสวงหาความรูดวยตนเอง เปนการสงเสริมและกระตุนเด็กใหเกิดการเรียนรูและ

การพัฒนาทางความคิดริเริ่มสรางสรรคไดซ่ึงจักรพงศ สุวรรณรัศมี (2553, หนา 15) กลาววาหลักการ

จัดกิจกรรมใหแกเด็กจะตองคํานึงถึงหลักจิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาการศึกษาและตองมีเวลาใหเด็ก

ปฏิบัติกิจกรรมอยางเหมาะสม ซึ่งการจัดกิจกรรมประจําวันสําหรับเด็กอายุ 5–6 ป ควรใชเวลา

ทํากิจกรรม 40-60 นาที นอกจากนี้การจัดกิจกรรมประจําวันอาจกําหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรม

ใหเหมาะสมกับวัยของเด็กและยืดหยุนตามความสนใจเด็ก เพราะถาใชชวงเวลาสั้นเกินไปหรือมากเกินไป

ก็จะทําใหเด็กขาดความสนใจ

2.3.4 การใชชุดกิจกรรมกับการพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

การใชชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย ไดแก

1) กิจกรรมทางดานภาษา ไดแกการแตงเรื่อง การเลานิทาน การเลาเรื่อง การตอบคําถาม

จากสิ่งเราตางๆ ท่ีกําหนด เชน คําถาม จากภาพ จากสิ่งท่ีพบเห็นและประสบการณตางๆ ดังนี้

(1) การเลานิทานจากประสบการณ เชน เรื่องเกี่ยวกับบาน ครอบครัว สัตวเลี้ยง

ตุกตา ของเลน ประสบการณใหมๆ ท่ีเพ่ิงไดรับ

(2) การเลานิทานจากภาพ โดยใหนักเรียนดูภาพ แลวบรรยายออกมาเปนเรื่องราว

(3) การตั้งชื่อเรื่องจากการดูภาพ โดยใหนักเรียนดูภาพแลวใหนักเรียนตั้งชื่อ

(4) การแตงเรื่องจากหัวขอท่ีสมมุติข้ึน เชน ครูท่ีไมพูด ผูชายรองไห สิ่งท่ีบินได

สิงโตท่ีไมคําราม

(5) การสวมบทบาท ผูกเปนเรื่องละครข้ึน

(6) ฝกใหเด็กแกปญหาจากคําถาม บอกผลท่ีเกิดข้ึนจากเหตุการณ

(7) การอานภาพการตูนบอกประโยชนของสิ่งของท่ีกําหนดให ใหมากที่สุด เชน

อิฐ กระปอง เชือก หนังสือ ดินสอ ดิน หิน เปนตน

(8) บอกชื่อสิ่งตางๆ ท่ีเปนวงกลมใหมากท่ีสุด

(9) บอกคําท่ีตนรูจักมาใหมากท่ีสุด ในสถานการณตอไปนี้ เชน ถานักเรียนรูสึกวา

อากาศรอนมาก จงบอกคําท่ีคิดวาจะชวยทําใหอากาศรอนมาใหมากท่ีสุด

(10) ใหนักเรียนบรรยายความนึกคิดจากเสียงท่ีไดยิน เชน เสียงรถแลน เสียงรอง

ของสัตว เสียงเชียรกีฬา เสียงพายุ เสียงน้ําตก เปนตน

Page 57: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

45

(11) ใหนักเรียนบรรยายถึงสิ่งท่ีประทับใจมากท่ีสุด ท่ีชอบมากท่ีสุด ท่ีไมชอบมากท่ีสุด

เก่ียวกับตัวนักเรียนเอง

(12) ใหนักเรียนบรรยายสิ่งท่ีสวยท่ีสุดเทาท่ีเคยเห็นมา 1 อยาง พยามใหใชถอยคํา

ท่ีทําใหผูฟงมองเห็นภาพพจน ความสวยงามของสิ่งนั้น

(13) ใหนักเรียนเลาสิ่ง ท่ีคนอยากจะได หรืออยากจะเปนมาใหฟง 1 เรื่อง

พรอมเหตุผล

(14) จงเติมขอความใหสมบูรณ เชน

แข็งเหมือนกับ...........................................

เหลืองเหมือนกับ........................................

ลูกแมวตัวเล็กเหมือนกับ............................

ฝนตกหนักเหมือนกับ................................

(15) ฝกใหนักเรียนไดเลนเกมการตอศัพท เชน ฟาอะไร ฟาแลบ แลบอะไร

แลบลิ้น เปนตน

(16) ฝกใหเด็กออกเสียงเลียนเสียงสิ่งตางๆ ตามจินตนาการ เชน เสียงนก เสียงไก

เสียงฝนตก เปนตน

2) กิจกรรมดานศิลปะ เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมความคิดสรางสรรค และชวนฝก

ประสาทสัมผัสระหวางมือกับตา ไมเพียงเทานั้นยังเปนการผอนคลายความตึงเครียดทางอารมณ

แตยังเปนการสงเสริมความคิดอิสระ ความคิดจินตนาการ ฝกการทํางานดวยตนเอง การรูจักใชความคิด

ของตนเองในการแสดงออกทางความคิดหลายๆ ดาน เชน ความสนุก การกระโดดโลดเตน การแสดงออก

ถึงอารมณและความรูสึก เปนการพัฒนาความรูสึกนึกคิดนําไปสูการคิดอยางสรางสรรคตอไป กิจกรรม

ศิลปะ ไดแก การวาดภาพ การละเลงสี หรือวาดภาพดวยนิ้วมือ (finger painting) การฉีกกระดาษ

ปะกระดาษ ตัดกระดาษ การพับกระดาษ การปนดินน้ํามัน แปง และดินเหนียว การประดิษฐเศษวัสดุ

3) กิจกรรมการเคลื่อนไหวเชิงสรางสรรค ไดแก กิจกรรมท่ีแสดงถึงการเคลื่อนไหว

ของรางกายสวนใดสวนหนึ่ง หรือท้ังหมดตามจินตนาการที่เด็กมีอยู เชน การแสดงทาเลียนแบบ

การแสดงทาตามความรูสึก อาจจะมีสิ่งเรา เชน เพลง หรือเครื่องดนตรีประกอบ ไดแก

(1) ใหเด็กแสดงทาทางเลียนแบบหรือเลนสมมติอยางงายๆ ในเรื่องตางๆ เชน

สมมติเดินทาคนแก ทําทาทหาร ทาแบกของหนัก หุนยนต หรือการทํากิจวัตรประจําวัน หรือกิจกรรม

ตามธรรมชาติ เชน ตกปลา พายเรือ

(2) ใหเด็กแสดงความรูสึกดวยทาทางและสีหนา เชน โกรธ ดีใจ เสียใจ ตกใจ หรือ

ทาท่ีสัมผัสของรอน ของเย็น

Page 58: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

46

(3) ฝกใหเด็กเลนตามจินตนาการ ไดแก เลาเรื่องใหเด็กฟง แลวใหเด็กเกิดจินตนาการ

เคลื่อนไหวไปตามเนื้อเรื่องนั้นๆ เพราะตามธรรมชาติของเด็กชอบเลนและชอบฟงนิทาน

สรุปไดวา การพัฒนาความคิดสรางสรรคผูวิจัยตองสงเสริมกิจกรรมโดยใหเด็กเรียนรู

ดวยการสรางผลงานดวยตนเองเพ่ือสงเสริมใหเด็กเกิดจินตนาการและการเรียนรูเด็กเรียนรูสรางสรรค

โดยการกระทํา การพัฒนาความคิดสรางสรรคครั้งนี้ผูวิจัยใชสื่อตางๆ ในชุดกิจกรรมกระตุนใหเด็ก

เกิดจินตนาการและลงมือสรางสรรคผลงานดวยตนเอง

อารี รังสินันท (2526, หนา 108-111) กลาววาการจัดประสบการณเพื่อพัฒนาความคิด

สรางสรรคมีแนวทางในการจัดการเรียนรู ดังนี้

1) สอนใหเกิดจินตนาการหรือการใชเทคนิคการสอนแบบสรางสรรค คือ การสอน

เพ่ือมุงใหเด็กเกิดความคิดสรางสรรคที่มุงกระตุนใหเกิดนิสัย และเจตคติในทางการสรางสรรค

ดวยการสงเสริมความคิดจินตนาการแกเด็ก สงเสริมใหเด็กคิดแปลกใหม และคิดในทางสรางสรรค

ซ่ึงดูเหมือนวาจะไมมีทางเปนไปไดหรือเปนไปไดยาก เชน ในสมัยกอนคนคิดวาโทรทัศนเปนเรื่องประหลาด

ไมมีทางเปนไปได มนุษยก็สามารถคิดไดสําเร็จ เปนตน การคิดในลักษณะเชนนี้ เด็กๆ จะกลาคิด

มากกวาผูใหญ เพราะไมติดอยูกับเหตุผลแตเปนความคิดฝนซ่ึงการสอนเพ่ือใหเกิดพฤติกรรมสรางสรรค

จําเปนตองอาศัยความคิดจินตนาการ ครูชวยใหเด็กไดสานตอ หรือทดลองกับความคิดจินตนาการ

ดวยการจัดหาวัสดุ และใหแนวทางแกเด็กก็จะชวยใหความคิดจินตนาการกลายเปนจริงข้ึนมาได และ

การสอนใหเกิดจินตนาการเหมาะสําหรับเด็กปฐมวัยอยางยิ่ง เพราะกําลังพัฒนาดานจินตนาการ

เด็กจึงเรียนรูดวยความสนุกสนานและนาตื่นเตน

2) สอนใหเด็กเรียนรูสรางสรรคโดยการกระทํา เนนการสภาวะสรางสรรคท่ีกอใหเกิด

การตอบสนองหลายรูปแบบ เชนการนํานักเรียนใหเกิดความรูสึกกับเหตุการณที่นาประหลาดใจ

ดวยการคิดและบอกความรูสึกจริงๆ จากสิ่งเราท่ีกําหนดให เชน ใหนักเรียนบรรยายเก่ียวกับผูชาย

ท่ีรองไห ครูท่ีไมคอยพูด หรือสุนัขท่ีไมเหา องคประกอบสําคัญเหนือสิ่งอ่ืนใดท่ีทําใหท่ีทําเกิดความคิด

สรางสรรคก็คือการท่ีไดคิดจริงๆ

3) การสอนใหเด็กเรียนรูวิธีการระดมพลังสมอง หรือการระดมความคิดเปนเทคนิค

วิธีหนึ่งในการแกปญหา ซ่ึงมีจุดมุงหมายเพ่ือสงเสริมใหบุคคลมีความคิดหลายทิศทางไดมากในชวงเวลา

ท่ีจํากัด โดยมีหลักเกณฑในการระดมความคิด ดังนี้

(1) ประวิงการตัดสินใจ หมายความวา เม่ือบุคคลใดในกลุมเสนอความคิดข้ึนมา

จะไมมีการวิพากษหรือตัดสินความคิดใดๆ ทั้งสิ้น ไมวาจะเปนความคิดดี มีคุณภาพหรือมีประโยชน

มากนอยก็ตาม

(2) สงเสริมปริมาณความคิด หมายถึง สนับสนุนใหคิดไดในปริมาณท่ีมากๆ ความคิด

ยิ่งมากเทาใดก็ยิ่งจะดีเทานั้น และการกระตุนใหทุกคนไดแสดงความคิดเห็นของตนโดยไมมีการยับยั้ง

Page 59: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

47

ความคิดผูอ่ืน ยอมรับความคิดท่ีบุคคลเสนอแนะ และสนับสนุนความคิดแปลกใหมไมซํ้ากับผูอื่น

โดยถือวาความคิดยิ่งแปลกใหมจะเปนประโยชนซ่ึงจะเปนหนทางนําไปสูความคิดริเริ่ม

(3) การระดมความคิด และการปรุงแตงความคิด หมายถึง หลังจากไดระดม

พลังสมองเพ่ือปลอยใหความคิดพรั่งพรูแลว ก็นําเอาความคิดท้ังหมดมาประมวลกันแลวพิจารณา

ตัดสินรวมกันวาความคิดใดจะใหคุณคามากกวากัน โดยใชเกณฑเขามากําหนด เวลา บุคคล งบประมาณ

เปนตน

จากการศึกษาเก่ียวกับการใชชุดกิจกรรมในการพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

จะเห็นวาการพัฒนาความคิดสรางสรรคเปนกระบวนการทางสมองท่ีคิดไดรวดเร็วหลายแงมุมเชื่อมโยง

ความสัมพันธของสิ่งตางๆ โดยมีสิ่งเราเปนตัวกระตุนใหเกิดการคิดคนพบสิ่งแปลกใหมดวยการคิด

ปรุงแตงความคิดเดิม ผสมผสานใหเกิดสิ่งใหม โดยการจัดกิจกรรมเพ่ือฝกการคิดโดยการจัดสภาพแวดลอม

ใหเหมาะสม แกปญหาอยางสรางสรรค เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กทุกคนไดอยางเต็มศักยภาพ

2.3.5 ข้ันตอนในการสรางชุดกิจกรรม

ข้ันตอนในการสรางชุดกิจกรรมซ่ึงนักการศึกษาหลายทาน ไดเสนอขั้นตอนในการสราง

ชุดการสอน ชุดการเรียนการสอน ชุดการเรียน หรือชุดกิจกรรม เพ่ือเปนหลักการในการสรางไว ดังนี ้

ชาญชัย อินทรสุนานันท (2538, หนา 48-49) กลาววาขั้นตอนในการสรางชุดการสอน

ควรมีแบบแผนตามลําดับ ดังนี้

1) แบงกลุมเลือกประธาน มีคณะกรรมการจัดทําตามสาขาท่ีสอน

2) เลือกเนื้อหาวิชา ชั้น จํานวน ชั่วโมงท่ีจะมาทําเปนหนวย

3) กําหนดวัตถุประสงค

4) การจัดลําดับเนื้อหาตามวัตถุประสงค

5) วางแผนการจัด ดําเนินการสอน และการอภิปราย

(1) วิธีสอนแบบใด

(2) ใชสื่อชนิดใด

(3) กิจกรรมใดท่ีใชประกอบ

(4) การวัดผล การประเมินผล

6) เลือกหาวิธีการท่ีเหมาะสมตามเกณฑ

7) ลงมือผลิตสื่อการสอน

8) ทดลองสอนกับผูเรียน

9) วัดผล และแกไขขอบกพรอง (ถามี)

10) สรุปผล

11) ผลิตชุดท่ีสมบูรณ

Page 60: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

48

12) การรายงานผล

ชัยยงค พรหมวงศ (2537, หนา 123) เสนอข้ันตอนในการสรางชุดการสอนไว โดยแบงเปน

ข้ันตอนสําคัญ 10 ข้ันตอน ดังนี้

1) กําหนดหมวดหมูของเนื้อหาสาระที่จะนํามาสรางชุดการสอนนั้นอยางละเอียดวา

มุงเนนใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอะไรบาง แลวพิจารณาแบงเปนหนวยการเรียนการสอนยอย

โดยเรียงเนื้อหาตามความจําเปนตองเรียนรูกอนหลัง จากนั้นใหพิจารณาวาจะสรางชุดการสอนแบบใด

โดยคํานึงถึงผูเรียนคือใคร จะใหอะไรกับผูเรียน จะใหทํากิจกรรมอยางไรและทําไดดีเพียงใด

2) กําหนดหนวยการสอน โดยแบงเนื้อหาวิชาออกเปนหนวยการสอน โดยประมาณ

เนื้อหาสาระใหเหมาะสมกับเวลาท่ีกําหนด

3) กําหนดหัวเรื่อง ผูสอนจะตองกําหนดวาในแตละหนวยควรใหประสบการณอะไรบาง

กับผูเรียน แลวกําหนดหัวเรื่องออกมาเปนหนวยการสอนยอย

4) กําหนดความคิดรวบยอดและหลักการ เพ่ือเปนแนวทางในการจัดเนื้อหามาสอน

ใหสอดคลองกัน

5) กําหนดวัตถุประสงคใหสอดคลองกับหัวเรื่อง โดยคิดเปนจุดประสงคท่ัวไปกอน

แลวจึงเขียนเปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม

6) กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม

ซ่ึงเปนแนวทางในการเลือกและผลิตสื่อการสอน

7) กําหนดแบบประเมินผล ประเมินผลใหตรงกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมโดยใช

แบบทดสอบเปนเกณฑ

8) เลือกและผลิตสื่อการสอน วัสดุอุปกรณ และวิธีการท่ีครูใชเปนสื่อการสอน เม่ือผลิต

สื่อการสอนแตละหัวเรื่องแลวก็จัดเปนหมวดหมูในกลองท่ีเตรียมไว

9) หาประสิทธิภาพชุดการสอนหรือทดลองกับผูเรียนเพ่ือเปนการประกันวาชุดการสอน

ท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพในการสอน

10) การใชชุดการสอน ชุดการสอนท่ีไดปรับปรุงและมีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีตั้งไว

สามารถนําไปสอนผูเรียนไดตามประเภทของชุดการสอน การใชควรกําหนดข้ันตอน ดังนี้

(1) ข้ันทดสอบกอนเรียน

(2) ข้ันนําเขาสูบทเรียน

(3) ข้ันประกอบกิจกรรมการเรียน

(4) ข้ันสรุปผลการเรียน

(5) ข้ันทดสอบหลังเรียน

Page 61: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

49

จากท่ีกลาวมาแลวสรุปไดวาการสรางชุดกิจกรรม จะกําหนดจุดมุงหมาย เนื้อหา และกิจกรรม

การเรียนการสอนรวมท้ังกําหนดสื่อท่ีใชในการจัดกิจกรรม ซ่ึงชุดกิจกรรมเครื่องมือท่ีชวยท้ังผูเรียนและ

ผูสอนใหไดรับความสะดวกในการเรียนรูเพราะไดผานการวางแผนทุกอยางไวอยางดีและผานการหา

ประสิทธิภาพแลวจึงทําใหการจัดประสบการณบรรลุจุดมุงหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ การสราง

ชุดกิจกรรม มีข้ันตอนในการสรางท่ีหลากหลาย ซ่ึงผูวิจัยวางแผนการดําเนินการสรางชุดกิจกรรม ดังนี้

1) ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 เพ่ือเลือกเนื้อหาท่ีจะสงเสริม

พัฒนาการท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาดานจินตนาการ ความคิดสรางสรรค

ตามวัยและความสามารถของแตละบุคคลใหไดรับการเตรียมความพรอมกอนท่ีจะเขาศึกษาในระดับ

ประถมศึกษา

2) กําหนดสาระใหเหมาะกับเวลาท่ีกําหนด หลักการจัดกิจกรรมแตละกิจกรรม

ใหเหมาะสมกับวัยในดานการใชความคิด ท้ังกลุมเล็กและกลุมใหญไมควรใชเวลาตอเนื่องเกิน 20 นาที

3) กําหนดวัตถุประสงค ในการกําหนดวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

ตองกําหนดใหสอดคลองกับการวัดและประเมินผล

4) กําหนดกิจกรรมการเรียนการรู ใหสอดคลองกับจุดประสงคในการกําหนดกิจกรรม

การเรียนรูเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคเพ่ือใหเด็กถายทอดความคิดริเริ่มสรางสรรค ควรเริ่มจาก

การถายทอดอารมณความรูสึกและเห็นความสวยงามตางๆ รอบตัวโดยใชกิจกรรมประดิษฐ การปน

การฉีก ตัด ปะ ตามจินตนาการอยางอิสระตามความคิดริเริ่มสรางสรรค

5) กําหนดแบบประเมินผล ประเมินผลใหตรงกับจุดประสงค เพ่ือใหความคิดสรางสรรค

เปนไปตามจุดประสงค ดังนั้นการสรางแบบวัดตองมีเกณฑท่ีชัดเจนและวัดใหสอดคลองกับจุดประสงค

ท่ีตั้งไว

6) เลือกและผลิตสื่อการสอน วัสดุอุปกรณ ในการเลือกสื่อตองมีความหลากหลาย

เหมาะสมกับวัย ความสนใจของเด็กและตองเปนสื่อท่ีสามารถสงเสริมความคิดสรางสรรคไดตรงกับ

จุดประสงคและการประเมิน

2.3.6 การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม

ชัยยงค พรหมวงศ (2537, หนา 494-495) ไดอธิบายวา การทดสอบประสิทธิภาพของ

ชุดการสอนหมายถึง การนําชุดการสอนไป try out เพ่ือปรับปรุงแลวนําไปใชจริง (trial run) นําผลท่ีได

มาปรับปรุงแกไขเสร็จแลวจึงผลิตออกมาเปนจํานวนมาก เหตุผลและความจําเปนในการหาประสิทธิภาพ

คือ

1) เปนการประกันคุณภาพวาอยูในข้ันสูง เหมาะสมท่ีจะผลิตออกมาเปนจํานวนมาก

หากไมมีการหาประสิทธิภาพเสียกอน เม่ือผลิตออกมาใชประโยชนไม ไดดี ก็จะตองทําใหม

เปนการสิ้นเปลืองท้ังเวลา แรงงาน และเงินทอง

Page 62: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

50

2) ชุดการสอนท่ีทําหนาท่ีชวยครูสอน เพ่ือใหผูเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามท่ีคาดหวัง

ดังนั้น กอนนําไปใชครูจึงควรม่ันใจวาชุดการสอนนั้นมีประสิทธิภาพในการชวยนักเรียนเกิดการเรียนรูจริง

3) การทดสอบประสิทธิภาพจะทําใหผูผลิตม่ันใจวา เนื้อหาสาระท่ีบรรจุในชุดการสอน

เหมาะสม งายตอการเขาใจ อันจะทําใหผูผลิตมีความชาํนาญสูงข้ึนเปนการประหยัดแรงงาน สมอง

เวลา และเงินทองในการเตรียมตนฉบับ

การทดลองประสิทธิภาพชุดการสอน จะตองกําหนดเกณฑประสิทธิภาพไวเพ่ือใหชุดการสอน

ท่ีสรางข้ึนมีคุณภาพ

ข้ันตอนการทดสอบประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม

ชัยยงค พรหมวงศ (2537, หนา 496-497) ไดกลาวถึงข้ันตอนการทดสอบประสิทธิภาพของ

ชุดการสอน ไวดังนี้

ข้ันท่ี 1 แบบเดี่ยว เปนการทดลองกับผูเรียน 1 คน โดยใชเด็กออน ปานกลาง และเด็กเกง

คํานวณหาประสิทธิภาพแลวปรับปรุงใหดีขึ้น โดยปกติคะแนนที่ไดจากการทดลองแบบเดี่ยวนี้

จะไดคะแนนต่ํากวาเกณฑมาก

ข้ันท่ี 2 แบบกลุม เปนการทดลองกับผูเรียน 6-10 คน (คละผูเรียนท่ีเกง ปานกลาง และออน)

คํานวณประสิทธิภาพแลวปรับปรุง ในคราวนี้คะแนนของผูเรียนจะเพ่ิมข้ึนอีกเกือบเทาเกณฑโดยเฉลี่ย

จะหางจากเกณฑประมาณรอยละ 10

ข้ันท่ี 3 ปฏิบัติจริง เปนการทดลองกับผูเรียนท้ังชั้น 30-100 คน คํานวณหาประสิทธิภาพ

แลวทําการปรับปรุง ผลลัพธท่ีไดควรใกลเคียงกับเกณฑที่ตั้งไว หากต่ํากวาเกณฑไมเกินรอยละ 25

ก็ใหยอมรับ หากแตกตางกันมากผูสอนก็ตองกําหนดเกณฑหาประสิทธิภาพของชุดการสอนใหม

โดยยึดสภาพความเปนจริงเปนเกณฑ การยอมรับประสิทธิภาพของชุดการสอนมี 3 ระดับ คือ สูงกวา

เกณฑ เทาเกณฑ ต่ํากวาเกณฑ แตยอมรับไดวามีประสิทธิภาพ

จากท่ีกลาวมาแลว การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม ชุดการเรียน หรือชุดการสอน

ผูวิจัยดําเนินการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม ตามลําดับขั้นตอนไดแก ข้ันท่ี 1 แบบเดี่ยว ข้ันท่ี 2

แบบกลุม ข้ันท่ี 3 ปฏิบัติจริง

2.3.7 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับชุดกิจกรรม

ศาลินา อนถาวร (2544, หนา 97) ทําการศึกษาการสรางชุดกิจกรรมท่ีพัฒนารับรูทางภาษา

สําหรับเด็กปฐมวัย พบวาชุดกิจกรรมท่ีพัฒนาการรับรูทางภาษาสําหรับเด็กปฐมวัยท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพ

88.42/89.47 ซ่ึงสูงกวามาตรฐาน 80/80 ท่ีกําหนดไวและหลังจากการใชชุดกิจกรรมที่พัฒนารับรู

ทางภาษาสําหรับเด็กปฐมวัยสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

Page 63: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

51

อัมพร บุญเสริมสุข (2547, หนา 76) ทําการศึกษาการสรางชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความคิด

สรางสรรคทางวิทยาศาสตร สําหรับเด็กชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 จังหวัดชลบุรี พบวาความคิดสรางสรรค

ทางวิทยาศาสตรของนักเรียน หลังจากเรียนโดยใชชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร

ทางวิทยาศาสตรสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

ศิรินทิพย คําพุทธ (2548, หนา 67) ทําการศึกษาการสรางชุดกิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตร

แบบ STAD เรื่องแบบรูปและความสัมพันธ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 กลุมตัวอยางเปนนักเรียนของโรงเรียน

โนนสะอาดชุมแสงวิทยา พบวาคุณภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตรแบบ STAD เรื่องแบบรูป

และความสัมพันธมีคุณภาพอยูในระดับดีข้ึนไป

บุศรา จิตวรรณา (2551, หนา 152) ทําการศึกษาการใชชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรสรางสรรค

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ที่มีความสามารถพิเศษ

ทางวิทยาศาสตร มีคาคะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตรท้ัง 4 ดาน คือความคิดคลอง

ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่มและความคิดละเอียดลออ หลังการจัดการเรียนรูสูงกวากอนการเรียนรู

ผองพรรณ แกวหลา (2551, หนา 67) ทําการศึกษาการใชชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรค

เพ่ือสงเสริมการเขียนอยางสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 พบวานักเรียนมีความสามารถ

ในการเขียนเชิงสรางสรรคกอนเรียนและหลังเรียนแตกตางกัน โดยนักเรียนมีความสามารถในการเขียน

เชิงสรางสรรคหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

วิลาวัลย สิงเคา (2552, หนา 43) ทําการศึกษาการใชชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตรข้ันพ้ืนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 พบวานักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

มีผลสัมฤทธิ์ดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพ้ืนฐานสูงกวาเกณฑท่ีกําหนด

จากการศึกษาพบวา หลังจากการใชชุดกิจกรรมท่ีหลากหลายเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

สามารถพัฒนาเด็กในทุกระดับชั้นทุกกลุมวิชาซ่ึงชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคจะทําใหเกิด

การเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสังเกตไดจากการใชชุดกิจกรรมสงเสริมความคิดสรางสรรคท่ีสูงข้ึน

2.4 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

2.4.1 ประวัติความเปนมาของการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

พัชรี ผลโยธิน (2543, หนา 27-31) ไดสรุปประวัติความเปนมาของการเรียนรูตามแนวคิด

ไฮ-สโคป วาเปนกระบวนการวางแผน ปฏิบัติ และทบทวน (plan, do, recall) เปนวิธีการท่ีนํามาจาก

หลักสูตรแบบไฮ-สโคป (high-scrope) ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีมูลนิธิไฮ-สโคป ท่ีจัดตั้งข้ึนเพ่ือจัดการเก่ียวกับ

การคนควาวิจัย และการพัฒนาและฝกอบรมตางๆ ขอมูลทางการศึกษาผลงานวิจัยหลายอยาง

มีเปาหมายหลัก เพ่ือสนับสนุนการเรียนรู และพัฒนาการของเด็ก

Page 64: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

52

มูลนิธีไฮ-สโคปเกิดข้ึนใน ค.ศ. 1960 ภายใตการนําของไวคารท (weikart) ไดพัฒนาการจัด

การปฐมวัยศึกษาแบบไฮ-สโคป เพ่ือชวยเหลือเด็กยากจน จากนั้นการจัดการศึกษาแบบไฮ-สโคป

ถูกนําไปเปนแนวทางในการจัดการศึกษาปฐมวัยอยางกวางขวางทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกาและ

ในประเทศอื่นๆ การจัดการศึกษาแบบไฮ-สโคป ทั้งครูและเด็กจะทํางานรวมกันในบรรยากาศท่ีมี

การใหเกียรติและเคารพซ่ึงกันและกัน ครูเปนผูจัดเตรียมมุมความสนใจ ในหองเรียน ขณะเดียวกัน

ตองดูแลใหทุกอยางดําเนินไปตามตารางกิจกรรมประจําวันท่ีไดวางแผนไว ขณะท่ีเด็กทํากิจกรรมครู

จะเขาไปชวยและถามคําถามท่ีจะกระตุนใหเด็กคิด

วรนาท รักสกุลไทย (2530, หนา 74-75) กลาววา จากการศึกษาหลักสูตรมูลนิธิไฮ-สโคป

ตามแนวทฤษฎีของเพียเจต (Piaget) ซ่ึงเปนการเรียนรูโดยใหเด็กวางแผนและดําเนินการดวยตนเอง

พบวาครูจะกระตุนใหเด็กคิดดวยคําถามปลายเปด ในหองเรียนจะมีมุมตางๆ เพื่อสนองความสนใจ

ของเด็ก เด็กเรียนรูผานการกระทําและเชื่อมโยงประสบการณท่ีเปนรูปธรรมกับสัญลักษณตางๆ

2.4.2 ทฤษฎีและหลักการท่ีเกี่ยวของกับการจัดประสบการณการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

1) ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของ จอง เพียเจท (Jean piaget)

เพียเจต (Piaget, 1960; อางถึงใน เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท, 2536, หนา 20)

เชื่อวาการจัดสิ่งแวดลอมท่ีดีจะชวยในการพัฒนาสติปญญาของเด็ก การเรียนรูจากการลงมือกระทํา

เปนการสงเสริมการปรับตัวของเด็กใหเขากับสิ่งแวดลอม เด็กเรียนรูจากการคนหา การลงมือกระทํา

กิจกรรม และการเลนโดยผานวัสดุอุปกรณ การมีปฏิสัมพันธกับเพ่ือนและครู สิ่งเหลานี้เปนการสราง

องคความรูใหกับเด็ก ใหเด็กรูจักคิดวางแผน แกปญหา ตัดสินใจ และคิดสรางสรรค

การสรางโครงสรางความคิดของเด็กปรับเปลี่ยนอยูตลอดเวลา โดยการรับเอาความรู

ใหมเขามาในโครงสราง (assimilation) และปรับโครงสรางความรูเดิมใหเขากับความรูใหม

(accommodation) เพ่ือใหเกิดความสมดุล (equilibrium) ซ่ึงทําใหเด็กเขาใจสิ่งตางๆ ในโลกไดดีข้ึน

พัฒนาการทางสติปญญาของเด็ก แบงออกเปน 4 ข้ันตอน ดังนี้

(1) ข้ันประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหว (sensorimotor) เด็กตั้งแตแรกเกิดถึงอายุ

2 ป จะเรียนรูจากประสาทสัมผัสท้ัง 5 (มองเห็น สัมผัส ชิมรส ดมกลิ่น ไดยิน) และเคลื่อนไหวรางกาย

เพ่ือเรียนรูจากสิ่งแวดลอมรอบตัว วัสดุ สิ่งของ คน

(2) ข้ันความคิดกอนเกิดปฏิบัติการ (preperational thought) เด็กระหวางอายุ 2-7 ป

เริ่มเรียนรูทางภาษา และความสามารถใชสัญลักษณในการสื่อความหมายมากข้ึน เด็กเรียนรูสิ่งตางๆ

ไดดีข้ึนแตยังอาศัยการรับรู เด็กยึดตนเองเปนศูนยกลาง (egocentrie) ในเรื่องตางๆ รูจักสรางจินตนาการ

และคิดแตยังไมสามารถคิดหาเหตุผล ยกเหตุผลมาอางอิงได การคิดริเริ่มจากรูปธรรมไปสูนามธรรม

ในการสรางมโนทัศนไดดีข้ึน และใชประสาทสัมผัสในการเรียนรูนอยลง การเลนบทบาทสมมติ

ซ่ึงเปนการสงเสริมความคิดสรางสรรค และการแสดงออกเกิดข้ึนในชวงวัยนี้ การเรียนรูจากสิ่งรอบตัว

Page 65: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

53

จะทําใหเด็กมีประสบการณมากข้ึน ซ่ึงนําไปสูการสรางองคความรู การมีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน และ

การเรียนรูจากการลงมือกระทําของเด็กวัยนี้

(3) ข้ันปฏิบัติการเกิดแบบรูปธรรม (concrete operational stage) เด็กในชวงอาย ุ

7-11 ป เด็กลดความคิดในการยึดตัวเองเปนศูนยกลาง เริ่มมีความเขาใจในความสัมพันธของสิ่งตางๆ

และเขาใจในความคิด ความตองการของผูอ่ืน รวมท้ังมีเหตุผลมากข้ึน ในข้ันตอนการมีเหตุผลของเด็กนี้

เพียเจต เรียกวา การปฏิบัติการตัดสินดวยเหตุผล หรือตรรกวิทยา (logical operation) เปนกระบวนการ

ภายในของการกระทํา ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงไดอยางเต็มท่ีสติปญญาของเด็กจะพัฒนาไปถึงข้ันนามธรรม

และเขาใจในเรื่องจํานวนไดดีข้ึน

(4) ข้ันปฏิบัติการคิดแบบนามธรรม (formal operational stage) เด็กในชวงอายุ

12-15 ป เด็กรูจักการคิดหาเหตุผลตางๆ และเรียนรูเก่ียวกับการใชนามธรรมไดดีขึ้นมีความสามารถ

ตั้งสมมติฐานและแกปญหาได เด็กมีความสามารถในการใชความคิดอยางมีเหตุผล รวมทั้งเขาใจ

ความสามารถในการใชความคิดอยางมีเหตุผล รวมท้ังเขาใจความคิดของตนเองและผูอ่ืนได

จากการศึกษาพัฒนาการดานสติปญญาของเด็ก เด็กใชประสาทสัมผัสทั้ง 5

โดยเรียนรูจากสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวมีการเรียนรูทางภาษาและสามารถใชสัญลักษณในการสื่อความหมาย

มากข้ึนเด็กจะยึดตนเองเปนศูนยกลาง มีความคิดจากรูปธรรมไปสูนามธรรมในการสรางมโนทัศนไดดีข้ึน

โดยใชประสาทสัมผัสในการเรียนรูนอยลงการเลนบทบาทสมมุติจะชวยสงเสริมความคิดสรางสรรคและ

การแสดงออกมากข้ึนท่ีจะนําไปสูองคความรู

2) ทฤษฎีจิตสังคมของ อีริคสัน (Erikson)

อีริคสัน (Erikson, 1975; อางถึงใน เยาวพา เตชะคุปต, 2542, หนา 28-29) ศึกษา

พัฒนาการในดานความตองการของมนุษยในแตละวัยแตกตางกันไป โดยไดใหความสําคัญกับชวงวัยเด็ก

เปนวัยท่ีกําลังเรียนรูและการไดรับประสบการณใหมๆ การสรางประสบการณและสิ่งแวดลอมท่ีดี

ใหกับเด็กจะกอใหเกิดความเชื่อม่ัน การมองโลกในแงดี และรูจักไววางใจในผูอ่ืนซ่ึงเปนสุขสําหรับเด็ก

พัฒนาการทางบุคลิกภาพของอีริคสัน เฉพาะชวงวัยการเรียนรู ไดแก

(1) วัยทารก (infancy) อายุ 0-2 ป เปนข้ันความไววางใจ หรือความไมไววางใจ

(trust vs mistrust) เด็กในชวงสองปแรกของชีวิต เรียนรูและไดรับประสบการณตางๆ จากสิ่งแวดลอม

รอบตัวเด็ก เด็กในวัยนี้มีความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกาย เมื่อเด็กไดรับ

การตอบสนองท่ีดีจากสิ่งแวดลอมและผูคนรอบขางจะชวยเสริมสรางความม่ันใจวาพ่ึงพาโลกภายนอกได

เด็กเริ่มเรียนรูในการไววางใจผูอื่น แตถาเด็กไดรับการตอบสนองที่ไมดี เด็กจะขาดความไววางใจตอ

สิ่งแวดลอมและผูอ่ืน การท่ีพอแมและบุคคลรอบขางใหการดูแลใสใจในตัวเด็กจึงเปนสิ่งสําคัญสําหรับ

เด็กในวัยนี้เปนอยางยิ่ง เชน เมื่อเด็กรองไหเพราะหิว หรือตองการดูแลเอาใจใสแลวมีพอแมมาดูแล

ความตองการของเด็ก รักและเอาใจใสตอเด็กจะทําใหเกิดความรูสึกดีๆ และไวเนื้อเชื่อใจพอแม

Page 66: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

54

แตถาเด็กขาดการดูแลเอาใจใสตอความตองการพ้ืนฐานของเด็ก เม่ือเด็กหิวหรือเปยกตองการความรัก

หรือคนดูแล เด็กจะรูสึกไมไววางใจตอสิ่งแวดลอมและบุคคลรอบขาง

(2) วัยเด็ก (early childhood) อายุ 2-5 ป เปนข้ันความเปนตัวของตัวเอง หรือ

ความไมแนใจสงสัย และอับอาย (autonomy vs shame and doubt) เด็กในชวงวัยนี้เริ่มมีความเปน

ตัวของตัวเอง ยึดความเขาใจของตนเองเปนหลัก พอใจในการทําตามความตองการของตนเองรวมท้ัง

มีความสามารถในการควบคุมตนเองไดดี และมีความรูสึกนับถือตนเอง เด็กเรียนรูจากการชวยเหลือ

ตนเอง สํารวจ คนควาและทดลองในสิ่งท่ีตนเองสงสัยใครรูเปนระยะในการพัฒนาการทํางานของระบบ

กลามเนื้อดานตางๆ ซ่ึงสงผลใหเด็กไดพัฒนาในดานการสรางความสัมพันธกับปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว

ตางๆ การสรางประสบการณการเรียนรูในการรับประทานอาหาร การขับถาย เปนเวลา และการแตงตัว

เปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการอบรมดูแลเด็ก ถาเด็กไดรับการแนะนําและใหโอกาสกับเด็ก เด็กจะพัฒนา

ความเปนตัวของตัวเองไดดี แตถาเด็กไดรับประสบการณท่ีไมดีและขาดการชี้นํา เด็กจะเกิดความละอาย

และไมแนใจในตนเอง เชน เม่ือเด็กโดนหามในการทําสิ่งตางๆ บอยๆ โดยขาดการแนะนําท่ีดีเด็กจะเกิด

ความไมแนใจตนเองและเกิดความละอาย ไมกลาทําสิ่งตางๆ และเปนเด็กขาดความม่ันใจในตนเอง

(3) วัยกอนเขาเรียน หรือวัยเลน (play age) อายุ 4-7 ป เปนข้ันความคิดริเริ่มและ

การตัดสินใจ หรือความรูสึกผิด (initiative and guilt) เด็กวัยนี้สามารถชวยเหลือตนเองไดดี และ

มีความสามารถในการทําสิ่งตางๆ โดยผูใหญมีหนาท่ีสนับสนุนใหเด็กไดพยายามแสดงความสามารถใหมๆ

ในดานสังคมเด็กเรียนรูในการเขาสังคมจากการเลนกับเพ่ือน มีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืนและเลียนแบบผูอ่ืน

เชน พอแมหรือบุคคลใกลชิดซ่ึงพอแม และผูใหญตองเปนตนแบบท่ีดีกับเด็ก เพ่ือใหเด็กเรียนรูทักษะ

ทางสังคม มีลักษณะนิสัยท่ีดี รวมท้ังรูสิ่งท่ีถูกและผิดการปลูกฝงทางจริยธรรมโดยมีพอแมและผูใหญ

เปนตนแบบท่ีดีจะทําใหเด็กมีอุปนิสัยที่ดี ในดานสติปญญาเด็กวัยนี้อยากเรียนรูสิ่งใหมๆ รอบตัว

มีความคิดริเริ่มทําสิ่งใหมๆ และชอบถามในสิ่ง ท่ีตนเองสงสัยใครรู ถาผูใหญไมเขาใจในตัวเด็ก ไมให

โอกาสเด็กในการแสดงความคิดเห็นและทําสิ่งตางๆ รวมทั้งไมอธิบายสิ่งตางๆ ใหเด็กเขาใจ ดุวาเด็ก

จะทําใหเด็กรูสึกผิดในการอยากรูอยากเห็น แสดงความคิดเห็นหรือทําสิ่งตางๆ แตถาผูใหญรับฟงและ

อธิบายเด็ก รวมท้ังใหโอกาสเด็กในการพูดและทําสิ่งตางๆ จะทําใหเด็กมีความคิดริเริ่มสรางสรรคและ

จินตนาการ เด็กสนุกในการเรียนรูสิ่งใหมๆ และมีจินตนาการ

(4) วัยเขาโรงเรียน (school age) อายุ 6-11 ป เปนข้ันความขยันขันแข็งหรือ

ความมีปมดอย (industry vs inferiority) เด็กวัยนี้เริ่มใชชีวิตในโรงเรียน การทํากิจกรรมและ

การทํางานตางๆ มากข้ึนจากท่ีโรงเรียน ประสบการณการเรียน การทํากิจกรรม และการทํางานตางๆ

ท่ีโรงเรียนเปนสิ่งสําคัญ สําหรับเด็กวัยนี้ นอกจากท่ีบานแลว เพ่ือนและโรงเรียนเปนสิ่งท่ีมีอิทธิพลตอ

ความคิดและความรูสึกของเด็กอีกดวย การที่เด็กทํางานและประสบความสําเร็จจะทําใหเด็กรูสึกดีๆ

ในการทํางาน อยากทํางานและขยันขันแข็งในการทํางาน รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง

Page 67: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

55

ซ่ึงเปนกําลังใจท่ีสําคัญในการทํางานของเด็ก ผูใหญควรสนับสนุนใหกําลังใจกับงานของเด็ก ชื่นชมและ

เห็นคุณคาของงาน เด็กตองการยอมรับจากเพ่ือน การทํางานรวมกับเพ่ือนและเปรียบเทียบความสามารถ

ของเด็ก การมีสวนรวมกับเพ่ือนในการทํากิจกรรมตางๆ จะชวยพัฒนาบุคลิกภาพท่ีดีของเด็ก แตถาเด็ก

ไมไดรับการยอมรับจากผูใหญและเพ่ือนจะทําใหเด็กรูสึกวาตัวเองมีปมดอย

จากการศึกษาพัฒนาการทางบุคลิกภาพในวัยทารกชวงสองปแรกของชีวิตทารก

จะเรียนรูควรไดรับประสบการณตางๆ จากสิ่งแวดลอมรอบตัว และตองการความรักเอาใจใสตอ

ความตองการพ้ืนฐาน วัยเด็กจะเรียนรูจากการชวยเหลือตนเองสํารวจคนควาและทดลองในสิ่งท่ีตนเอง

สงสัยใครรูเปนระยะพัฒนากลามเนื้อสรางความสัมพันธกับปฏิกิริยาการเคลื่อนไหวถาไดรับการแนะนํา

โอกาสเด็กจะพัฒนาตนเองไดดี วัยกอนเรียนเด็กจะมีความคิดริเริ่มมีการตัดสินใจและสามารถทําสิ่งตางๆ

โดยไดรับการสนับสนุนจากผูใหญมีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืนและมีพฤติกรรมการเลียนแบบผูอ่ืนสามารถ

แสดงความคิดเห็นในวัยนี้ผูใหญควรเปดโอกาสใหเด็กพูดและทําสิ่งตางๆ จะทําใหเด็กมีความคิดสรางสรรค

และจินตนาการ วัยเขาโรงเรียนเด็กจะทํากิจกรรมและทํางานตางๆ มากข้ึน เพ่ือนและโรงเรียนมีอิทธิพล

ตอความคิด ความรูสึกของเด็ก การมีสวนรวมในการทํางานกับเพ่ือนในการทํากิจกรรมตางๆ จะชวยสงเสริม

บุคลิกภาพท่ีดีใหแกเด็ก

3) ทฤษฎีประสบการณตามแนวคิดของ ดิวอ้ี (John dewey)

ดิวอ้ี (Dewey, 1952; อางถึงใน เยาวพา เดชะคุปต, 2542, หนา 21-22)

ใหความสนใจในการปฏิรูปการศึกษาของสหรัฐอเมริกา โดยการปฏิบัติการศึกษาจากระบบเกา

(traditional) นําไปสูการจัดการศึกษาในระบบกาวหนา หรือการศึกษาแบบ progressivism ดิวอ้ี

เชื่อวาโรงเรียนเปนสถาบันทางสังคมที่จะแสดงชีวิตที่เหมาะสมและสมบูรณเปนสังคมขนาดเล็ก

ท่ีจะตองทําหนาท่ี ฝกเด็กใหรูจักรวมมือกันแกปญหา ตัดสินใจ เพ่ือใหเด็กเกิดประชาธิปไตยในตนเอง

นอกจากนี้หลักสูตรควรเสริมสรางทักษะการดํารงชีวิต ไดแก การตัดสินใจ การสรางสรรค การแกปญหา

การตีคา การประเมินคา การตระหนักในสิ่งตางๆ

การสรางประสบการณใหเด็ก เพ่ือเปนการปรับตัวใหสมดุลระหวางเด็กกับสิ่งแวดลอม

โดยครูเตรียมสภาพแวดลอมใหกับเด็ก เพื่อเด็กจะไดเรียนรู และมีประสบการณตรงดวยตนเอง

เปนรากฐานความเขาใจท่ีแทจริง เพราะความรูท่ีนักเรียนไดเกิดข้ึนจากการคนพบทําใหเด็กจดจํา

ไดนานกวาการทองจํา โดยเฉพาะประสบการณท่ีเกิดจากเด็กสนใจโดยธรรมชาติมากกวาจะไดรับจาก

หลักสูตร นอกจากนี้ควรจัดประสบการณอยางตอเนื่องกันไป

ปรัชญาท่ีสําคัญของ ดิวอ้ี คือการเรียนรูจะเกิดข้ึนเมื่อเด็กมีสวนรวมในกิจกรรม

อยางกระตือรือรน ดิวอ้ี ใชวิธีการทางวิทยาศาสตรในการแสวงหาความรูโดยอาศัยเหตุผลและขอมูล

Page 68: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

56

ในการวิเคราะห มีการตั้งสมมติฐานกอนการตัดสินใจ การพัฒนาสติปญญาของเด็กจะตองฝกคิดแบบ

วิทยาศาสตรและอยางเปนระบบ

แนวความคิดของ ดิวอ้ี ท่ีมีตอการศึกษาปฐมวัย ไดแก

(1) การศึกษาไมใชการเตรียมการเพ่ือชีวิตแตเปนกระบวนการตอเนื่องตลอดชีวิต

(education is life long process)

(2) การเรียนรูจะเปนผลผลิตจากการทํากิจกรรม ซ่ึงแสดงถึงความสนใจของเด็ก

โดยเนนเด็กเปนศูนยกลาง

(3) การใหอิสรภาพในการเรียนรูพ้ืนฐาน พัฒนาระบบการดํารงชีวิตแบบประชาธิปไตย

4) ทฤษฎีเชิงสังคมวัฒนธรรมของไวกอตสก้ี (Vygotsky)

ไวกอตสก้ี (Vygotsky, 1978; อางถึงใน ชนาธิป พรกุล, 2543, หนา 187-189)

เปนผูเสนอแนวคิดวัฒนธรรมในสังคม (socialcultural approach) ที่มีตอพัฒนาการทางสติปญญา

ซ่ึงเปนกิจกรรมทางสังคมท่ีเขาใจกันภายในวัฒนธรรมเดียวกัน ความรูความสามารถเกิดข้ึนไดทุกหนแหง

แตมีความแตกตางกันไปตามความจําเปนของการอยูรอดของคนในสังคม ไวกอตสก้ี เชื่อวาการเรียนรู

นําไปสูพัฒนาการ ซ่ึงความคิดเห็นของ ไวกอตสก้ี แตกตางจากเพียเจต เนื่องจากเพียเจต เชื่อวา

การเรียนรูของเด็กเปนไปตามข้ันพัฒนาการในแตละวัยกอใหเกิดพัฒนาการทางภาษาและทางสติปญญา

ในขณะท่ี ไวกอตสก้ี เชื่อวาปฏิสัมพันธทางสังคมและพัฒนาการตางๆ เกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ

ทางสังคมนั่นเอง

มโนทัศนท่ีสําคัญของ ไวกอตสก้ี คือ zone of proximal development หมายถึง

พัฒนาการของเด็กเกิดจากการท่ีคนมีปฏิสัมพันธกับคนอ่ืนท่ีมีพัฒนาการสูงกวาไมวาจะเปนเพ่ือนหรือ

ผูใหญ การท่ีครูใชแนวทางของ ไวกอตสก้ี ในการพัฒนาการคิด ครูควรจัดสถานการณการเรียนรู

โดยใหบริบททางสังคมมีปฏิสัมพันธโดยตรงกับผูเรียน โดยท่ีบุคคลรอบตัวผูเรียนชวยแนะนําการคิด

ในขณะท่ีผูเรียนไมสามารถคิดแกปญหาได ในกรณีท่ีผูเรียนไมสามารถแกปญหาไดแตก็สามารถเรียนรูได

ถาไดทําบอยๆ ตอไปก็จะสามารถแกปญหาและทํากิจกรรมหรืองานไดเอง ซึ่งทั้งหมดนี้เปนวิธีพัฒนา

ผูเรียนจากระดับท่ีเขาเปนอยูไปสูระดับท่ีเขามีศักยภาพ นอกจากนี้การเรียนรูเปนสิ่งท่ีเก่ียวพันโดยตรง

กับพัฒนาการของเด็ก

มโนทัศนท่ีสอง คือ inter subjectivity (เรื่องระหวางจิตใจหรือเรื่องระหวาง

แตละบุคคล) หมายถึง แตละบุคคลมีแนวทางในเรื่องงาน ปญหาหรือการสนทนาเปนของตนเอง

ซ่ึงเปนแนวทางทําใหเกิดความเขาใจของตน ในอีกทางคือการมีสวนรวมในบทสนทนาอาจนําไปสู

การเห็นพองตองกันในเรื่องระหวางบุคคลหรือเกิดความเขาใจ ซ่ึงการติดตอสื่อสารหรือบทสนทนา

ระหวางครู และนักเรียนจะทําใหเกิดการเห็นพองตองกัน ซ่ึงเปนพัฒนาการของมโนทัศนใหม และ

Page 69: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

57

แนวทางในการคิดนําไปสูมโนทัศนระดับสูงข้ึนอีกข้ัน การเรียนการสอนท่ีมีการรวมมือกันและแกปญหา

รวมท้ังการทดลองจะมีสวนชวยในการเรียนตามแนวทางของไวกอตสก้ี

ประอร อิศรเสนา ณ อยุธยา (2542, หนา 19-20) ไดสรุปแนวคิดของ ไวกอตสก้ี

ท่ีนํามาใชในการจัดการสอนแบบไฮ-สโคป ดังนี้

(1) การปฏิสัมพันธระหวางครูกับเด็ก เด็กชายและเด็กหญิงในการพัฒนาทางดาน

สติปญญา (พุทธิปญญา)

(2) ความสามารถทางดานการใชภาษา เพ่ือจัดระเบียบความคิด และการปฏิบัติ

(3) การสอนและประโยชนท่ีไดรับจากการสอน ซ่ึงเปนพ้ืนฐานการดําเนินชีวิตของ

มนุษยในสังคม

(4) การศึกษาเพ่ือปฏิรูปสติปญญา

จากท่ีกลาวมาแลวสรุปวา ในการจัดประสบการณเรียนรูใหกับเด็กนั้นมีความสําคัญ

เปนอยางมาก ซ่ึงนักการศึกษาไดใหความสนใจเก่ียวกับการจัดประสบการณ กิจกรรมและการจัด

สภาพแวดลอมในการเรียนรวมท้ังสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมใหกับเด็กเพ่ือใหไดรับประสบการณตรง

ซ่ึงจะเปนพ้ืนฐานสําหรับการเรียนรูและการดํารงชีวิตในสังคม

2.4.3 ความสําคัญของการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

โฮแมนน และไวทการด (Hohmann & Weikart, 1995, pp. 15-16) กลาววาหลักสําคัญ

ของการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป คือความเชื่อท่ีวาการเรียนรูดวยการกระทําเปนรากเหงาสําคัญตอ

การพัฒนามนุษยเต็มศักยภาพและการเรียนรูดวยการลงมือกระทําเกิดข้ึนอยางมีประสิทธิผลท่ีสุด

ในสิ่งแวดลอมท่ีใหโอกาสพัฒนาการเรียนรูท่ีเหมาะสม เพราะฉะนั้นเปาหมายท่ีครอบคลุมการดําเนินงาน

ของไฮ-สโคป คือเพ่ือกําหนด “กรอบเปด” ท่ียืดหยุน เปนตัวแบบเชิงปฏิบัติการซ่ึงสนับสนุนการศึกษา

ท่ีพัฒนาอยางเหมาะสมในสิ่งแวดลอมท่ีหลากหลาย ดังตอไปนี้

1) มนุษยพัฒนาความสามารถตางๆ ไปตามลําดับท่ีสามารถทํานายไดเมื่อมนุษย

มีวุฒิภาวะความสามารถใหมๆ ปรากฏออกมา

2) พัฒนาการมนุษยสามารถคาดทํานายได แตละบุคคลจะแสดงคุณลักษณะตางๆ

ท่ีเปนเอกลักษณตั้งแตเกิด ซ่ึงจากการท่ีคุณลักษณะเหลานี้มีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมในชีวิตประจําวัน

จะทําใหเกิดความแตกตาง ซ่ึงจะนําไปสูบุคลิกภาพท่ีเปนเอกลักษณตอไป

3) วัฏจักรชีวิตจะมีหลายชวงเวลาท่ีคนเราจะเรียนรูบางอยางไดดี ท่ีสุด หรือ

มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด และมีวิธีสอนท่ีเหมาะสมมากกวาในชวงเวลาในลําดับพัฒนาการดังกลาว

มากกวาวิธีสอนแบบอ่ืนๆ

จากการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการซ่ึงเปนขอเท็จจริงพ้ืนฐานของมนุษย โดยที่แตละบุคคล

ก็ยังมีเอกลักษณของพัฒนาการ และมีชวงเวลาท่ีดีท่ีสุดสําหรับการเรียนรูบางอยางโดยเฉพาะการศึกษา

Page 70: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

58

ท่ีมีการพัฒนาท่ีเหมาะสมจึงสามารถนิยามไดดวยเกณฑ 3 อยาง กลาวคือ ประสบการณทางการศึกษา

กระบวนการหรือวิธีการไมวาผูใหญหรือเด็กเปนผูริเริ่มข้ึน และจะเปนประสบการณหรือวิธีการพัฒนา

ท่ีเหมาะสมเม่ือ

1) ทําใหผูเรียนตองใชความสามารถและทาทายความสามารถของผูเรียนเม่ือเกิดข้ึน

ณ ระดับพัฒนาการหนึ่งๆ

2) กระตุนและชวยใหผูเรียนพัฒนากระบวนความสนใจ ความสามารถพิเศษและ

เปาหมายตางๆ

3) ใหประสบการณการเรียนรูตางๆ เม่ือผูเรียนอยูในภาวะท่ีสามารถเรียนรู ตลอดจน

วางหลักการและคงไวซ่ึงสิ่งท่ีเด็กเรียนรู และสามารถสัมพันธกับประสบการณเดิมและประสบการณใหม

ในอนาคต

แนวทางของไฮ-สโคป การเรียนรูถูกมองวาเปนประสบการณทางสังคมซ่ึงเปนเรื่องท่ีเก่ียวของ

กับปฏิสัมพันธตางๆ ท่ีมีความหมายระหวางเด็กและผูใหญ เนื่องจากเด็กจะเรียนรูดวยอัตราแตกตางกัน

ตามความสนใจ และประสบการณท่ีเปนเอกลักษณจะเจริญเติบโตตามศักยภาพ เม่ือเด็กถูกกระตุนใหมี

ปฏิกิริยาและสื่อสารอยางอิสระกับเพ่ือนๆ และผูใหญ ประสบการณทางสังคมเหลานั้นเกิดข้ึนในบริบท

ของกิจกรรมตางๆ ในชีวิตจริงซ่ึงเด็กได

2.4.4 กระบวนการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

กระบวนการเรียนรูตามแบบคิดไฮ-สโคป คือ การวางแผน ปฏิบัติ และทบทวน มีนักวิชาการ

ไดใหความหมาย ไวดังนี้

ชไวนฮารท (Schweinhart, 1997, pp. 59-95) ไดใหความหมายของการวางแผน ปฏิบัติ และ

ทบทวน ไวดังนี้

1) การวางแผน (plan) คือการสนทนาระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็กเก่ียวกับสิ่งท่ี

เด็กตองการทําตามความสนใจของตนรวมท้ังวิธีการท่ีจะดําเนินกิจกรรมหลังจากกิจกรรมหนึ่งสิ้นสุดลง

เด็กจะทํากิจกรรมใดตอไปครูจะมีสวนชวยในการวางแผนเพ่ือจัดเตรียมกิจกรรมสนองความคิดของเด็ก

อีกท้ังชวยใหเด็กปฏิบัติกิจกรรมดวยความรูสึกที่ดีตามจุดประสงคที่วางไว การวางแผนกิจกรรม

จะแสดงไดดวยภาพเด็กหรือสัญลักษณประจําตัวเด็ก

2) การปฏิบัติ (do) คือการทํากิจกรรมตามท่ีเด็กวางแผนไว โดยมีครูเปนผูใหคําแนะนํา

และชวยเหลือในดานความคิดในจังหวะท่ีเหมาะสม สามารถทํางานดวยตัวของเขาเองหรือรวมกับเพ่ือน

โดยอิสระตามเวลาท่ีครูกําหนดให รวมท้ังชวยกันเก็บและจัดของใหเขาท่ีเรียบรอยหลังจากเสร็จสิ้น

กิจกรรม

Page 71: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

59

3) การทบทวน (recall) คือการจัดกิจกรรมเสวนา อภิปรายถึงผลงานท่ีเด็กทําและ

ทบทวนวาสามารถปฏิบัติตามแผนท่ีวางไวหรือมีการเปลี่ยนแปลงการทํางานแตละครั้งอยางไรผลงาน

ของเด็กมีความแตกตางกันหรือไม

วรนาถ รักสกุลไทย และคนอ่ืนๆ (2530, หนา 16-20) ไดกลาวถึงความหมายของการวางแผน

ปฏิบัติ และทบทวน ไวดังนี้

1) การวางแผน (plan) คือการท่ีเด็กบอกหรือแสดงใหผูใหญรูวาเขาทําอะไร เม่ือไร

อยางไร แลวแสดงการทํากิจกรรมดวยสัญลักษณประจําตัวเด็ก ซ่ึงเปนกระบวนการท่ีเด็กมีโอกาสเลือก

และตัดสินใจ

2) การปฏิบัติ (do) คือ

(1) การเลนหรือการปฏิบัติตรงกับท่ีเด็กตั้งใจ

(2) ฝกการคิด การแกปญหา และการตัดสินใจ

(3) มีสวนรวมในการทํางานกลุม

(4) ไดเคลื่อนไหว พัฒนาภาษาพูด

(5) ฝกคิดจินตนาการ

(6) คิดออกแบบ สรางสรรคผลงานอยางอิสระ

3) การทบทวน (recall) คือ

(1) การสะทอนสิ่งท่ีเด็กไดกระทํา

(2) เปนการเชื่อมโยงระหวางการวางแผน การปฏิบัติ และผลงานท่ีเด็กทํา

(3) การเลาประสบการณในการทํางาน

จากท่ีกลาวมาแลวพอสรุปไดวา การจัดประสบการณการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

เปนการจัดการเรียนรูท่ีประกอบดวยกระบวนการวางแผน ลงมือปฏิบัติ และทบทวน เด็กจะตองมี

ปฏิสัมพันธกับครูและเพ่ือนในการคิดวางแผน และลงมือปฏิบัติ เปนการเปดโอกาสใหเด็กมีอิสระ

ในการคิด และการกระทํากิจกรรม แลวทบทวนการทําผลงานที่ผานมา มีการนําเสนอผลงาน

ซ่ึงครูมีบทบาทสําคัญท่ีจะนําเด็กทํากิจกรรมในแตละข้ันตอน โดยครูตองเขาไปปฏิสัมพันธแนะนํา

ขณะเด็กวางแผน ทบทวน และในโอกาสท่ีเหมาะสมในขณะปฏิบัติกิจกรรม ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัย

ไดนําการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป มาใชเปนแนวทางในการจัดประสบการณใหกับเด็กปฐมวัย

โดยใชชุดกิจกรรมท่ีผูวิจัยสรางข้ึนใหเด็กปฏิบัติกิจกรรมตามข้ันตอน ไดแก การวางแผน การปฏิบัติ

การทบทวน

2.4.5 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

พิมพิกา คงรุงเรือง (2542, หนา 85) ทําการศึกษาการใชปจจัยตามแกนแหงการเรียนรูของ

ไฮ–สโคป ในการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะท่ีมีตอความเชื่อม่ันในตนเองของเด็กปฐมวัยพบวา

Page 72: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

60

เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการใชปจจัยตามแกนแหงการเรียนรูของไฮ–สโคป ในการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว

และจังหวะท่ีมีตอความเชื่อม่ันในตนเองสูงข้ึน

วศินี อิศรเสนา ณ อยุธยา (2545, บทคัดยอ) ทําการศึกษาความคิดสรางสรรคที่ไดรับ

การจัดกิจกรรมประสบการณ วางแผน ปฏิบัติ ทบทวน ตามแนวการสอนแบบไฮ–สโคป ของนักเรียน

ชั้นเด็กเล็ก โรงเรียนสาธิต มศว. ประสานมิตร ฝายประถม พบวาความคิดสรางสรรคที่ไดรับการจัด

กิจกรรมประสบการณ วางแผน ปฏิบัติ ทบทวน ตามแนวการสอนแบบไฮ–โคป ของนักเรียนชั้นเด็กเล็ก

มีความคิดสรางสรรคสูงข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

พันธิตรา เกาะสุวรรณ (2546, หนา 52) ทําการศึกษาผลของการรูแบบไฮ–สโคป ที่มีตอ

ความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนเปรมประชาวัฒนา จังหวัดนนทบุรี พบวา

ผลของการรูแบบไฮ–สโคป ท่ีมีตอความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นอนุบาลปท่ี 2 มีความคิดสรางสรรค

สูงข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

อมรรัตน จรัสอรุณฉาย (2549, หนา 93) ทําการพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัยโดยใชการเรียนรูแบบไฮ–สโคป โรงเรียนวัดสุนทรพิชิต จังหวัดนครนายก พบวา

ความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยท่ีใชชุดกิจกรรมฝกทักษะความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

โดยใชการเรียนรูแบบไฮ-สโคป มีความคิดสรางสรรคหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ท่ีระดับ .01

2.4.6 งานวิจัยตางประเทศ

ชไวนฮารท (Schweinhart, 1997, pp. 62) ไดกลาวถึง การวิจัยเปรียบเทียบการใชหลักสูตร

3 รูปแบบ ในเด็กปฐมวัยถึงวัย 23 ป โดยสุมกําหนดใหเด็กเขาสูหลักสูตร 1 ใน 3 ดังนี้

1) หลักสูตรไฮ–สโคป (high-scope) ซ่ึงมีแนวการจัดการศึกษาตามทฤษฎีคอนสตรัคติวสิต

ท่ีใหเด็กไดใชกระบวนการคิดอยางมีเหตุผลกับวัสดุท่ีหลากหลาย เลือกและตัดสินใจกระทําสิ่งตางๆ

ดวยตนเองโดยมีผูใหญสนับสนุนความคิดของเด็กในกิจกรรมท่ีเด็กปฏิบัติ

2) การจัดการศึกษาแบบท่ัวไป (traditional nusey school) มีแนวในการจัดการศึกษา

ท่ีเด็กเปนศูนยกลางและบรรยากาศท่ีเนนทักษะทางสังคม

3) การจัดการศึกษาท่ีเนนครูเปนผูสอนโดยตรง (direct instruction) ซ่ึงมีวิธีการสอน

โดยใชตําราและการสรางคําถามจากแบบเรียน ผลการวิจัยพบวา เด็กที่อยูในหลักสูตรไฮ–สโคป

ประสบความสําเร็จในดานการศึกษา และอาศัยอยูกับคูของตน ทํางานและลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง

ประธานาธิบดีมากกวากลุมท่ีไดรับการจัดการศึกษาแบบท่ัวไปและแบบครูเปนผูสอนโดยตรงและ

กลุมท่ีไดรับการจัดการศึกษาแบบครูเปนผูสอนโดยตรงถูกจับกุมในคดีอาญารุนแรงรวมท้ังมีความบกพรอง

ทางอารมณมากกวากลุมท่ีไดรับการศึกษาตามหลักสูตรไฮ–สโคป และการจัดการศึกษาแบบท่ัวไป

Page 73: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

61

จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ผูวิจัยไดสรางชุดกิจกรรมจํานวน 3 ชุด เพ่ือนํา มา

จัดทําเปนแผนการเรียนรูตามแนวคิดของไฮ–สโคป ประกอบดวยกิจกรรม 3 ข้ันตอนคือ การวางแผน

ลงมือปฏิบัติ และทบทวน โดยจัดกระบวนการเรียนรูเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

ใหเกิดคุณลักษณะ 4 ประการ คือ ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิด

ละเอียดลออ โดยผูวิจัยนํามากําหนดเปนกรอบแนวคิดสําหรับการวิจัยเรื่องการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ–สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

บทท่ี 3

วิธีดําเนินงานวิจัย

ในการวิจัยเรื่องการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยตามลําดับข้ันตอน ดังตอไปนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.2 เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

3.3 การสรางเครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

3.5 ระยะเวลาท่ีใชในการวิจัย

3.6 การเก็บรวบรวมและการวิเคราะหขอมูล

3.7 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตวัอยาง

Page 74: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

62

3.1.1 ประชากร

ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้เปนเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนวัดหัวคู สังกัด

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555

จํานวน 2 หองเรียนๆ ละ 20 คน รวม 40 คน

3.1.2 กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก เด็กปฐมวัยท่ีมีอายุระหวาง 5-6 ป ท่ีกําลังศึกษาอยูท่ี

โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2

ปการศึกษา 2555 จํานวน 20 คนโดยการเลือกแบบสุมอยางงาย (simple random sampling)

ซ่ึงการจัดชั้นเรียนเด็กปฐมวัยเปนแบบคละหองเรียนมีจํานวน 2 หองเรียน ซ่ึงวิธีการเลือกกลุมตัวอยาง

ใชวิธีการสุมโดยการจับฉลากกลุมตัวอยางมา 1 หองเรียน ท่ีมีความสามารถคละกัน

3.2 เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบดวย

3.2.1 แผนการจัดประสบการณเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย จํานวน 12 แผน

3.2.2 ชุดกิจกรรมสําหรับจัดการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย

3.2.3 แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค

3.3 การสรางเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลมีข้ันตอน ดังนี ้

การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยจัดทําเครื่องมือในรูปแบบของชุดกิจกรรม

พรอมแผนการจัดประสบการณตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 ซึ่งผูวิจัย

ไดดําเนินการตามลําดับข้ันตอน ดังนี้

3.3.1 ชุดกิจกรรมพรอมแผนการจัดประสบการณดําเนินการสรางตามลําดับข้ันตอน ดังนี้

1) ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

กับความคิดสรางสรรค เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับชุดกิจกรรม และเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

กับกระบวนการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป เพ่ือเปนแนวทางในการจัดทําชุดกิจกรรมพรอมแผนการจัด

ประสบการณตามแนวคิดไฮ–สโคป

Page 75: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

63

2) กําหนดกิจกรรมใหสอดคลองกับสาระการเรียนรูในหลักสูตร ประกอบดวย กิจกรรม

4 ประเภท คือ ชุดกิจกรรมประกอบดวย

(1) คูมือการใชชุดกิจกรรม

(2) แผนการจัดประสบการณ

(3) แบบบันทึกการสังเกตความคิดสรางสรรค

(4) แบบบันทึกคะแนนความคิดสรางสรรค

3) ดําเนินการวางแผนการจัดประสบการณเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคใหครอบคลุม

องคประกอบของความคิดสรางสรรค 4 ดาน คือ ความคิดคลองตัว ความคิดริเริ่ม ความคิดยืดหยุน

และความคิดละเอียดลออ โดยใชกระบวนการการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป ประกอบดวย ข้ันตอน

การวางแผน (plan) การปฏิบัติ (do) และการทบทวน (recall) การจัดประสบการณแลวกําหนด

เปนชุดกิจกรรม และระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ซ่ึงในชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับ

เด็กปฐมวัย ประกอบดวย 3 ชุดกิจกรรม รวมท้ังหมด 12 แผนการจัดประสบการณใชเวลาจัดกิจกรรม

สัปดาหละ 2 ครั้งๆ ละ 50 นาที โดยมีรายละเอียดดังตาราง 1 ดังนี้

ตาราง 1 แสดงแผนการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม แผนการจัดประสบการณ วันท่ีทดลอง

จินตนาการ

จากการปน

แผนท่ี 1 การปนจากดินน้ํามัน 8 พฤศจิกายน 2555

แผนท่ี 2 การปนจากแปงขนมปง 13 พฤศจิกายน 2555

แผนท่ี 3 การปนจากดินแปงขาวเหนียว 15 พฤศจิกายน 2555

แผนท่ี 4 การปนจากแปงสาลี 20 พฤศจิกายน 2555

ฉีก ตัด ปะ

สรางสรรคความคิด

แผนท่ี 5 ฉีก ตัด ปะ กระดาษโปสเตอรสี 22 พฤศจิกายน 2555

แผนท่ี 6 ฉีก ตัด ปะ กระดาษอังกฤษ 27 พฤศจิกายน 2555

แผนท่ี 7 ฉีก ตัด ปะ กระดาษหนังสือพิมพ 29 พฤศจิกายน 2555

แผนท่ี 8 ฉีก ตัด ปะ กระดาษหนังสือนิตยสาร 4 ธันวาคม 2555

ตาราง 1 (ตอ)

ชื่อกิจกรรม แผนการจัดประสบการณ วันท่ีทดลอง

การประดิษฐ

ดวยเศษวัสดุ

แผนท่ี 9 การประดิษฐจากถวยไอศกรีม 6 ธันวาคม 2555

แผนท่ี 10 การประดิษฐจากกลองนม 11 ธันวาคม 2555

Page 76: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

64

แผนท่ี 11 การประดิษฐจากแกนกระดาษชําระ 13 ธันวาคม 2555

แผนท่ี 12 การประดิษฐจากกลองสบู 18 ธันวาคม 2555

4) นําชุดกิจกรรมและแผนจัดประสบการณการจัดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัยท่ีผูวิจัยสรางข้ึนเสนอตอประธานและกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ เพื่อพิจารณา

ตรวจสอบ และแกไขความถูกตองของเนื้อหา สํานวนภาษา และกิจกรรม แลวนํามาปรับปรุงแกไข

ตามคําแนะนํากอนนําเสนอผูเชี่ยวชาญ

5) ผูวิจัยนําชุดกิจกรรมท่ีปรับปรุงแกไขแลว เสนอตอผูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบ

ความเหมาะสม และความถูกตองของสํานวนภาษา และใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับความสอดคลองของ

ชุดกิจกรรมการเรียนรูกับจุดประสงคการเรียนรู ขั้นตอนการจัดประสบการณ สื่อ การวัดผลและ

ประเมินผล รวมท้ังระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ซ่ึงประกอบดวยผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน ดังนี้

(1) ดร.พอเจตน ธรรมศิริขวัญ อาจารยประจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ราชนครินทร ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและการสอน

(2) นายธรรมนูญ ถือพุทรา ตําแหนงรองผูอํานวยการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ผูเชี่ยวชาญดานการวัดและประเมินผลการศึกษา

(3) นายธวัธชัย เผาสามมุข ตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียนวัดหัวคู สํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและการเขียนแผน

การจัดการเรียนรู

(4) ดร.ลลิดา ธรรมบุตร ตําแหนงศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

สมุทรปราการ เขต 2

ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและการสอน

(5) นางสาวพัฒนชญา ทองแสม ตําแหนงศึกษานิเทศกชํานาญการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

สมุทรปราการ เขต 2

ผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาปฐมวัย

3.3.2 การสรางแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคโดยใชการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย มีข้ันตอนการสรางดังนี้

Page 77: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

65

1) ศึกษาเอกสารตําราเก่ียวกับการสรางแบบทดสอบของ อารี พันมณี และของ ทอแรนซ

(อางถึงใน อารี พันมณี, 2546, หนา 182–199) เพื่อวัดความคิดสรางสรรคสําหรับ เด็กปฐมวัย

ชั้นอนุบาลปท่ี 2 ซ่ึงประกอบดวยกิจกรรม 3 ชุด คือ กิจกรรมชุดที่ 1 การวาดภาพกิจกรรมชุดที่ 2

การตอเติมภาพใหสมบูรณ และกิจกรรมชุดท่ี 3 การฉีก ตัด ปะ

2) นําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคและการแปลผลระดับคะแนนโดยใชการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย ท่ีสรางข้ึนเสนอตอประธานและ

กรรมการควบคุมวิทยานิพนธเพ่ือตรวจสอบขอบกพรองของสํานวนภาษา

3) การแปลผลระดับคะแนนความคิดสรางสรรคโดยใชการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยเปน 3 ระดับ ดังนี้

0.00 – 0.99 หมายถึง ระดับต่ํา

1.00 – 1.99 หมายถึง ระดบัปานกลาง

2.00 – 3.00 หมายถึง ระดับสูง

4) นําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคโดยใชการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสาํหรับเด็กปฐมวัย ท่ีปรับปรุงแลวเสนอตอผูเชี่ยวชาญเพ่ือประเมิน

ความเหมาะสมของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค โดยกําหนดเกณฑความเหมาะสมเปน 5 ระดับ

ดังนี้

4.51 - 5.00 หมายถึง เหมาะสมมากท่ีสุด

3.51 - 4.50 หมายถึง เหมาะสมมาก

2.51 - 3.50 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง

1.51 - 2.50 หมายถึง เหมาะสมนอย

1.00 - 1.50 หมายถึง เหมาะสมนอยท่ีสุด

5) นําคะแนนท่ีไดจากการประเมินของผูเชี่ยวชาญมาหาคาเฉลี่ยเพ่ือดูความเหมาะสม

ของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย ไดคาเฉลี่ยรวมท้ัง 3 ชุด เทากับ 4.45 แสดงวา

มีความเหมาะสมในระดับมากท่ีสุด โดยจําแนกเปนรายชุดกิจกรรม ดังนี้

(1) แบบทดสอบท่ี 1 การวาดภาพ มีคาเฉลี่ย 4.44 แสดงวา ระดบัผลการประเมิน

ความเหมาะสมอยูในระดับ มาก

(2) แบบทดสอบท่ี 2 การตอเติมภาพใหสมบรูณ มีคาเฉลี่ย 4.36 แสดงวา ระดับ

ผลการประเมินความเหมาะสมอยูในระดับ มาก

(3) แบบทดสอบท่ี 3 การฉีก ตัด ปะ มีคาเฉลี่ย 4.56 แสดงวา ระดับผลการประเมิน

ความเหมาะสมอยูในระดับ มากท่ีสุด

Page 78: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

66

6) การสรางแบบประเมินความความเหมาะสมของชุดกิจกรรมสําหรับผูเชี่ยวชาญ

มีวิธีการและข้ันตอนในการสรางแบบประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรม ดังนี้

(1) ศึกษาเอกสารตํารา เก่ียวกับการสรางแบบประเมินชุดกิจกรรมพัฒนาความคิด

สรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (rating scale) ตามวิธีของ ลิเคิรต

(Likert, 1932; อางถึงใน แสงเดือน ทวีสิน, 2545, หนา 72) ซ่ึงมี 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากท่ีสุด

เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมนอย และเหมาะสมนอยท่ีสุด

(2) สรางแบบประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย ใหครอบคลุมองคประกอบชุดกิจกรรมแลวนําแบบประเมินความเหมาะสมเชิงเนื้อหา

ของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยท่ีสรางข้ึนเสนอตอประธาน และกรรมการ

ควบคุมวิทยานิพนธ เพ่ือตรวจสอบขอบกพรองของสํานวนภาษา

(3) ปรับปรุงแบบประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิด

สรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย แลวเสนอตอผูเชี่ยวชาญเพ่ือประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรม

จากนั้นนําคะแนนท่ีไดจากการประเมินของผูเชี่ยวชาญมาหาคาเฉลี่ย โดยกําหนดเกณฑความเหมาะสม

เปน 5 ระดับ ดังนี้

4.51 - 5.00 หมายถึง เหมาะสมมากท่ีสุด

3.51 - 4.50 หมายถึง เหมาะสมมาก

2.51 - 3.50 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง

1.51 - 2.50 หมายถึง เหมาะสมนอย

1.00 - 1.50 หมายถึง เหมาะสมนอยท่ีสุด

จากผลการประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย ไดคาเฉลี่ยรวมท้ัง 3 ชุดกิจกรรม เทากับ 4.56 แสดงวา มีความเหมาะสมในระดับ

มากท่ีสุด โดยจําแนกเปนรายชุดกิจกรรม ดังนี้

ก. ชุดกิจกรรมท่ี 1 จินตนาการดวยการปน มีคาเฉลี่ย 4.53 แสดงวา ระดับ

ผลการประเมินความเหมาะสมอยูในระดับ มากท่ีสุด

ข. ชุดกิจกรรมท่ี 2 การฉีก ตัด ปะ สรรคความคิด มีคาเฉลี่ย 4.56 แสดงวา

ระดับผลการประเมินความเหมาะสมอยูในระดับ มากท่ีสุด

ค. ชุดกิจกรรมท่ี 3 การประดิษฐดวยเศษวัสดุ มีคาเฉลี่ย 4.60 แสดงวา ระดับ

ผลการประเมินความเหมาะสมอยูในระดับ มากท่ีสุด

7) นําชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยท่ีปรับปรุงแลว

ไปทดลองใชกับเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 ท่ีไมใชกลุมตัวอยาง โดยดําเนินการทดลอง ดังนี้

Page 79: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

67

(1) ข้ันท่ี 1 แบบเดี่ยว โดยทดลองกับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียน

วัดหัวคู สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 จํานวน 3 คน ที่ไมใช

กลุมตัวอยางแบงเปน เกง ปานกลาง และออน เพ่ือหาขอบกพรอง ความชัดเจนของภาษา เนื้อหา

กิจกรรมการเรียนการสอน ระยะเวลา การวัดผลและประเมินผล แลวนําขอมูลไปปรับปรุงแกไข

ในเรื่องตอไปนี้

ก. ชวงระยะเวลาในการทํากิจกรรมกําหนดเวลา 40 นาที เด็กไมสามารถ

ทํากิจกรรมตามเวลาท่ีกําหนดได

ข. การใหคะแนนกําหนดเกณฑไมชัดเจนจึงทําใหเด็กเกิดความไมเขาใจ

ค. การสรางแบบวัดความคิดสรางสรรคควรมีความสอดคลองกับกิจกรรม

ท่ีสรางข้ึนและตองเหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก

(2) ข้ันท่ี 2 แบบกลุม นําชุดกิจกรรมท่ีปรับปรุงแกไขแลวไปทดลองกับเด็กปฐมวัย

ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ

เขต 2 จํานวน 9 คน ท่ีไมใชกลุมตัวอยาง เพ่ือตรวจสอบข้ันตอนในการเรียนและความเหมาะสมของเวลา

กับกิจกรรมเพ่ือหาขอบกพรองของชดุกิจกรรม แลวนําขอมูลท่ีไดมาปรับปรุงแกไขอีกครั้งกอนนํามาใช

ทดลองกับกลุมตัวอยาง

(3) ข้ันท่ี 3 ปฏิบัติจริง นําชุดกิจกรรมท่ีปรับปรุงแกไขแลว ไปทดลองกับเด็กปฐมวัย

ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ

เขต 2 จํานวน 20 คน ท่ีไมใชกลุมตัวอยาง เพ่ือตรวจสอบข้ันตอนในการเรียนและความเหมาะสมของ

เวลากับกิจกรรม เพ่ือหาขอบกพรองของชุดกิจกรรม แลวนําขอมูลที่ไดมาปรับปรุงแกไขอีกครั้ง

กอนนํามาทดลองใชกับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปที่ 2 ไมใชกลุมตัวอยาง สังเกตพฤติกรรม

ความคิดสรางสรรคและดําเนินการตรวจใหคะแนนตามเกณฑ แลวนําคะแนนจากการสังเกตพฤติกรรม

ของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคโดยใชการจัดการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป มาวิเคราะห

ตามวิธีการทางสถิติเพ่ือหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม (E1) และประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) เทากับ

83.47/87.22 แสดงวาชุดกิจกรรมมีประสิทธิภาพสามารถนําไปทดลองใชได

8) นําแบบทดสอบเพ่ือวัดความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยที่ปรับปรุงแลว

ไปทดลองใชกับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 ท่ีไมใชกลุมตัวอยาง โดยผูวิจัยและผูชวยสังเกต

พฤติกรรมความคิดสรางสรรคและดําเนินการตรวจใหคะแนนตามเกณฑ แลวนําคะแนนจากการสังเกต

พฤติกรรมมาวิเคราะหตามวิธีการทางสถิติ เพ่ือหาความสอดคลองระหวางผูวิจัยและผูชวยวิจัย

ในการตรวจใหคะแนนโดยใชสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยางงายของเพียรสัน ไดคาสัมประสิทธิ์เทากับ

0.98 แสดงวาแบบทดสอบมีความเชื่อม่ันในระดับสูงนําไปใชเก็บขอมูลได

Page 80: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

68

3.4 การเก็บรวบรวมขอมลู

3.4.1 ศึกษาการใชชุดกิจกรรมโดยศึกษาจากเอกสารการสรางและใชชุดกิจกรรม

3.4.2 เปรียบเทียบผลการใชชุดกิจกรรมดวยการวิจัยเชิงทดลองแบบใชกลุมตัวอยางกลุมเดียว

มีการทดลองกอนและหลังการจัดประสบการณ (one group pretest-posttest design) ดังตาราง 2

ตาราง 2 แสดงแบบแผนการวิจัยแบบทดลองกลุมเดียว กอนและหลังการจัดประสบการณ

กลุมตัวอยาง กอนจัดประสบการณ ทดลอง หลังจัดประสบการณ

E T1 X T2

เม่ือ E แทน กลุมตัวอยาง

T1 แทน ทดลองกอนจัดประสบการณ

X แทน ทดลอง

T2 แทน ทดลองหลังจัดประสบการณ

3.4.2 วิธีดําเนินการทดลอง การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลองมีรูปแบบการทดลองกับ

กลุมตัวอยางกลุมเดียว โดยทําการทดสอบกอนและหลังการจัดประสบการณ ซ่ึงผูวิจัยนําชุดกิจกรรม

การเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยและแบบทดสอบวัดความคิด

สรางสรรคท่ีสรางข้ึน ซ่ึงไดรับการวิเคราะหประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมแลวไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง

ดังนี้

1) ดําเนินการขออนุญาตตอผูบริหารโรงเรียนวัดหัวคู สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 เพ่ือขอความรวมมือในการวิจัย

2) การทดสอบกอนใชชุดกิจกรรม ผูวิจัยและผูชวยวิจัยกําหนดใหเด็กปฐมวัย ระดับชั้น

อนุบาลปท่ี 2 กลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค แลวทําการตรวจใหคะแนนตามเกณฑ

เพ่ือนําคะแนนท่ีไดไปวิเคราะหตามวิธีทางสถิติ

3) การดําเนินการทดลอง ผูวิจัยและผูชวยวิจัยไดเริ่มทําการทดลอง โดยการใชชดุกิจกรรม

การเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป จํานวน 3 ชุดกิจกรรม 12 แผนการจัดประสบการณ ในวันอังคาร

และวันพฤหัสบดี เวลา 09.30-10.20 น. ตั้งแตวันท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 20 ธันวาคม

พ.ศ. 2555 ครั้งละ 50 นาที รวม 6 สัปดาห

Page 81: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

69

4) การทดสอบหลังใชชุดกิจกรรม ผูวิจัยและผูชวยวิจัยใหเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล

ปท่ี 2 ท่ีเปนกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค จากนั้นดําเนินการการตรวจใหคะแนน

ตามเกณฑนําคะแนนท่ีไดไปวิเคราะหตามวิธีการทางสถิติ

3.4.3 การวิเคราะหขอมูล

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

1) วิเคราะหประสิทธิภาพชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย สําหรับ

จัดการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80/80 สถิติท่ีใช ไดแก E1/E2

(รัตนะ บัวสนธ, 2552, หนา 130)

2) เปรียบเทียบผลการพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ-สโคป กอนและหลังการใชชุดกิจกรรม โดยใชสถิติหาคาทีแบบ t-test dependent

(พวงรัตน ทวีรัตน, 2540, หนา 165)

3.5 สถติิที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.5.1 สถิติพ้ืนฐาน ไดแก

1) คาเฉลี่ย (พวงรัตน ทวีรัตน, 2540, หนา 137) โดยใชสูตร ดังนี้

nX

X ∑=

เม่ือ X แทน คะแนนเฉลี่ย

∑ X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด

n แทน จํานวนเด็กปฐมวัย ในกลุมตัวอยาง

2) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (พวงรัตน ทวีรัตน, 2540, หนา 143) โดยใชสูตร ดังนี้

( )

( )1n

2X2XS.D −

∑∑ −=

เม่ือ S.D. แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

n แทน จํานวนเด็กปฐมวัย ในกลุมตัวอยาง

∑ X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด

∑ X 2 แทน กําลังสองของคะแนนแตคน

Page 82: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

70

3.5.2 สถิติท่ีใชทดสอบสมมติฐาน

1) การวิเคราะหประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

สถิติท่ีใช ไดแก E1/E2 โดยคํานวณจากสูตร ดังนี้ (รัตนะ บัวสนธ, 2552, หนา 103)

100AN

1

E

X

1 ×=

เม่ือ E1 แทน ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม

∑ X 1 แทน คะแนนรวม

N แทน จํานวนนกัเรียน

A แทน คะแนนเต็มของชุดกิจกรรมกอนเรียน

100

BN

2X

2E ×∑

=

เม่ือ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลการเรียน

∑ X 2 แทน คะแนนรวม

N แทน จํานวนนกัเรียน

B แทน คะแนนเต็มของชุดกิจกรรมหลังเรียน

2) สถิติท่ีใชในการหาคาความเชื่อม่ันของแบบสังเกตวัดความคิดสรางสรรคโดยใช

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2541, หนา 173) ด ังนี้

r = ( ) ( )∑ ∑ ∑−∑−∑ ∑ ∑−

]yy][Nxx[N

yxxyN2222

เม่ือ r แทน สัมประสิทธิ์ความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ

N แทน จํานวนคนหรือสิ่งของท่ีศึกษา

∑ x แทน ผลรวมท้ังหมดของคะแนนดิบ x

2x∑ แทน ผลรวมท้ังหมดของคะแนนดิบ x แตละตัวยกกําลังสอง

∑ y แทน ผลรวมท้ังหมดของคะแนนดิบ y

2y∑ แทน ผลรวมท้ังหมดของคะแนนดิบ y แตละตัวยกกําลังสอง

Page 83: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

71

∑ xy แทน ผลรวมท้ังหมดของคะแนนดิบ x และ y คูณกันแตละคู

3) เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนความคิดสรางสรรคกอนเรียนและหลังเรียน

t-test dependent (พวงรัตน ทวีรัตน, 2540, หนา 165) โดยคํานวณจากสูตร ดังนี้

( )1n

DDn

Dt

22

−∑ ∑−

∑=

เม่ือ t แทน คาสถิติท่ีใชในการพิจารณา t-Distributions

D แทน ผลตางของคะแนนกอนทดลองและหลังทดลอง

∑D แทน ผลรวมของผลตางของคะแนนกอนทดลองและหลังทดลอง

∑ 2D แทน ผลรวมกําลังสองของผลตางของคะแนนกอนทดลองและ

หลังทดลอง

n แทน จํานวนนกัเรียน

บทท่ี 4

Page 84: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

72

ผลการวิเคราะหขอมูล

ในการวิเคราะหขอมูลการวิจัยเรื่อง การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 นั้น เพ่ือใหการเสนอผลการวิจัยเกิดความเขาใจ

ตรงกัน ผูวิจัยนําเสนอผลการวิจัย ดังนี้

4.1 สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

4.2 ลําดับข้ันตอนในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

4.3 ผลการวิเคราะหขอมูล

4.1 สัญลกัษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

S.D แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

t แทน คาสถิติท่ีจะใชเปรียบเทียบกับคาวิกฤตเพ่ือทราบความมีนัยสําคัญของคา t

∑ x แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด

2∑ x แทน ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง

X แทน คะแนนเฉลี่ย

n แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง

D แทน ผลตางของคะแนนทดสอบกอนและหลังการใชชุดกิจกรรม

∑D แทน ผลรวมของผลตางระหวางคะแนนทดสอบหลังการใชชุดกิจกรรม

p แทน ระดับนัยสําคัญทางสถิติ

* แทน นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

4.2 ลําดับข้ันตอนในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

ในการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาคนควาดําเนินการตามลําดับข้ันตอน ดังตอไปนี้

ตอนท่ี 1 วิเคราะหประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

โดยใชการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

ตอนท่ี 2 การศึกษาความคิดสรางสรรคของเดก็ปฐมวัย โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิด

ไฮ–สโคป

Page 85: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

73

ตอนท่ี 3 การเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยกอนเรียนและหลังเรยีน

หาคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test (dependent samples)

4.3 ผลการวิเคราะหขอมูล

ตอนท่ี 1 วิเคราะหประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

ตาราง 3 ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ชุดกิจกรรมท่ี คะแนนเต็ม คะแนนระหวางทดลอง คะแนนเต็ม คะแนนหลังทดลอง

1 48 807 12 203

2 48 828 12 229

3 48 775 12 204

รวม 2410 636

x 120.5 31.80

E1 = 83.68 E2 = 88.33

จากตาราง 3 พบวาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 มีคะแนน

ระหวางการจัดเรียนจากชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย 3 ชุดกิจกรรม

ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม (E1) และประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) เทากับ 83.68/88.33 แสดงวา

ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย มีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80/80

ตอนท่ี 2 การศึกษาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิด

ไฮ–สโคป

ตาราง 4 คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน

โดยใชกิจกรรมการวาดภาพ

ความคิดสรางสรรค กอนเรียน หลังเรียน

Page 86: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

74

x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ

ความคิดคลองตัว 1.45 0.50 ปานกลาง 2.90 0.31 สูง

ความคิดยืดหยุน 1.15 0.37 ปานกลาง 2.25 0.44 สูง

ความคิดริเริ่ม 1.25 0.43 ปานกลาง 2.35 0.49 สูง

ความคิดละเอียดลออ 1.15 0.36 ปานกลาง 2.55 0.51 สูง

รวม 1.25 0.42 ปานกลาง 2.51 0.44 สูง

จากตาราง 4 พบวาคะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน

โดยใชกิจกรรมการวาดภาพ โดยรวมมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 1.25 และ 2.51 ตามลําดับ เม่ือพิจารณา

เปนรายดาน คะแนนเฉลี่ยดานความคิดคลองตัว เทากับ 1.45 และ 2.90 ดานความคิดยืดหยุนเทากับ

1.15 และ 2.25 ดานความคิดริเริ่ม เทากับ 1.25 และ 2.35 และดานความคิดละเอียดลออเทากับ 1.15

และ 2.55 ตามลําดับ จะเห็นไดวาความคิดสรางสรรคอยูในระดับสูงทุกดาน

ตาราง 5 คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน

โดยใชกิจกรรมการตอเติมภาพใหสมบรูณ

ความคิดสรางสรรค กอนเรียน หลังเรียน

x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ

ความคิดคลองตัว 1.30 0.46 ปานกลาง 2.85 0.37 สูง

ความคิดยืดหยุน 1.30 0.46 ปานกลาง 2.95 0.22 สูง

ความคิดริเริ่ม 1.25 0.43 ปานกลาง 2.85 0.37 สูง

ความคิดละเอียดลออ 1.05 0.22 ปานกลาง 2.80 0.41 สูง

รวม 1.23 0.39 ปานกลาง 2.86 0.34 สูง

จากตาราง 5 พบวาคะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหวัคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน กิจกรรม

การตอเติมภาพใหสมบรูณ โดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 1.23 และ 2.86 ตามลําดับ เม่ือพิจารณา

เปนรายดาน คะแนนเฉลี่ยดานความคิดคลองตัว เทากับ 1.30 และ 2.85 ดานความคิดยืดหยุน เทากับ

1.30 และ 2.95 ดานความคิดริเริ่มเทากับ 1.25 และ 2.85 ดานความคิดละเอียดลออ เทากับ 1.05

และ 2.80 ตามลําดับ จะเห็นไดวาความคิดสรางสรรคอยูในระดับสูงทุกดาน

Page 87: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

75

ตาราง 6 คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน

โดยใชกิจกรรมการฉีก ตัด ปะ

ความคิดสรางสรรค กอนเรียน หลังเรียน

x S.D. ระดับ x S.D. ระดับ

ความคิดคลองตัว 1.10 0.30 ปานกลาง 2.85 0.37 สูง

ความคิดยืดหยุน 1.10 030 ปานกลาง 2.30 0.47 สูง

ความคิดริเริ่ม 1.20 0.55 ปานกลาง 2.55 0.51 สูง

ความคิดละเอียดลออ 1.10 0.30 ปานกลาง 2.50 0.52 สูง

รวม 1.14 0.33 ปานกลาง 2.55 0.47 สูง

จากตาราง 6 พบวา คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียนกิจกรรม

การฉีก ตัด ปะ โดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 1.14 และ 2.55 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาเปนรายดาน

คะแนนเฉลี่ยดานความคิดคลองตัว เทากับ 1.10 และ 2.85 ดานความคิดยืดหยุน เทากับ 1.10 และ

2.30 ดานความคิดริเริ่ม เทากับ 1.20 และ 2.55 ดานความคิดละเอียดลออ เทากับ 1.10 และ 2.50

ตามลําดับ จะเห็นไดวาความคิดสรางสรรคอยูในระดับสูงทุกดาน

ตาราง 7 คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน โดยใช

กิจกรรมการวาดภาพ กิจกรรมการตอเติมภาพใหสมบูรณ และกิจกรรมการฉีก ตัด ปะ

ความคิด

สรางสรรค

ระยะการ

ทดลอง

กิจกรรม

x S.D. ระดับ การวาดภาพ

การตอ

เติมภาพ

ใหสมบรูณ

การฉีก

ตัด ปะ

ความคิดคลองตัว กอนเรียน 1.45 1.30 1.10 1.28 0.42 ปานกลาง

หลังเรียน 2.90 2.85 2.85 2.87 0.03 สูง

ความคิดยืดหยุน กอนเรียน 1.15 1.30 1.10 1.18 0.38 ปานกลาง

หลังเรียน 2.25 2.95 2.30 2.50 0.39 สูง

ความคิดริเริ่ม กอนเรียน 1.25 1.25 1.20 1.23 0.42 ปานกลาง

Page 88: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

76

หลังเรียน 2.35 2.85 2.55 2.58 0.25 สูง

ความคิด

ละเอียดลออ

กอนเรียน 1.15 1.05 1.10 1.10 0.31 ปานกลาง

หลังเรียน 2.55 2.80 2.50 2.62 0.16 สูง

รวม กอนเรียน 1.25 1.23 1.14 1.20 0.38 ปานกลาง

หลังเรียน 2.51 2.86 2.55 2.64 0.21 สูง

จากตาราง 7 พบวา คะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน

กิจกรรมการวาดภาพ กิจกรรมการตอเติมภาพใหสมบูรณ และกิจกรรมการฉีก ตัด ปะ โดยรวมมีคะแนน

เฉลี่ยเทากับ 1.20 และ 2.64 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาความคิดสรางสรรคกอนเรียนและหลังเรียน

เปนรายดาน คะแนนเฉลี่ยดานความคิดคลองตัว เทากับ 1.28 และ 2.87 ดานความคิดยืดหยุน เทากับ

1.18 และ 2.50 ดานความคิดริเริ่ม เทากับ 1.23 และ 2.58 ดานความคิดละเอียดลออ เทากับ 1.10

และ 2.62 ตามลําดับ จะเห็นไดวาความคิดสรางสรรคอยูในระดับสูงทุกดาน

ตอนท่ี 3 การเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย กอนเรียนและหลังเรียน

ตาราง 8 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคูสังกัด

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน

ดานความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

ความคิด

สรางสรรค

ระยะ

การทดลอง x S.D. D t p

ความคิดคลองตัว กอนเรียน 1.28 0.42

1.59 24.983 .000 หลังเรียน 2.87 0.03

ความคิดยืดหยุน กอนเรียน 1.18 0.28

1.27 16.750 .000 หลังเรียน 2.50 0.39

ความคิดริเริ่ม กอนเรียน 1.23 0.42

1.38 14.655 .000 หลังเรียน 2.58 0.25

ความคิด กอนเรียน 1.12 0.31 1.42 21.488 .000

Page 89: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

77

ละเอียดลออ หลังเรียน 2.62 0.16

รวม กอนเรียน 1.20 0.38

1.44 37.198 .000 หลังเรียน 2.64 0.21

* p<.01

จากตาราง 8 พบวาคะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดหัวคู

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2 กอนเรียนและหลังเรียน

ดานความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ โดยรวมพบวามีคะแนนเฉลี่ย

หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (p<.01) โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน

เทากับ 2.64 สูงกวากอนเรียน ซ่ึงมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 1.20

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

ในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (experimental design) ทําการทดลองกลุมเดียว

กอนเรียนและหลังเรียน เรื่องการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิด

สรางสรรคของเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 ซ่ึงผูวิจัยนําชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรค

ของเด็กปฐมวัย และแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคท่ีสรางข้ึน ซ่ึงมีข้ันตอนการวิจัยสรุปไดดังนี้

วัตถุประสงคของการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคของการวิจัยดังนี้

Page 90: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

78

1. เพ่ือหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย จัดการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ-สโคป ตามเกณฑท่ี 80/80

2. เพ่ือศึกษาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิด

ไฮ–สโคป

3. เพ่ือเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการใชชุดกิจกรรมพัฒนา

ความคิดสรางสรรคจัดการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

สมมติฐานของการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ มีสมมติฐานของการวิจัยดังนี้

1. ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย สําหรับจัดการเรียนรูตามแนวคิด

ไฮ-สโคป มีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80/80

2. ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยหลังการใชชุดกิจกรรมสําหรับจัดการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ–สโคป สูงกวากอนไดรับการจัดการเรียนรู

ขอบเขตของการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ มีขอบเขตของการวิจัยดังนี้

1. ประชากร ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก เด็กปฐมวัยที่มีอายุระหวาง 5–6 ป

ท่ีกําลังศึกษาอยูท่ีโรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 2 หองเรียนๆ ละ 20 คน รวม 40 คน

2. กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก เด็กปฐมวัยท่ีมีอายุระหวาง 5-6 ป

ท่ีกําลังศึกษาอยูท่ีโรงเรียนวัดหัวคู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 20 คน กลุมตัวอยางไดจากโดยการสุมอยางงาย (simple

random sampling) โดยเลือกนักเรียน 1 หองเรียน ท่ีมีความสามารถคละกัน

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

การใชชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย สําหรับจัดการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ-สโคป ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยประกอบดวย

1. ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย การเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

จํานวน 3 ชุดกิจกรรม จํานวน 12 แผน ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมสัปดาหละ 2 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที

รวม 6 สัปดาห

2. แบบบันทึกกิจกรรม สําหรับใชในการประเมินความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย โดยผูวิจัย

และผูชวยวิจัยรวมกันสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยระหวางทํากิจกรรม ในแตละชุดกิจกรรม

3. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนท่ีใชในการประเมินผลการใชชุดกิจกรรมพัฒนา

ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยสําหรับจัดการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

Page 91: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

79

5.1 สรุปผลการวิจัย

5.1.1 ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยสําหรับ

จัดการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป ประสิทธิภาพ 83.68/88.33 ซ่ึงสูงกวามาตรฐาน 80/80 ท่ีกําหนดไว

ซ่ึงถือไดวาเปนชุดกิจกรรมท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถนําไปใชจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาการความคิดสรางสรรค

ของเด็กปฐมวัยได

5.1.2 ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาลปท่ี 2 หลังไดรับการจัดการเรียนรู

โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป หลังเรียนมีความคิดสรางสรรคโดยรวมมีคาเฉลี่ย

เทากับ 2.64 คะแนนความคิดคลองตัวมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.87 ความคิดยืดหยุนมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.50

ความคิดริเริ่มมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.58 และความคิดละเอียดลออมีคาเฉลี่ย 2.62 ตามลําดับ จะเห็นไดวา

ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยอยูในระดับสูงทุกดาน

5.1.3 เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย มีคาเฉลี่ยความคิดสรางสรรคหลังเรียนรูสูงกวากอนเรียน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (p<.01)

5.2 อภิปรายผล

5.2.1 ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย โดยใชการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ-สโคป มีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80/80 ท่ีตั้งไว โดยมีประสิทธิภาพเทากับ

83.68/88.33 ซ่ึงแสดงวาชุดกิจกรรมท่ีผูวิจัยสรางข้ึน มีประสิทธิภาพเพียงพอ ท่ีจะนําไปใชในการจัด

ประสบการณใหกับเด็กปฐมวัย ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจัยของ ศาลินา อนถาวร (2544, หนา 97)

ทําการศึกษาการสรางชุดกิจกรรมท่ีพัฒนารับรูทางภาษาสําหรับเด็กปฐมวัยพบวา ชุดกิจกรรมท่ีพัฒนา

การรับรูทางภาษาสําหรับเด็กปฐมวัยท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพ 88.42/89.47 ซ่ึงสูงกวามาตรฐาน 80/80

ท่ีกําหนดไวซ่ึงสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

1) การสรางชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย ผูวิจัยไดดําเนินการ

สรางอยางเปนระบบตามข้ันตอน โดยศึกษารวบรวมความรู ความเขาใจเก่ียวกับกิจกรรมเสริมประสบการณ

ใหกับเด็กปฐมวัย ศึกษาทฤษฎีการสอนจิตวิทยา วิเคราะหจุดประสงค สอบถามผูรู จากนั้นศึกษา

หลักการสรางชุดกิจกรรม ดําเนินการสรางชุดกิจกรรม นําไปใหผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบความเท่ียงตรง

เชิงเนื้อหา รูปแบบของชุดกิจกรรม ภาษาท่ีใชในชุดกิจกรรม และรูปภาพประกอบ เพ่ือนํามาปรับปรุง

แลวนําไปทดลองใชกับเด็ก เพ่ือตรวจสอบความยากงายของภาษาท่ีใช ระยะเวลาท่ีใชนํามาปรับปรุง

Page 92: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

80

แลวทดลองใชกับเด็กกลุมใหญ นํามาปรับปรุงอีกครั้ง เพ่ือนาํชุดกิจกรรมที่สมบูรณไปทดลองใชกับ

เด็กปฐมวัยกลุมทดลอง เพ่ือหาประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80/80

2) รูปแบบของกิจกรรมเปนการจัดกิจกรรมเสริมสรางประสบการณแบบปฏิบัติ

การทดลองซ่ึงเปนการจัดใหเด็กไดลงมือทําและเกิดการคนพบดวยตนเองภายใตการดูแลแนะนําของครู

ท่ีใหความชวยเหลืออยูตลอดเวลา ซ่ึงชวยใหความสัมพันธระหวางครูกับเด็กดีข้ึน ครูไดมีโอกาสใกลชิด

กับเด็กเปนรายบุคคล นอกจากนี้ยังชวยใหเด็กกลาแสดงออกและกลาทดลองมากข้ึน

3) ในดานตัวผูเรียน เด็กปฐมวัยมีความกระตือรือรนท่ีจะเรียนรูและรักการเรียนมากข้ึน

เพราะชุดกิจกรรมท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมีลักษณะเดนคือ การดําเนินกิจกรรมจะเปนไปตามข้ันตอนไดแก

ข้ันนําหรือข้ันเตรียม ข้ันดําเนินกิจกรรมและข้ันสรุป โดยแตละขั้นตอนครูตองใชคําถามกระตุน

เพ่ือใหเด็กเกิดความสนใจอยากศึกษาหาคําตอบ ครูจะคอยชี้แนะและใชคําถามประกอบกิจกรรม

กระตุนใหเด็กคิดและทดลองดวยวิธีการตางๆ และทายท่ีสุดเด็กและครูจะรวมกันสนทนาเพ่ือนําไปสู

การสรุปผลท่ีไดจากการปฏิบัติ

จากการสรางชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย ไดผานกระบวนการ

อยางมีข้ันตอน มีหลักการ รูปแบบหลากหลายเหมาะสมกับวัยของผูเรียน ผานการทดลองใชอยางมีระบบ

ทําใหชุดกิจกรรมท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมีประสิทธิภาพ 83.68/88.33 สูงกวาเกณฑมาตรฐานท่ีตั้งไว

5.2.2 ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยหลังการจัดการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรู

ตามแนวคิดไฮ-สโคป มีคาเฉลี่ยอยูในระดับสูง ซ่ึงแสดงวาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยไดรับ

การพัฒนาข้ึนหลังจากไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมตามแนวคิดไฮ-สโคป โดยมีคาเฉลี่ย

ความคิดสรางสรรคหลังเรียนสูงข้ึนกวากอนเรียนโดยใชชุดกิจกรรมตามแนวคิดไฮ-สโคป ซ่ึงสอดคลอง

กับสมมติฐานท่ีตั้งไว ซ่ึงแสดงใหเห็นวาการใชชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

จัดการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป สามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยใหมีความคิด

สรางสรรคใหสูงข้ึน โดยมีความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม และความคิดละเอียดลออ

อยูในระดับท่ีสูงข้ึนกวากอนการใชชุดกิจกรรม ซ่ึงสามารถอภิปรายไดดังนี้

การพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยสามารถแสดงออกดวยการสรางผลงาน

ท่ีหลากหลาย เชน การปน การฉีก ตัด ปะ และการประดิษฐ ดังที่ ทอแรนซ (torrance, 1965;

อางถึงใน ฌานิกา จงบุรี, 2551, หนา 17) กลาววาความคิดสรางสรรคของบุคคลในการแกปญหา

ดวยความลึกซ้ึงท่ีนอกเหนือไปจากลําดับข้ันตอนของการคิดอยางปกติธรรมดาอันเปนลักษณะภายใน

ของบุคคลท่ีจะคิดหลายแงมุมผสมผสานจนไดรับความคิดแปลกใหม เปนความคิดแปลกใหม

จากบุคคลอ่ืนและมีผลงานไมซํ้าใคร ความสามารถเกิดขึ้นไดทุกวัยโดยเฉพาะชวงเด็กอายุ 5-6 ป

เปนวัยท่ีมีความคิดสรางสรรคสูงสุด ดังนั้น ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยที่เพิ่มขึ้นเปนปจจัย

ท่ีเกิดจากการจัดกิจกรรมท้ัง 3 ชุดกิจกรรม เนื่องจากในการปฏิบัติในแตละกิจกรรมเด็กมีโอกาส

Page 93: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

81

ไดเลือกวัสดุ อุปกรณในการทํากิจกรรมท่ีหลากหลายอยางอิสระ เชน ไหมพรมสีตางๆ กระดุมหลากสี

ริบบิ้นหลากสีและลูกปดสีตางๆ ตามความคิดและจินตนาการ เด็กไดเรียนรูวิธี การวางแผน การปฏิบัติ

และการทบทวน ผานการสรางผลงาน ทําใหเด็กเกิดองคความรูดวยตนเอง ซึ่งเด็กสามารถนํา

ประสบการณเดิมมาสรางผลงานท่ีมีความแปลกใหม รวมท้ังเด็กไดทํางานอยางเปนระบบ จากการท่ีเด็ก

ไดปฏิบัติเปนประจํา สมํ่าเสมอสงผลใหเด็กเกิดความคลองแคลว ความชํานาญในการสรางผลงาน

ทําใหเกิดพัฒนาการทางความคิดสรางสรรคสูงข้ึน ซ่ึงสอดคลองกับทฤษฎีความคิดสรางสรรคของ

ทอแรนซ (torrance, 1965; อางถึงใน ฌานิกา จงบุรี, 2551, หนา 12) ความคิดสรางสรรคชวยให

มนุษยคนพบสิ่งแปลกใหมท่ีเปนประโยชนตอการดํารงชีวิต ความคิดสรางสรรคกอใหเกิดการผลิต และ

นําความรูใหม นําไปสูกระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน

5.2.3 เปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดประสบการณโดยใช

ชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย มีคาเฉลี่ย

ความคิดสรางสรรคหลังเรียนรูสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (p<.01)

ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ พจนีย เชื้อบัณฑิต (2554, หนา 97) ทําการศึกษาความคิดสรางสรรค

ของเด็กท่ีไดรับการจัดกิจกรรมดวยศิลปะดวยกระดาษ ชั้นอนุบาลปท่ี 3 พบวาความคิดสรางสรรคของ

เด็กปฐมวัยหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองดวยการจัดชุดกิจกรรมศิลปะดวยกระดาษอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และสอดคลองกับงานวิจัยของอมรรัตน จรัสอรุณฉาย (2549, หนา 93)

ซ่ึงไดทําการพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยโดยใชการเรียนรู

แบบไฮ–สโคป โรงเรียนวัดสุนทรพิชิต จังหวัดนครนายก พบวาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

ท่ีใชชุดกิจกรรมฝกทักษะความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยโดยใชการเรียนรูแบบไฮ–สโคป

มีความคิดสรางสรรคหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 อภิปรายผลไดดังนี้

ในการจัดประสบการณโดยใชชุดกิจกรรมเปนการเปดโอกาสใหเด็กไดเลือกวัสดุ อุปกรณนํามาทํากิจกรรม

สงผลใหเด็กไดใชความคิดในการนําเสนอผลงานท่ีแปลกใหม หลากหลายมีความละเอียดลออและ

ความคลองตัวในการทํางานสงเสริมใหเด็กรูจักการวางแผน การปฏิบัติและการทบทวน ซ่ึงกระบวนการ

เหลานี้ เปนวิธีการสรางจินตนาการไปสูการพัฒนาความคิดสรางสรรค ความคิดแปลกใหมสงผลให

การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

สอดคลองตามสมมติฐานท่ีตั้งไว สอดคลองกับทฤษฎีกิลฟอรด (Guilford, 1856; อางถึงใน อารี รังสินันท,

2526, หนา 24-29) กลาวไววาความคิดสรางสรรคเปนสมรรถภาพทางดานสมองท่ีมีอยูในทุกคน

ความสามารถเปนความคิดเอกนัยและอเนกนัยเปนความคิดสรางสรรค ความมีเหตุผลและการแกปญหา

สอดคลองกับ ไวกอตสก้ี (Vygotsky, 1978; อางถึงใน ชนาธิป พรกุล, 2543, หนา 187-189) กลาวไววา

พัฒนาการของเด็กเกิดจากการท่ีคนมีปฏิสัมพันธกับคนอ่ืนท่ีมีพัฒนาการสูงกวาไมวาจะเปนเพ่ือนหรือ

ผูใหญ การท่ีครูใชแนวทางของ ไวกอตสก้ี ในการพัฒนา การคิด ครูควรจัดสถานการณการเรียนรู

Page 94: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

82

โดยใหบริบททางสังคมมีปฏิสัมพันธโดยตรงกับเด็ก โดยท่ีบุคคลรอบตัวเด็กชวยแนะนําการคิดในขณะท่ี

ผูเรียนไมสามารถคิดแกปญหาไดแตก็สามารถเรียนรูได ถาไดทําบอยๆ ตอไปก็จะสามารถแกปญหา และ

ทํากิจกรรมหรืองานไดเอง ซ่ึงท้ังหมดนี้เปนวิธีพัฒนาผูเรียนจากระดับท่ีเขาเปนอยูไปสูระดับที่เขามี

ศักยภาพ นอกจากนี้การเรียนรูเปนสิ่งท่ีเก่ียวพันโดยตรงกับพัฒนาการของเด็กในการจัดประสบการณ

กิลฟอรด (Guilford; อางถึงใน อารี พันธมณี, 2545, หนา 35-41) กลาววา ความคิดเกิดจากสื่อสิ่งเรา

ท่ีสมองรับเขามาในกระบวนการทางความคิดแลวจึงแสดงออกมาเปนผลของการคิดรูปแบบตางๆ รวมท้ัง

ความคิดสรางสรรค ซ่ึงประกอบดวย 4 องคประกอบ ความคิดริเริ่ม (originality) ความคิดคลองตัว

(fluency) ความคิดยืดหยุน (flexibility) ความคิดละเอียดลออ (elaboration) ในการจัดประสบการณ

ตามพัฒนาการโดยเด็กตองไดรับประสบการณครบทุกองคประกอบ ดังนั้นการจัดประสบการณท่ีสงเสริม

ความคิดสรางสรรคจึงมีความจําเปนอยางยิ่งในการพัฒนาเด็ก ซ่ึงการจัดกิจกรรมครูเปนผูมีบทบาท

สําคัญมากในการสงเสริมความคิดสรางสรรคและสงเสริมความถนัดของเด็ก เปดโอกาสใหเด็กไดคิด

วางแผน ปฏิบัติและแสดงออกทางดานความคิดอยางอิสระ โดยครูเลือกกิจกรรมท่ีเหมาะสมเพ่ือกระตุน

และสงเสริมพัฒนาการความคิดสรางสรรคของเด็กแตละคน ในการจัดกิจกรรมจากวัสดุและอุปกรณ

ครูเปดโอกาสใหเด็กไดทําผลงานอยางอิสระและคอยดูแลเม่ือเด็กเกิดปญหา

ผลการวิจัยครั้งนี้ แสดงใหเห็นวาการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป สามารถ

พัฒนาความคิดสรางสรรคเด็กปฐมวัยสงผลใหเด็กปฐมวัยมีความคิดสรางสรางสรรคใหสูงข้ึน สอดคลอง

ตามสมติฐานท่ีต้ังไว ท้ังนี้ครูและผูเก่ียวของกับการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยสามารถใชชุดกิจกรรม

การเรียนรูดังกลาวจัดประสบการณเพ่ือสงเสริมความคิดสรางสรรคเด็กปฐมวัยได

5.3 ขอเสนอแนะ

5.3.1 ขอเสนอแนะท่ัวไป

1) เด็กมีความสนใจในการทําชุดกิจกรรมการปน การฉีก ตัด ปะ การประดิษฐสิ่งตางๆ

มีความสุขและสนุกกับการเลือกอุปกรณตามความสนใจ มีความคิดและจินตนาการของตนเอง

ในการสรางผลงานแตละชิ้น

2) การจัดประสบการณการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมเปนการเปดโอกาสใหเด็กไดใช

ความคิดและจินตนาการ เปนการสงเสริมเด็กใหมีพัฒนาการดานตางๆ ไดแก ดานรางกาย ดานการประสาน

สัมพันธระหวางมือกับตาในการหยิบจับวัสดุ ดานอารมณ มีความสุข สนุกสนานเกิดความภาคภูมิใจ

ในผลงานของตนเวลาท่ีออกมารายงานถึงผลงานของตนเอง ดานสังคม สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนได

รูจักการรอคอย การแบงปนวัสดุอุปกรณ ดานสติปญญา เกิดการเรียนรูผานกระบวน การคิดรูจัก

การวางแผน สามารถแกปญหาท่ีเกิดข้ึนไดดวยตนเอง ซ่ึงจะเปนพ้ืนฐานในการพัฒนาดานอ่ืนๆ ตอไป

Page 95: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

83

3) เด็กเกิดการเรียนรูในเรื่องตางๆ เชน ความปลอดภัยในการใชอุปกรณบางชนิด

การแบงปนวัสดุอุปกรณ การเก็บของเขาท่ีเม่ือทํากิจกรรมเสร็จแลว การรักษาความสะอาด การทํา

ผลงานใหเสร็จตามเวลาท่ีกําหนด เปนการสรางความมีระเบียบวินัยและความรับผิดชอบใหกับเด็ก

5.3.2 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป

1) ควรมีการศึกษาผลการจัดกิจกรรมตอความสามารถดานอ่ืนๆ เชน กลามเนื้อมือ

ความเชื่อม่ันในตนเอง พฤติกรรมในการทํางานรวมกับผูอ่ืน

2) ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคท่ีใชชุดกิจกรรมกับเด็กที่มี

ความตองการพิเศษ

รายการอางอิง

Page 96: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

84

รายการอางอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2534). ความคิดสรางสรรค หลักการ ทฤษฎี การเรียนการสอนการวัดผล

ประเมินผล. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว.

. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:

คุรุสภาลาดพราว.

กรมวิชาการ. (2546ก). คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ:

คุรุสภาลาดพราว.

. (2546ข). คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 (สําหรับเด็กอายุ 3-5 ป).

กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว.

กรองชนก ทองงาม. (2546). กรณีศึกษาผลสัมฤทธิ์การวาดภาพระบายสีดานความคิดนามธรรมและ

ความคิดสรางสรรค จากการเรียนดวยชุดกิจกรรมวาดภาพระบายสีของนักเรียนท่ีบกพรอง

ทางการไดยิน. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย

Page 97: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

85

มหาวิทยาลัยบูรพา.

กาญจนา สองแสน. (2551). ผลการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยท่ีมีตอความคิดสรางสรรคสําหรับ

เด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กิติยา เกาเอ้ียน. (2551). ผลของการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคโดยใชแนวคิดของวิลเลี่ยมท่ีมีตอ

ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา

การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทรนครศรีธรรมราช.

กิดานันท มลิทอง. (2546). เทคโนโลยีการศึกษา: สือ่การเรยีนการสอน. กรุงเทพฯ: ศูนยพัฒนา

หนังสือกรมวิชาการ.

จักรพงศ สุวรรณรัศมี. (2553). คูมือการจัดกิจกรรมสรางสรรค: ศิลปะเด็กปฐมวัย. สํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาชลบุรี เขต 3.

ชนาธิป พรกุล. (2543). แคทสรูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีผูเรียนเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ชัยยงค พรหมวงศ. (2537). ชุดการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา ในเอกสารการสอนชุดวิชา

สื่อการสอนระดับประถมศึกษา หนวยท่ี 8-15. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชาญชัย อินทรสุนานันท. (2538). ศูนยการเรียนและชดุการสอน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลย ี

ทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ฌานิกา จงบุรี. (2551). ผลของการจัดประสบการณแบบโครงการท่ีมีตอความคิดสรางสรรคของ

เด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียน

การสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทรนครศรีธรรมราช

ดวงพร พิทักษวงศ. (2546). การสรางชุดกิจกรรมศิลปะเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค สําหรับ

เด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

บุญเก้ือ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมทางการศึกษา (พิมพครั้งท่ี 4). กรุงเทพฯ: ภาควิชา

เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญชม ศรีสะอาด. (2541). การพัฒนาการสอน (พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.

บุศรา จิตวรรณา. (2551). การพัฒนาความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียนชวงชั้นท่ี 4

ท่ีมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร โดยใชชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรสรางสรรค.

การศึกษาคนควาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ประอร อิศรเสนา ณ อยุธยา. (2542). การสอนแบบไฮ–สโคป. วารสารปฐมวัย

Page 98: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

86

ผองพรรณ แกวหลา. (2551). การใชชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคเพ่ือสงเสริมการเขียน

สรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 5. การศึกษาคนควาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

พจนีย เชื้อบัณฑิต. (2554). ความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดกิจกรรมศิลปประดิษฐ

ดวยกระดาษ. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พิมพิกา คงรุงเรือง. (2542). การศึกษาลักษณะพฤติกรรมความเชื่อม่ันในตนเองของเด็กปฐมวัย

ท่ีไดรับการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวตามแกนแหงการเรียนรูของไฮ-สโคป. ปริญญานิพนธ

การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ.

พัชร ีผลโยธิน. (2543). การเรียนรูของเด็กปฐมวัย ตามแนวคิดไฮ-สโคป. กรุงเทพฯ: อัมรนิทร

พริ้นติ้งแอนดพับพิชชิ่ง.

พันธิตรา เกาะสุวรรณ. (2546). ผลการเรียนรูแบบไฮ-โคป ท่ีมีตอความคิดสรางสรรคของนักเรียน

ชั้นอนุบาลปท่ี 2 โรงเรียนเปรมประชาวัฒนา อําเภอบางใหญ จังหวัดนนทบุรี. สารนิพนธ

การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พวงรัตน ทวีรัตน. (2540). วิธีการทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร (พิมพครั้งท่ี 7). กรุงเทพฯ:

สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท. (2536). จิตวิทยาการเรียนรูของเด็ก. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.

เยาวพา เดชะคุปต. (2542). การจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแม็ค.

มัณฑณี คัมภรีพงศ. (2549). ผลการเรียนรูตามแนวคิดวิลเลี่ยมสท่ีมีตอความคิดสรางสรรคทางศิลปะ

ของนักเรียนชั้นอนุบาลปท่ี 2 ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา

จิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รัตนะ บัวสนธ. (2552). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั.

ลัดดา สุขปรีดี. (2543). เทคโนโลยีการเรียนการสอน (พิมพครั้งท่ี 5). ชลบุร:ี ภาควิชาเทคโนโลยี

ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา.

ลวน สายยศ. (2541). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (พิมพครั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ: สุริยสาสน.

วิลาวัลย สิงเคา. (2552). การใชชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตรข้ันพ้ืนฐาน สําหรับ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร

และการสอน มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

Page 99: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

87

วิไล แพงศรี. (2547). การพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรูของนักศึกษาระดับปริญญาตรีดวย

กระบวนการวจิัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาศึกษา.

วรนาท รักสกุลไทย. (2530). การเปรียบเทียบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 3 แบบ-รายงาน

การวิจัยของมูลนิธิการศึกษา ไฮ–สโคป. มิชิแกน อนุสรนในงานฌาปนกิจ.

วราภรณ รักวิจัย. (2535). การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย. กรุงเทพ: ตนออ.

วศิน ีอิศรเสนา ณ อยุธยา. (2545). การศึกษาความคิดสรางสรรคท่ีไดรับการจัดกิจประสบการณ

วางแผน ปฏิบัติ ทบทวน ตามแนวการสอนแบบไฮ-สโคป ของนักเรยีนชั้นเด็กเล็ก โรงเรียน

สาธิต มศว. ประสานมิตร ฝายประถม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศาลินา อนถาวร. (2544). การสรางชุดกิจกรรมท่ีพัฒนารับรูทางภาษา สําหรับเด็กปฐมวัย.

ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศิรปิระภาพรรณ ตุมวิจิตร. (2552). การศึกษาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัยจากการจัดกิจกรรม

ศิลปะการปะติดดอกไมแหง. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศิรินทิพย คําพุทธ. (2548). ทําการศึกษาการสรางชุดกิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตรแบบ STAD

เรื่องแบบรูปและความสัมพันธ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2. สารนิพนธการศึกษามหาบัณฑิต

สาขาวิชาการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวรรณา กอนทอง. (2547). ผลการจัดกิจกรรมประกอบเสียงดนตรีคลาสสิคท่ีมีตอความคิดสรางสรรค

สําหรับเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา. (2545). วิธีการจัดการเรียนรู: เพ่ือพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

คานิยม และการเรียนรูโดยการแสวงหาความรูดวยตนเอง. กรุงเทพ: ภาพพิมพ

แสงเดือน ทวีสิน. (2545). จิตวิทยาการศึกษา (พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: ไทเส็ง.

อภิสิทธิ์ กัมพลาวลี. (2547). ผลของการฝกกิจกรรมตอเติมผลงานจากสิ่งเราท่ีไมสมบูรณ ตามแนวคิด

ของทอแรนซท่ีมีความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นอนุบาลปท่ี 2. ปริญญานิพนธ

การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ.

อมรรัตน จรัสอรุณฉาย. (2549). การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะความคิดสรางสรรคสําหรับ

เด็กปฐมวัยโดยใชการเรียนรูแบบไฮ-สโคป. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา

หลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

อัมพร บุญเสริมสุข. (2547). การสรางชุดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคทางวิทยาศาสตร

Page 100: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

88

สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 อําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ

การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา.

อารี พันธมณี. (2545). ฝกใหคิดเปนคิดใหสรางสรรค. กรุงเทพฯ: ใยไหม

. (2546). จิตวิทยาสรางสรรคการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ใยไหม เอดยูเคท

อารี รังสินันท. (2526). ความคิดสรางสรรค. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ ประสานมิตร

Good, C.V. (1973). Dictionary of education (3 rd ed). New York: McGraw Hill

Hohmann, M. & Weikart, D. P. (1995). Education young children. Ypsilant:

High/Scope Press.

Kapfer, P.G.,& Mirian, B.K. (1972). Learning package in American education.

Englewood Cliffs, N.T.: Education Technology Publication.

Schweinhart, J. L. (1997). Child- Initiated activity how important is early childhood

education. High/Scope Resesource. U.S.A. Spring/Summer.

Page 101: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

77

ภาคผนวก

Page 102: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

78

ภาคผนวก ก 1. รายชื่อผูเชี่ยวชาญ

2. สําเนาหนังสือขอความอนุเคราะหในการตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่องมือ

เพ่ือการวิจัย

Page 103: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

79

รายช่ือผูเช่ียวชาญ

1. ดร.พอเจตน ธรรมศิริขวัญ อาจารยประจําคณะครุศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและการสอน

2. นายธรรมนูญ ถือพุทรา รองผูอํานวยการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ผูเชี่ยวชาญดานการวัดและประเมินผลการศึกษา

3. นายธวัธชัย เผาสามมุข ผูอํานวยการโรงเรียนวัดหัวคู

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู

4. ดร.ลลิดา ธรรมบุตร ศึกษานิเทศกชํานาญการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรและการสอน 5. นางสาวพัฒนชญา ทองแสม ศึกษานิเทศกชํานาญการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2

ผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาปฐมวัย

Page 104: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

80

Page 105: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

81

80

Page 106: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

82

Page 107: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

83

Page 108: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

84

Page 109: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

85

ภาคผนวก ข 1. ตารางแสดงการประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมท่ี 1-3 โดยผูเชี่ยวชาญ

จํานวน 5 ทาน

2. ตารางแสดงการประเมินความเหมาะสมแบบทดสอบ โดยผูเชี่ยวชาญ

จํานวน 5 ทาน

3. ตารางการบันทึกคะแนนความคิดสรางสรรคของแบบทดสอบ

Page 110: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

86

การประเมินความเหมาะสมโดยผูเช่ียวชาญ

ของชุดกิจกรรมท่ี 1 จินตนาการดวยการปน

รายการประเมิน

ผูเช่ียวชาญ

เฉล่ีย สรุปผล

เหมาะสม คนท่ี

1

คนท่ี

2

คนท่ี

3

คนท่ี

4

คนท่ี

5

จุดประสงคการเรียนรู

1. สามารถพัฒนาความคิด

สรางสรรคได

5 4 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. มีความเหมาะสมกับเวลา 4 4 5 4 4 4.20 เหมาะสม มาก

3. สามารถวัดและประเมินผลได 4 4 4 5 5 4.40 เหมาะสม มาก

สาระการเรียนรู/เนื้อหา

1. ความเหมาะสมกับจุดประสงค

ของการเรียนรู

5 5 5 5 4 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับความตองการ

และความสามารถของผูเรียน

4 4 4 4 5 4.20 เหมาะสม มาก

3. ความเหมาะสมกับเวลา 4 5 5 5 4 4.60 เหมาะสม มากท่ีสุด

4. ความชัดเจนและเราความสนใจ 5 4 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม

1. ความเหมาะสมกับจุดประสงค

การเรียนรู

5 5 4 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ

การเรียนรู

5 4 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

3. ความเหมาะสมกับความตองการ

ความสามารถและวัยของผูเรียน

4 4 5 5 4 4.40 เหมาะสม มาก

4. ความเหมาะสมของระยะเวลา 4 3 4 4 5 4.00 เหมาะสม มาก

Page 111: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

87

ในการดําเนินกิจกรรม

5. การจัดกิจกรรมสามารถสงเสริม

ความคิดสรางสรรคได

5 4 4 5 5 4.60 เหมาะสม มากท่ีสุด

6. การจดักิจกรรมเนนกระบวนการ

ตามแนวคิดไฮ–สโคป

5 4 5 5 4 4.60 เหมาะสม มากท่ีสุด

รายการประเมิน

ผูเช่ียวชาญ

เฉล่ีย สรุปผล คนท่ี

1

คนท่ี

2

คนท่ี

3

คนท่ี

4

คนท่ี

5

ดานสื่อการเรียนการสอน

1. สื่อท่ีใชมีความเหมาะสมกับ

จุดประสงคการเรียนรู

4 5 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. สื่อมีความเหมาะสมกับเนื้อหา/

สาระการเรยีนรู

4 4 4 5 4 4.20 เหมาะสม มาก

3. สื่อเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 5 5 4 5 4.60 เหมาะสม มากท่ีสุด

4. สื่อนาสนใจ และชวยในการ

เรียนรู

4 5 4 5 4 4.40 เหมาะสม มาก

ดานการวัดและประเมินผล

1. ความเหมาะสมกับ

วัตถุประสงคการเรียนรู

4 5 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับ

ความสามารถของผูเรียน

4 4 4 5 5 4.40 เหมาะสม มาก

3. ความเหมาะสมกับการจัด

กิจกรรมการเรยีนรู

4 4 5 4 4 4.20 เหมาะสม มาก

4. ใชเครื่องมือวัดผลได

อยางเหมาะสม

4 5 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

เฉลี่ย 4.53 เหมาะสมมากท่ีสุด

Page 112: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

88

การประเมินความเหมาะสมโดยผูเช่ียวชาญ

ของชุดกิจกรรมท่ี 2 การฉีก ตัด ปะ

รายการประเมิน

ผูเช่ียวชาญ

เฉล่ีย สรุปผล

เหมาะสม คนท่ี

1

คนท่ี

2

คนท่ี

3

คนท่ี

4

คนท่ี

5

จุดประสงคการเรียนรู

1. สามารถพัฒนาความคิด

สรางสรรคได

4 5 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. มีความเหมาะสมกับเวลา 4 4 4 4 4 4.00 เหมาะสม มาก

3. สามารถวัดและประเมินผลได 4 5 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

สาระการเรียนรู/เนื้อหา

1. ความเหมาะสมกับจุดประสงค

ของการเรียนรู

5 4 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับความตองการ

และความสามารถของผูเรียน

4 5 4 4 4 4.20 เหมาะสม มาก

3. ความเหมาะสมกับเวลา 4 4 5 5 5 4.60 เหมาะสม มากท่ีสุด

Page 113: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

89

4. ความชัดเจนและเราความสนใจ 4 5 5 4 4 4.40 เหมาะสม มาก

ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม

1. ความเหมาะสมกับจุดประสงค

การเรียนรู

5 5 4 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ

การเรียนรู

5 5 4 4 4 4.40 เหมาะสม มาก

3. ความเหมาะสมกับความตองการ

ความสามารถและวัยของผูเรียน

4 4 5 4 5 4.40 เหมาะสม มาก

4. ความเหมาะสมของระยะเวลา

ในการดําเนินกิจกรรม

5 5 5 5 5 5.00 เหมาะสม มากท่ีสุด

5. การจัดกิจกรรมสามารถสงเสริม

ความคิดสรางสรรคได

4 5 4 4 5 4.40 เหมาะสม มากท่ีสุด

6. การจดักิจกรรมเนนกระบวนการ

ตามแนวคิดไฮ–สโคป

5 5 5 5 4 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

รายการประเมิน

ผูเช่ียวชาญ

เฉล่ีย สรุปผล คนท่ี

1

คนท่ี

2

คนท่ี

3

คนท่ี

4

คนท่ี

5

ดานสื่อการเรียนการสอน

1. สื่อท่ีใชมีความเหมาะสมกับ

จุดประสงคการเรียนรู

5 4 4 4 5 4.40 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. สื่อมีความเหมาะสมกับเนื้อหา/

สาระการเรยีนรู

5 5 5 5 4 4.80 เหมาะสม มาก

3. สื่อเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 4 4 4 5 4.40 เหมาะสม มากท่ีสุด

4. สื่อนาสนใจ และชวยในการ

เรียนรู

4 5 5 5 4 4.40 เหมาะสม มาก

ดานการวัดและประเมินผล

Page 114: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

90 1. ความเหมาะสมกับ

วัตถุประสงคการเรียนรู

5 5 4 4 5 4.60 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับ

ความสามารถของผูเรยีน

4 4 4 5 4 4.20 เหมาะสม มาก

3. ความเหมาะสมกับการจัด

กิจกรรมการเรียนรู

5 5 5 4 5 4.80 เหมาะสม มาก

4. ใชเครื่องมือวัดผลได

อยางเหมาะสม

5 5 5 4 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

เฉลี่ย 4.56 เหมาะสมมากท่ีสุด

การประเมินความเหมาะสมโดยผูเช่ียวชาญ

ของชุดกิจกรรมท่ี 3 จินตนาการดวยการปน สรรคสรางดวยมือเรา

รายการประเมิน

ผูเช่ียวชาญ

เฉล่ีย สรุปผล

เหมาะสม คนท่ี

1

คนท่ี

2

คนท่ี

3

คนท่ี

4

คนท่ี

5

จุดประสงคการเรียนรู

Page 115: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

91

1. สามารถพัฒนาความคิด

สรางสรรคได

5 4 5 5 4 4.60 เหมาะสม มากท่ีสดุ

2. มีความเหมาะสมกับเวลา 4 5 4 4 5 4.40 เหมาะสม มาก

3. สามารถวัดและประเมินผลได 5 4 5 5 4 4.60 เหมาะสม มากท่ีสุด

สาระการเรียนรู/เนื้อหา

1. ความเหมาะสมกับจุดประสงค

ของการเรียนรู

5 4 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับความตองการ

และความสามารถของผูเรียน

4 4 4 5 5 4.40 เหมาะสม มาก

3. ความเหมาะสมกับเวลา 4 4 4 5 4 4.20 เหมาะสม มากท่ีสุด

4. ความชัดเจนและเราความสนใจ 5 5 5 5 5 5.00 เหมาะสม มาก

ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม

1. ความเหมาะสมกับจุดประสงค

การเรียนรู

5 5 5 4 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ

การเรียนรู

4 5 5 5 4 4.60 เหมาะสม มาก

3. ความเหมาะสมกับความตองการ

ความสามารถและวัยของผูเรียน

4 4 5 5 5 4.60 เหมาะสม มาก

4. ความเหมาะสมของระยะเวลา

ในการดําเนินกิจกรรม

5 5 4 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

5. การจัดกิจกรรมสามารถสงเสริม

ความคิดสรางสรรคได

4 4 5 4 4 4.20 เหมาะสม มากท่ีสุด

6. การจดักิจกรรมเนนกระบวน

การตามแนวคิดไฮ–สโคป

4 5 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

รายการประเมิน ผูเช่ียวชาญ

เฉล่ีย สรุปผล คนท่ี คนท่ี คนท่ี คนท่ี คนท่ี

Page 116: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

92

1 2 3 4 5

ดานสือ่การเรียนการสอน

1. สื่อท่ีใชมีความเหมาะสมกับ

จุดประสงคการเรียนรู

5 5 4 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. สื่อมีความเหมาะสมกับเนื้อหา/

สาระการเรยีนรู

4 5 5 5 5 4.80 เหมาะสม มาก

3. สื่อเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4 5 5 5 5 4.80 เหมาะสม มากท่ีสุด

4. สื่อนาสนใจ และชวยในการ

เรียนรู

5 4 5 4 4 4.60 เหมาะสม มาก

ดานการวัดและประเมินผล

1. ความเหมาะสมกับ

วัตถุประสงคการเรียนรู

5 5 5 5 5 5.00 เหมาะสม มากท่ีสุด

2. ความเหมาะสมกับ

ความสามารถของผูเรียน

4 5 4 4 4 4.20 เหมาะสม มาก

3. ความเหมาะสมกับการจัด

กิจกรรมการเรยีนรู

4 4 4 5 5 4.60 เหมาะสม มาก

4. ใชเครื่องมือวัดผลไดอยาง

เหมาะสม

5 5 5 5 5 5.00 เหมาะสม มากท่ีสุด

เฉลี่ย 4.60 เหมาะสมมากท่ีสุด

Page 117: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

93

ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย จํานวน 12 ชุดกิจกรรม

(ข้ันท่ี 3 ปฏิบัติจริง)

เลข

ท่ี

ชุดกิจกรรม

ท่ี 1 ท่ี 2 ท่ี 3 ท่ี 4 ท่ี 5 ท่ี 6 ท่ี 7 ท่ี 8 ท่ี 9 ท่ี 10 ท่ี 11 ท่ี 12

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

144

คะแนน

1 9 11 9 10 12 10 9 11 10 10 10 10 121

2 10 11 9 10 9 10 9 11 10 10 10 9 118

3 11 10 9 11 10 11 11 10 9 9 10 11 122

4 11 9 10 10 9 11 10 12 9 10 10 9 120

5 9 9 11 11 9 10 12 11 11 9 10 9 121

6 9 11 11 11 9 11 9 12 9 10 10 9 121

7 9 12 10 9 9 12 9 11 11 9 10 9 120

8 9 11 10 10 11 12 9 11 11 9 10 9 122

9 9 11 10 9 11 9 11 11 9 9 10 9 118

10 10 11 10 10 9 11 9 11 9 9 9 10 118

11 9 9 10 9 9 12 9 11 9 9 10 10 116

12 9 10 11 9 9 11 9 11 10 11 10 9 119

13 9 12 10 9 9 11 11 12 11 10 10 9 123

14 10 12 11 9 10 10 12 11 10 9 10 9 123

15 10 12 10 11 9 10 9 11 9 9 10 10 120

16 10 11 12 10 9 11 9 12 9 10 10 9 122

17 9 9 9 10 10 11 9 11 9 9 10 9 115

18 7 12 10 11 9 12 9 12 11 9 10 9 121

19 12 11 10 10 9 12 9 11 12 9 10 9 124

20 9 12 10 9 9 11 9 11 10 10 10 10 120

รวม 190 216 202 198 190 218 193 224 198 189 199 187 2404

Page 118: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

94

เฉลี่ย 9.50 10.80 10.10 9.90 9.50 10.90 9.65 11.20 9.90 9.45 9.95 9.35 120.20

E1 79.17 90.00 84.17 82.50 79.17 90.83 80.42 93.33 82.50 78.75 82.92 77.92 83.47

ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย (E1) = 83.47

ประสิทธิภาพของผลการเรียนดวยชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

(ข้ันท่ี 3 ปฏิบัติจริง)

เลขท่ี กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมท่ี 3

รวม (36) คะแนนเต็ม 12 คะแนนเต็ม 12 คะแนนเต็ม 12

1 10 12 10 32

2 11 12 10 33

3 11 12 11 34

4 10 11 9 30

5 9 10 9 28

6 10 12 10 32

7 12 10 11 33

8 9 12 11 32

9 9 12 10 31

10 11 11 10 32

11 11 12 10 33

12 11 12 10 33

13 10 10 10 30

14 9 10 11 30

15 9 12 10 31

16 10 10 9 29

17 9 11 11 31

18 10 11 10 31

Page 119: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

95

19 10 12 10 32

20 10 11 10 31

รวม 201 225 202 628

เฉลี่ย 10.05 11.25 10.10 31.40

E2 83.75 93.75 84.17 87.22 ประสิทธิภาพของผลการเรียนดวยชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย (E2) = 87.22

แสดงประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย จํานวน 12 ชดุกิจกรรม

เลข

ท่ี

ชุดกิจกรรม

ท่ี 1 ท่ี 2 ท่ี 3 ท่ี 4 ท่ี 5 ท่ี 6 ท่ี 7 ท่ี 8 ท่ี 9 ท่ี 10 ท่ี 11 ท่ี 12

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

(12)

คะแนน

144

คะแนน

1 9 11 9 10 12 10 9 11 10 10 10 10 121

2 10 11 9 10 9 10 9 11 10 10 10 9 118

3 11 10 9 11 10 11 11 10 9 9 10 11 122

4 11 9 10 11 9 11 10 12 9 10 10 9 121

5 9 9 11 11 9 11 12 11 11 9 10 9 122

6 9 11 11 11 9 11 9 12 9 10 10 9 121

7 9 12 10 9 9 12 9 12 11 9 10 9 121

8 9 11 10 10 11 12 9 11 11 9 10 9 122

9 9 11 10 9 11 9 11 11 9 9 10 9 118

10 10 11 10 10 9 11 9 11 9 9 10 10 119

11 9 9 10 9 9 12 9 11 9 9 10 10 116

12 9 10 11 9 9 11 9 11 10 11 10 9 119

13 9 12 10 9 9 11 11 12 11 10 10 10 124

Page 120: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

96

14 10 12 11 9 10 10 12 11 10 9 10 9 123

15 10 12 10 11 9 10 9 11 9 9 10 10 120

16 10 11 12 10 9 11 9 12 9 10 10 9 122

17 9 9 9 10 10 12 9 11 9 9 10 9 116

18 7 12 10 11 9 12 9 12 11 9 10 9 121

19 12 11 10 10 9 12 9 11 12 9 10 9 124

20 9 12 10 9 9 11 9 11 10 10 10 10 120

รวม 190 216 202 199 190 220 193 225 198 189 200 188 2410

เฉล่ีย 9.50 10.80 10.10 9.95 9.50 11.00 9.65 11.25 9.90 9.45 10.00 9.40 120.5

E1 79.17 90.00 84.17 82.92 79.17 91.67 80.42 93.75 82.50 78.75 83.33 78.33 83.68

ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย (E1) = 83.68

แสดงคะแนนประสิทธิภาพของผลการเรียนดวยชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย

เลขท่ี กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมท่ี 3

รวม (36) คะแนนเต็ม 12 คะแนนเต็ม 12 คะแนนเต็ม 12

1 10 12 10 32

2 11 12 10 33

3 12 12 11 35

4 10 11 9 30

5 9 10 9 28

6 10 12 10 32

7 12 12 11 35

8 9 12 12 33

9 9 12 10 31

10 12 11 10 33

Page 121: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

97

11 11 12 10 33

12 11 12 11 34

13 10 10 10 30

14 9 12 11 32

15 9 12 10 31

16 10 10 9 29

17 9 11 11 31

18 10 11 10 31

19 10 12 10 32

20 10 11 10 31

รวม 203 229 204 636

เฉลี่ย 10.15 11.45 10.20 31.40

E2 84.58 95.42 85.00 88.33 ประสิทธิภาพของผลการเรียนดวยชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดสรางสรรคของเด็กปฐมวัย (E2) = 88.33 แบบประเมินความเหมาะสมของแบบทดสอบโดยผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

ผูเช่ียวชาญ

เฉล่ีย

สรุปผล คนท่ี

1

คนท่ี

2

คนท่ี

3

คนท่ี

4

คนท่ี

5

แบบทดสอบชุดท่ี 1

1. คําชี้แจงมีความชัดเจน

2. คําชี้แจงใชภาษาเขาใจงาย

3. ภาพประกอบเหมาะสม

4. เกณฑการใหคะแนนเหมาะสม

5

5

4

4

4

4

4

4

5

5

4

4

4

4

5

5

4

4

5

5

4.40

4.40

4.40

4.40

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

Page 122: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

98

5. ระยะเวลาเหมาะสม

5 4 4 5 5 4.60 เหมาะสมมากท่ีสุด

รวมเฉลี่ย 4.44 เหมาะสมมาก

แบบทดสอบชุดท่ี 2

1. คําชี้แจงมีความชัดเจน

2. คําชี้แจงใชภาษาเขาใจงาย

3. ภาพประกอบเหมาะสม

4. เกณฑการใหคะแนนเหมาะสม

5. ระยะเวลาเหมาะสม

5

5

3

5

4

5

4

4

4

4

5

5

5

4

4

4

4

4

5

5

4

4

4

4

5

4.60

4.40

4.00

4.40

4.40

เหมาะสมมากท่ีสุด

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

รวมเฉลี่ย 4.36 เหมาะสมมาก

แบบทดสอบชุดท่ี 3

1. คําชี้แจงมีความชัดเจน

2. คําชี้แจงใชภาษาเขาใจงาย

3. ภาพประกอบเหมาะสม

4. เกณฑการใหคะแนนเหมาะสม

5. ระยะเวลาเหมาะสม

4

4

5

5

4

5

4

5

5

4

4

4

5

5

4

4

5

5

5

5

5

5

5

4

4

4.40

4.40

5.00

4.80

4.20

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมาก

เหมาะสมมากท่ีสุด

เหมาะสมมากท่ีสุด

เหมาะสมมาก

รวมเฉลี่ย 4.56 เหมาะสมมากท่ีสุด

รวมเฉลี่ยแบบทดสอบ 3 ชุด 4.45 เหมาะสมมาก

เกณฑความเหมาะสม 5 ระดับ ไดแก

4.51 - 5.00 เหมาะสม มากท่ีสุด

3.51 - 4.50 เหมาะสม มาก

2.51 - 3.50 เหมาะสม ปานกลาง

1.51 - 2.50 เหมาะสม นอย

1.00 - 1.50 เหมาะสม นอยท่ีสุด

ตารางคะแนนการสังเกตโดยผูวิจัยและผูชวยวิจัย

เลขท่ี คะแนน (พฤติกรรมท่ีสังเกต)

ผูวิจัย ผูชวยวิจัย

Page 123: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

99

1 32 31

2 27 27

3 28 28

4 28 28

5 32 30

6 27 27

7 33 33

8 30 30

9 28 27

10 31 31

11 23 23

12 30 29

13 30 30

14 34 34

15 29 29

∑ x = 442 ∑ y = 437

ความเชื่อม่ันของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคโดยผูวิจัยและผูชวยวิจัย r = 0.98

แบบบันทึกดานความคิดสรางสรรค (กอนเรียน)

Page 124: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

100

กิจกรรมชุดที่ 1 วาดภาพ

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค รวมเฉลี่ย

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1 2 2 1 1 1.50

2 1 1 1 1 1.00

3 1 1 2 1 1.25

4 1 2 2 1 1.50

5 2 1 1 1 1.25

6 1 1 1 1 1.00

7 2 2 1 2 1.75

8 1 1 2 1 1.25

9 2 1 1 2 1.50

10 1 1 2 1 1.25

11 1 1 1 1 1.00

12 2 1 1 1 1.25

13 2 1 1 1 1.25

14 2 1 1 1 1.25

15 1 1 1 2 1.25

16 2 1 1 1 1.25

17 1 1 1 1 1.00

18 1 1 2 1 1.25

19 1 1 1 1 1.00

20 2 1 1 1 1.25

X 1.45 1.15 1.25 1.15 1.25

S.D. 0.50 0.37 0.43 0.36 0.42

Page 125: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

101

แบบบันทึกแบบดานความคิดสรางสรรค (กอนเรียน)

กิจกรรมชุดที่ 2 การตอเติมภาพใหสมบูรณ

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค รวมเฉลี่ย

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1 1 2 1 1 1.25

2 1 1 1 1 1.00

3 1 1 2 1 1.25

4 1 2 1 1 1.25

5 1 1 2 1 1.25

6 1 1 1 1 1.00

7 2 1 1 1 1.25

8 1 2 1 2 1.50

9 1 1 2 1 1.25

10 1 2 1 1 1.25

11 2 1 1 1 1.25

12 1 1 1 1 1.00

13 2 1 1 1 1.25

14 1 1 2 1 1.25

15 2 2 1 1 1.50

16 1 1 2 1 1.25

17 1 2 1 1 1.25

18 2 1 1 1 1.25

19 1 1 1 1 1.00

20 2 1 1 1 1.25

Page 126: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

102

X 1.30 1.30 1.25 1.05 1.23

S.D. 0.46 0.46 0.43 0.22 0.39

แบบบันทึกแบบดานความคิดสรางสรรค (กอนเรียน)

กิจกรรมชุดที่ 3 การฉีก ตัด ปะ

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค รวมเฉลี่ย

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1 1 1 1 1 1.00

2 1 1 1 1 1.00

3 1 1 2 1 1.25

4 1 1 2 2 1.50

5 1 2 1 1 1.25

6 1 1 1 1 1.00

7 1 1 2 1 1.25

8 1 1 1 1 1.00

9 1 2 1 1 1.25

10 1 1 1 1 1.00

11 1 1 1 2 1.25

12 2 1 1 1 1.25

13 1 1 1 1 1.00

14 1 1 1 1 1.00

15 1 1 1 1 1.00

16 1 1 1 1 1.00

Page 127: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

103

17 1 1 2 1 1.25

18 1 1 1 1 1.00

19 2 1 1 1 1.25

20 1 1 1 1 1.00

X 1.10 1.10 1.20 1.10 1.14

S.D. 0.30 0.30 0.40 0.30 0.33

แบบบันทึกแบบดานความคิดสรางสรรค (กอนเรียน)

รวม 3 ชุดกิจกรรม

เลขท่ี กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมท่ี 3 รวมเฉลี่ย

1 1.50 1.25 1.00 1.58

2 1.00 1.00 1.00 1.50

3 1.25 1.25 1.25 1.58

4 1.50 1.25 1.50 1.58

5 1.25 1.25 1.25 1.50

6 1.00 1.00 1.00 1.75

7 1.75 1.25 1.25 1.92

8 1.25 1.50 1.00 1.67

9 1.50 1.25 1.25 1.42

10 1.25 1.25 1.00 1.58

11 1.00 1.25 1.25 1.83

12 1.25 1.00 1.25 1.75

Page 128: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

104

13 1.25 1.25 1.00 1.75

14 1.25 1.25 1.00 1.33

15 1.25 1.50 1.00 1.67

16 1.25 1.25 1.00 1.50

17 1.00 1.25 1.25 1.50

18 1.25 1.25 1.00 1.42

19 1.00 1.00 1.25 1.17

20 1.25 1.25 1.00 1.58

X 1.25 1.23 1.13 1.58

S.D. 0.20 0.39 0.15 0.18

แบบบันทึกดานความคิดสรางสรรค (หลังเรียน)

กิจกรรมชุดที่ 1 วาดภาพ

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค รวมเฉลี่ย

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1 3 2 2 3 2.50

2 3 2 3 3 2.75

3 3 3 3 3 3.00

4 3 2 2 3 2.50

5 3 2 2 2 2.25

6 3 2 3 2 2.50

Page 129: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

105

7 3 3 3 3 3.00

8 2 2 2 3 2.25

9 3 2 2 2 2.25

10 3 3 3 3 3.00

11 3 3 2 3 2.75

12 3 3 2 3 2.75

13 3 2 2 3 2.50

14 3 2 2 2 2.25

15 2 2 3 2 2.25

16 3 2 3 2 2.50

17 3 2 2 2 2.25

18 3 2 2 3 2.50

19 3 2 2 2 2.25

20 3 2 2 2 2.25

X 2.90 2.25 2.35 2.55 2.51

S.D. 0.31 0.44 0.49 0.51 0.27

แบบบันทึกแบบดานความคิดสรางสรรค (หลังเรียน)

กิจกรรมชุดที่ 2 การตอเติมภาพใหสมบูรณ

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค รวมเฉลี่ย

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1 3 3 3 3 3.00

Page 130: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

106

2 3 3 3 3 3.00

3 3 3 3 3 3.00

4 2 3 3 3 2.75

5 3 2 2 3 2.50

6 3 3 3 3 3.00

7 3 3 3 3 3.00

8 3 3 3 3 3.00

9 3 3 3 3 3.00

10 2 3 3 3 2.75

11 3 3 3 3 3.00

12 3 3 3 3 3.00

13 3 3 2 2 2.50

14 3 3 3 3 3.00

15 3 3 3 3 3.00

16 2 3 3 2 2.50

17 3 3 3 2 2.75

18 3 3 2 3 2.75

19 3 3 3 3 3.00

20 3 3 3 2 2.75

X 2.85 2.95 2.85 2.80 2.86

S.D. 0.37 0.22 0.37 0.41 0.19

แบบบันทึกแบบดานความคิดสรางสรรค (หลังเรียน)

Page 131: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

107

กิจกรรมชุดที่ 3 การฉีก ตัด ปะ

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค รวมเฉลี่ย

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1 3 2 2 3 2.50

2 3 2 3 2 2.50

3 3 3 2 3 2.75

4 2 2 2 3 2.25

5 3 2 2 2 2.25

6 3 2 3 2 2.50

7 3 2 3 3 2.75

8 3 3 3 3 3.00

9 3 2 2 3 2.50

10 3 2 3 2 2.50

11 2 2 3 3 2.50

12 3 2 3 3 2.75

13 3 2 3 2 2.50

14 3 2 3 3 2.75

15 3 3 2 2 2.50

16 2 2 3 2 2.25

17 3 3 2 3 2.75

18 3 2 3 2 2.50

19 3 3 2 2 2.50

20 3 3 2 2 2.50

X 2.85 2.30 2.55 2.50 2.55

S.D. 0.37 0.47 0.51 0.52 0.15

Page 132: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

108

แบบบันทึกแบบดานความคิดสรางสรรค (หลังเรียน)

รวม 3 ชุดกิจกรรม

เลขท่ี กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมท่ี 3 รวมเฉลี่ย

1 2.50 3.00 2.50 2.67

2 2.75 3.00 2.50 2.75

3 3.00 3.00 2.75 2.92

4 2.50 2.75 2.25 2.50

5 2.25 2.50 2.25 2.33

6 2.50 3.00 2.50 2.67

7 3.00 3.00 2.75 2.92

8 2.25 3.00 3.00 2.75

9 2.25 3.00 2.50 2.58

10 3.00 2.75 2.50 2.75

11 2.75 3.00 2.50 2.75

12 2.75 3.00 2.75 2.83

13 2.50 2.50 2.50 2.50

14 2.25 3.00 2.75 2.67

15 2.25 3.00 2.50 2.58

16 2.50 2.50 2.25 2.42

17 2.25 2.75 2.75 2.58

18 2.50 2.75 2.50 2.58

19 2.25 3.00 2.50 2.58

20 2.25 2.75 2.50 2.50

X 2.55 2.51 2.86 2.64

S.D. 0.51 0.27 0.19 0.16

Page 133: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

109

ภาคผนวก ค 1. ตัวอยางชุดกิจกรรมการใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

2. ตัวอยางแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค

Page 134: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

110

คูมือการใช

เร่ือง การใชชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

จํานวน 3 ชุดกิจกรรม รวมทั้งหมด 12 แผนการจัดประสบการณ ไดแก

ชุดกิจกรรมที่ 1 ประกอบดวยจินตนาการดวยการปน

แผนการจัดประสบการณท่ี 1 เรื่อง การปนจากดินน้ํามัน

แผนการจัดประสบการณท่ี 2 เรื่อง การปนจากแปงขนมปง

แผนการจัดประสบการณท่ี 3 เรื่อง การปนจากแปงขาวเหนียว

แผนการจัดประสบการณท่ี 4 เรื่อง การปนจากแปงสาลี

ชุดกิจกรรมที่ 2 ประกอบดวยฉีก ตดั ปะ สรรคความคิด

แผนการจัดประสบการณท่ี 5 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษโปสเตอรสี

แผนการจัดประสบการณท่ี 6 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษอังกฤษ

Page 135: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

111

แผนการจัดประสบการณท่ี 7 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษหนังสือพิมพ

แผนการจัดประสบการณท่ี 8 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษหนังสือนิตยสาร

ชุดกิจกรรมที่ 3 ประกอบดวยสรรคสรางดวยมือเรา

แผนการจัดประสบการณท่ี 9 เรื่อง การประดิษฐจากถวยไอศกรีม

แผนการจัดประสบการณท่ี 10 เรื่อง การประดิษฐจากกลองนม

แผนการจัดประสบการณท่ี 11 เรื่อง การประดิษฐจากแกนกระดาษชําระ

แผนการจัดประสบการณท่ี 12 เรื่อง การประดิษฐจากกลองสบู

คูมือการใช

ชุดกจิกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

ชุดกิจกรรมที่ 1 จินตนาการดวยการปน

จุดประสงคของชุดกิจกรรม

1. เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

2. เพ่ือใหเด็กมีความม่ันใจ กลาคิด กลาแสดงออก

3 เพ่ือใหเด็กคิดผลงานไดมาก และรวดเร็วในเวลาท่ีกําหนด

4. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานท่ีแปลกใหม

Page 136: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

112

5. เพ่ือใหเด็กตั้งชื่อผลงานท่ีทําได

6. เพ่ือใหเด็กวางแผนข้ันตอนการทํางานได

1. ศึกษาคูมือการใช แผนการจัดประสบการณ ซ่ึงในการชุดกิจกรรมท่ี 1 แบงออกเปน

4 แผนจัดประสบการณ คือ

แผนการจัดประสบการณท่ี 1 เรื่อง การปนจากดินน้ํามัน

แผนการจัดประสบการณท่ี 2 เรื่อง การปนจากแปงขนมปง

แผนการจัดประสบการณท่ี 3 เรื่อง การปนจากแปงขาวโพด

แผนการจัดประสบการณท่ี 4 เรื่อง การปนจากแปงสาลี

2. ศึกษากระบวนการการเรียนรูตามแนว คิดไฮ–สโคป ดังนี้

กระบวนการการเรียนรูตามแนวคิดไฮ–สโคป คือ ข้ันการวางแผน ข้ันการปฏิบัติ และ

ข้ันทบทวน ดังนี้

1) ข้ันการวางแผน หมายถึง การสนทนารวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก

เก่ียวกับสิ่งท่ีตองทํารวมกัน ซ่ึงผลงานท่ีไดมาจากการทํางานเปนรายบุคคล

2) ข้ันการปฏิบัติ หมายถึง การดําเนินการปฏิบัติตามท่ีเด็กวางแผนดวยตนเอง

และวางแผนรวมกับเพ่ือน และชวยกันเก็บอุปกรณใหเรียบรอย

3) ข้ันทบทวน หมายถึง ครูสนทนารวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก

และทบทวนกระบวนการทํางานรวมท้ังความประทับใจในผลงานท่ีทํา

คําแนะนําสําหรับครูผูสอน ควรปฏิบัติดังนี ้

การเตรียมตัวกอนสอน

Page 137: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

113 3. เตรียมสื่อการเรียนการสอนลวงหนา ลําดับสื่อและอุปกรณท่ีตองการใชไวตามลําดับ

กอน – หลังเพ่ือสะดวกในการใช

1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหตรงตามแผนการจัดประสบการณท่ีกําหนดไว

2. สังเกตและใหคําแนะนําแกเด็กท่ีตองการความชวยเหลือ ในขณะท่ีทํากิจกรรม

3. เม่ือสิ้นสุดกิจกรรม ใหเด็กชวยกันสรุปเก่ียวกับผลงานท่ีไดปฏิบัติ

1. บันทึกผลท่ีไดจากการสังเกตผลงานลงในแบบบันทึก

2. จัดแสดงผลงานนักเรียน

แผนการจัดประสบการณที่ 1

ช้ันอนุบาลปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2

เรื่อง จินตนาการดวยการปน เวลา 50 นาที

การปฏิบัติการสอน

การปฏิบัติหลังสอน

Page 138: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

114 จุดประสงค

1. เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

2. เพ่ือใหเด็กมีความม่ันใจ กลาคิด กลาแสดงออก

3. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานไดมาก และรวดเร็วในเวลาท่ีกําหนด

4. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานท่ีแปลกใหม

5. เพ่ือใหเด็กตั้งชื่อผลงานท่ีทําได

6. เพ่ือใหเด็กวางแผนข้ันตอนการทํางานได

สาระการเรียนรู

1. สาระท่ีควรรู

- การปนจากดินน้ํามัน

2. ประสบการณสําคัญ

2.1 การแสดงความคิดสรางสรรคผานสื่อ วัสดุตางๆ

2.2 การเชื่อมโยงรูปแบบตางๆ กับสิ่งของหรือสถานท่ีจริง

2.3 การอธิบายสิ่งตางๆ ดวยคําพูด

2.4 การชื่นชมและสรางสรรคผานสื่อตางๆ

2.5 การวางแผน ตัดสินใจ เลือกและลงมือปฏิบัติ

ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม

1. ข้ันนํา

1.1 ครูใหเด็กดูดินน้ํามัน

1.2 ครูและเด็กรวมกันสนทนาเก่ียวกับลักษณะและประโยชนของดินน้ํามัน

2. ข้ันดําเนินการ (การเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป)

2.1 ข้ันตอนการวางแผนการประสบการณ (plan)

- เด็กวางแผนสรางผลงานการปนจากดินน้ํามันและเลือกวัสดุอุปกรณท่ีใชใน

การจัดทําผลงานจากวัสดุ อุปกรณครูจัดเตรียมไวให

- ครสูงัเกตการวางแผนปฏิบัติงานและสนทนาการดําเนินการตามแผนงานของ

แตละคน จากนั้นครูจดบันทึกการวางแผนของเด็ก

2.2 ข้ันปฏิบัติ (do)

- เด็กแตละคนปฏิบัติตามแผนท่ีวางไวดวยตนเอง ข้ันนี้เปนข้ันท่ีเด็กจะไดคนพบ

กับความคิดใหมๆ เปนชวงท่ีเด็กเลือกและตัดสินใจในการประดิษฐและการใชอุปกรณ

Page 139: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

115

- ครูคอยดูแลเด็กอยางใกลชิดใหกําลังใจ

- เด็กนําผลงานท่ีเสร็จแลวสงผลงานใหคุณครู

- กอนหมดเวลา 10 นาที ใหทุกคนรวมกันทําความสะอาดและเก็บของเขาท่ี

ใหเรียบรอย

2.3 ข้ันทบทวน (recall)

- ครูใหเด็กนั่งเปนรูปครึ่งวงกลม จากนั้นครูและเด็กรวมกันสนทนาแสดง

ความคิดเห็นเก่ียวกับผลงานท่ีไดปฏิบัติ

3. ข้ันสรุป

- เด็กชวยกันสรุปกิจกรรมท่ีทําในวันนี้

- เด็กนําผลงานวางแสดงไวท่ีโตะแสดงผลงาน

ส่ือการเรียนรู

1. ดินน้ํามัน

2. ลูกปด

3. ไหมพรม

4. กระดุม

5. หลอดกาแฟ

6. ไมจิ้มฟน

7. ริบบิ้น

8. จานกระดาษ

การวัดและประเมินผล

1. เครื่องมือ

1.1 แบบบันทึกการสังเกตความคิดสรางสรรค

1.2 แบบบันทึกคะแนนความคิดสรางสรรค

2. วิธีการวัด

2.1 การสนทนา และการตอบคําถามของเด็ก

2.2 การสังเกตจากผลงาน

3. เกณฑการประเมิน

ผูผานเกณฑการประเมินตองไดคะแนนระดับ 2 คะแนน ข้ึนไป

Page 140: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

116

แบบบันทึกการสังเกตความคิดสรางสรรค

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

2

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

3

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

4

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

5

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

6

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

Page 141: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

117

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

……………………………...

………………………………

แบบบันทึกคะแนนความคิดสรางสรรค

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค

รวม

เฉลี่ย

ระดับ

คุณภาพ ความคิดคลองตัว ความคิดยดืหยุน ความคิดรเิริม่ ความคิดละเอียดลออ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

Page 142: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

118

15

16

17

18

19

20

ระดับคุณภาพ 0 – 0.99 หมายถึง ต่ํา

1.00 – 1.99 หมายถึง ระดบัปานกลาง

2.00 – 3.00 หมายถึง ระดับสูง

แบบประเมินผลงานดานความคิดสรางสรรค

ประเมินผลงานในการทํากิจกรรม แผนท่ี 1 เรื่อง จินตนาการดวยการปน

ระดับ

คณุภา

พ องคประกอบของความคิดสรางสรรค

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

คําอธิบาย คําอธิบาย คําอธิบาย คําอธิบาย

3

ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไดสมบูรณ

เสร็จทันเวลา

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 3 ชนิดข้ึนไป

ผลงานมีความแตกตาง

จากเพ่ือน

ผลงานมีองคประกอบ

ครบและมีการตกแตง

อยางสวยงาม

2

ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไดสมบูรณ

ไมทันเวลา

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 2 ชนิด

ผลงานเหมือนกับเพ่ือน

แตตกแตงไมเหมือนกัน

ผลงานมีองคประกอบ

ครบ

1

ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไมสมบูรณ

และไมทันเวลา

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 1 ชนิด

ผลงานเหมือนกับเพ่ือน

ทุกอยาง

ผลงานมีองคประกอบ

ไมครบ

Page 143: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

119

คูมือการใช

ชุดกิจกรรมตามแนวคิดไฮ – สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

ชุดกิจกรรมที่ 2 การฉีก ตัด ปะ สรางสรรคความคิด

จุดประสงคของชุดกิจกรรม

Page 144: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

120

1. เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

2. เพ่ือใหเด็กมีความม่ันใจ กลาคิด กลาแสดงออก

3. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานไดมาก และรวดเร็วในเวลาท่ีกําหนด

4. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานท่ีแปลกใหม

5. เพ่ือใหเด็กตั้งชื่อผลงานท่ีทําได

6. เพ่ือใหเด็กวางแผนข้ันตอนการทํางานได

1. ศึกษาคูมือการใช แผนการจัดประสบการณซ่ึงในการชุดกิจกรรมท่ี 2

แบงออกเปน 4 แผนประสบการณ คือ

แผนการจัดประสบการณท่ี 5 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษโปสเตอรสี

แผนการจัดประสบการณท่ี 6 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษอังกฤษ

แผนการจัดประสบการณท่ี 7 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษหนังสือพิมพ

แผนการจัดประสบการณท่ี 8 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ กระดาษหนังสือนิตยสาร

2. ศึกษากระบวนการการเรียนรูตามแนวคิดไฮ – สโคป ดังนี้

กระบวนการการเรียนรูตามแนวคิดไฮ – สโคป คือ ข้ันการวางแผน ข้ันการปฏิบัติ

และข้ันทบทวน ดังนี้

1) ข้ันการวางแผน หมายถึง การสนทนารวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก

เก่ียวกับสิ่งท่ีตองทํารวมกัน ซ่ึงผลงานท่ีไดมาจากการทํางานเปนรายบุคคล

คําแนะนําสําหรับครูผูสอน ควรปฏิบัติดังนี ้

การเตรียมตัวกอนสอน

Page 145: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

121

2) ข้ันการปฏิบัติ หมายถึง การดําเนินการปฏิบัติตามท่ีเด็กวางแผนดวยตนเอง

และวางแผนรวมกับเพ่ือน และชวยกันเก็บอุปกรณใหเรียบรอย

3) ข้ันทบทวน หมายถึง ครูสนทนารวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก

และทบทวนกระบวนการทํางานรวมท้ังความประทับใจในผลงานท่ีทํา

3. เตรียมสื่อการเรียนการสอนลวงหนา ลําดับสื่อและอุปกรณท่ีตองการใชไวตามลําดับ

กอน – หลังเพ่ือสะดวกในการใช

1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหตรงตามแผนการจัดประสบการณท่ีกําหนดไว

2. สังเกตและใหคําแนะนําแกเด็กท่ีตองการความชวยเหลือ ในขณะท่ีทํากิจกรรม

3. เม่ือสิ้นสุดกิจกรรม ใหเด็กชวยกันสรุปเก่ียวกับผลงานท่ีไดปฏิบัติ

1. บันทึกผลท่ีไดจากการสังเกตผลงานลงในแบบบันทึก

2. จัดแสดงผลงานนักเรียน

แผนการจัดประสบการณที่ 5

การปฏิบัติการสอน

การปฏิบัติหลังสอน

Page 146: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

122 ช้ันอนุบาลปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2

เรื่อง ฉีก ตัด ปะ สรางสรรคสรรคความคิด เวลา 50 นาที

จุดประสงค

1. เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

2. เพ่ือใหเด็กมีความม่ันใจ กลาคิด กลาแสดงออก

3. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานไดมาก และรวดเร็วในเวลาท่ีกําหนด

4. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานท่ีแปลกใหม

5. เพ่ือใหเด็กตั้งชื่อผลงานท่ีทําได

6. เพ่ือใหเด็กวางแผนข้ันตอนการทํางานได

สาระการเรียนรู

1. สาระท่ีควรรู

- การฉีก ตัด ปะ กระดาษโปสเตอรสี

2. ประสบการณสําคัญ

2.1 การแสดงความคิดสรางสรรคผานสื่อ วัสดุตางๆ

2.2 การเชื่อมโยงรูปแบบตางๆ กับสิ่งของหรือสถานท่ีจริง

2.3 การอธิบายสิ่งตางๆ ดวยคําพูด

2.4 การชื่นชมและสรางสรรคผานสื่อตางๆ

2.5 การวางแผน ตัดสินใจ เลือกและลงมือปฏิบัติ

ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม

1. ข้ันนํา

1.1 ครแูจกกระดาษโปสเตอรสีใหแกเด็ก

1.2 ครูและเด็กรวมกันเก่ียวกับลักษณะและประโยชนของกระดาษโปสเตอรสี

2. ข้ันดําเนินการ (การเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป)

2.1 ข้ันตอนการวางแผนการจัดประสบการณ (plan)

- เด็กวางแผนสรางผลงานการฉีก ตัด ปะ จากกระดาษโปสเตอรสีและเลือกวัสดุ

อุปกรณท่ีใชในการจัดทําชิ้นงานจากวัสดุ อุปกรณครูจัดเตรียมไวให

Page 147: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

123

- ครสูังเกตการวางแผนปฏิบัติงานและสนทนาการดําเนินการตามแผนงานของ

แตละคน จากนั้นครูจดบันทึกการวางแผนของเด็ก

2.2 ข้ันปฏิบัติ (do)

- เด็กแตละคนปฏิบัติตามแผนท่ีวางไวดวยตนเอง ข้ันนี้เปนข้ันท่ีเด็กจะไดคนพบ

กับความคิดใหมๆ เปนชวงท่ีเด็กเลือกและตัดสินใจในการประดิษฐและการใชอุปกรณ

- ครูคอยดูแลเด็กอยางใกลชิดใหกําลังใจ

- เด็กนําผลงานท่ีเสร็จแลวสงผลงานใหคุณครู

- กอนหมดเวลา 10 นาที ใหทุกคนรวมกันทําความสะอาดและเก็บของเขาท่ี

ใหเรียบรอย

2.3 ข้ันทบทวน (recall)

- ครูใหเด็กนั่งเปนรูปครึ่งวงกลม จากนั้นใหเด็กผลัดกันออกมาเลา

ข้ันตอนการทํางาน และอธิบายผลงานใหเพ่ือนฟง ครั้งละ 1 – 2 คน

- เด็กและครูรวมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลงานท่ีไดปฏิบัติ

3. ข้ันสรุป

3.1 เด็กชวยกันสรุปกิจกรรมท่ีทําในวันนี้

3.2 เด็กนําผลงานวางแสดงไวท่ีโตะแสดงผลงาน

ส่ือการเรียนรู

1. กระดาษโปสเตอรสีตางๆ

2. ลูกปด

3. ไหมพรม

4. กระดุม

5. หลอดกาแฟ

6. ริบบิ้น

7. ไมจิ้มฟน

8. กาว

9. กรรไกรปลายมน

10. จานกระดาษ

การวัดและประเมินผล

Page 148: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

124

1. เครื่องมือ

1.1 แบบบันทึกการสังเกตความคิดสรางสรรค

1.2 แบบบันทึกคะแนนความคิดสรางสรรค

2. วิธีการวัด

2.1 การสนทนา และการตอบคําถามของเด็ก

2.2 การสังเกตจากผลงาน

3. เกณฑการประเมิน

ผูผานเกณฑการประเมินตองไดคะแนนระดับ 2 คะแนน ข้ึนไป

แบบบันทึกการสังเกตความคิดสรางสรรค

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

2

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

3

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

4

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

5

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

Page 149: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

125

…………………………. …………………………. …………………………. ………………………………

6

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

แบบบันทึกคะแนนความคิดสรางสรรค

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค

รวม

เฉลี่ย

ระดับ

คุณภาพ ความคิดคลองตัว ความคิดยดืหยุน ความคิดรเิริม่ ความคิดละเอียดลออ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

Page 150: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

126

13

14

15

16

17

18

19

20

ระดับคุณภาพ 0 – 0.99 หมายถึง ต่ํา

1.00 – 1.99 หมายถึง ระดบัปานกลาง

2.00 – 3.00 หมายถึง ระดับสูง

แบบประเมินผลงานดานความคิดสรางสรรค

ประเมินผลงานในการทํากิจกรรม แผนท่ี 5 เรื่อง ฉีก ตัด ปะ สรางสรรคความคิด

ระดับ

คณุภา

พ องคประกอบของความคิดสรางสรรค

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

คําอธิบาย คําอธิบาย คําอธิบาย คําอธิบาย

3

ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไดสมบูรณ

เสร็จทันเวลา

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 3 ชนิดข้ึนไป

ผลงานมีความแตกตาง

จากเพ่ือน

ผลงานมีองคประกอบ

ครบและมีการตกแตง

อยางสวยงาม

2

ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไดสมบูรณ

ไมทันเวลา

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 2 ชนิด

ผลงานเหมือนกับเพ่ือน

แตตกแตงไมเหมือนกัน

ผลงานมีองคประกอบ

ครบ

1 ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไมสมบูรณ

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 1 ชนิด

ผลงานเหมือนกับเพ่ือน

ทุกอยาง

ผลงานมีองคประกอบ

ไมครบ

Page 151: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

127

และไมทันเวลา

คูมือการใช

ชุดกิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดไฮ – สโคป

เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย

ชุดกิจกรรมที่ 3 สรรคสรางดวยมือเรา

Page 152: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

128 จุดประสงคของชุดกิจกรรม

1. เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

2. เพ่ือใหเด็กมีความม่ันใจ กลาคิด กลาแสดงออก

3. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานไดมาก และรวดเร็วในเวลาท่ีกําหนด

4. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานท่ีแปลกใหม

5. เพ่ือใหเด็กตั้งชื่อผลงานท่ีทําได

6. เพ่ือใหเด็กวางแผนข้ันตอนการทํางานได

1. ศึกษาคูมือการใช แผนการจัดประสบการณ ซ่ึงในการชุดกิจกรรมท่ี 3

แบงออกเปน 4 แผนจัดประสบการณ คือ

แผนการจัดประสบการณท่ี 9 เรื่อง การประดิษฐจากถวยไอศกรีม

แผนการจัดประสบการณท่ี 10 เรื่อง การประดิษฐจากกลองนม

แผนการจัดประสบการณท่ี 11 เรื่อง การประดิษฐจากแกนกระดาษชําระ

แผนการจัดประสบการณท่ี 12 เรื่อง การประดิษฐจากกลองสบู

2. ศึกษากระบวนการการเรียนรูตามแนวคิดไฮ – สโคป ดังนี้

กระบวนการการเรียนรูตามแนวคิดไฮ – สโคป คือ ข้ันการวางแผน ข้ันการปฏิบัติ

และข้ันทบทวน ดังนี้

1) ข้ันการวางแผน หมายถึง การสนทนารวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก

เก่ียวกับสิ่งท่ีตองทํารวมกัน ซ่ึงผลงานท่ีไดมาจากการทํางานเปนรายบุคคล

คําแนะนําสําหรับครูผูสอน ควรปฏิบัติดังนี ้

การเตรียมตัวกอนสอน

Page 153: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

129

2) ข้ันการปฏิบัติ หมายถึง การดําเนินการปฏิบัติตามท่ีเด็กวางแผนดวยตนเอง

และวางแผนรวมกับเพ่ือน และชวยกันเก็บอุปกรณใหเรียบรอย

3) ข้ันทบทวน หมายถึง ครูสนทนารวมกันระหวางครูกับเด็ก และเด็กกับเด็ก

และทบทวนกระบวนการทํางานรวมท้ังความประทับใจในผลงานท่ีทํา

3. เตรียมสื่อการเรียนการสอนลวงหนา ลําดับสื่อและอุปกรณท่ีตองการใชไวตามลําดับ

กอน – หลังเพ่ือสะดวกในการใช

1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหตรงตามแผนการจัดประสบการณท่ีกําหนดไว

2. สังเกตและใหคําแนะนําแกเด็กท่ีตองการความชวยเหลือ ในขณะท่ีทํากิจกรรม

3. เม่ือสิ้นสุดกิจกรรม ใหเด็กชวยกันสรุปเก่ียวกับผลงานท่ีไดปฏิบัติ

1. บันทึกผลท่ีไดจากการสังเกตผลงานลงในแบบบันทึก

2. จัดแสดงผลงานนักเรียน

การปฏิบัติการสอน

การปฏิบัติหลังสอน

Page 154: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

130

แผนการจัดประสบการณที่ 9

ช้ันอนุบาลปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2

เรื่อง การประดิษฐดวยเศษวัสดุ เวลา 50 นาที

จุดประสงค

1. เพ่ือพัฒนาความคิดสรางสรรค

2. เพ่ือใหเด็กมีความม่ันใจ กลาคิด กลาแสดงออก

3. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานไดมาก และรวดเร็วในเวลาท่ีกําหนด

4. เพ่ือใหเด็กคิดผลงานท่ีแปลกใหม

5. เพ่ือใหเด็กตั้งชื่อผลงานท่ีทําได

6. เพ่ือใหเด็กวางแผนข้ันตอนการทํางานได

สาระการเรียนรู

1. สาระท่ีควรรู

- การประดิษฐจากถวยไอศกรีม

2. ประสบการณสําคัญ

2.1 การแสดงความคิดสรางสรรคผานสื่อ วัสดุตางๆ

2.2 การเชื่อมโยงรูปแบบตางๆ กับสิ่งของหรือสถานท่ีจริง

2.3 การอธิบายสิ่งตางๆ ดวยคําพูด

2.4 การชื่นชมและสรางสรรคผานสื่อตางๆ

2.5 การวางแผน ตัดสินใจ เลือกและลงมือปฏิบัติ

ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม

1. ข้ันนํา

1.1 ครถูวยไอศกรีมมาใหเด็กดู และรวมกันสนทนาเก่ียวกับลักษณะและประโยชน

ของถวยไอศกรีม

1.2 ครูถามนักเรียนวาใครเคยใชประโยชนจากถวยไอศกรีมบาง

1.3 ครูและเด็กรวมกันสนทนาถึงถวยไอศกรีมวามีขอดีและขอเสียอยางไร

2. ข้ันดําเนินกิจกรรม (การเรียนรูตามแนวคิดไฮ-สโคป)

Page 155: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

131

2.1 ข้ันตอนการวางแผนการประสบการณ (plan)

- เด็กวางแผนสรางผลงานการประดิษฐจากถวยไอศกรีมและเลือกวัสดุอุปกรณท่ีใชใน

การจัดทําผลงานจากวัสดุ อุปกรณครูจัดเตรียมไวให

- ครสูังเกตการวางแผนปฏิบัติงานและสนทนาการดําเนินการตามแผนงานของ

แตละคน จากนั้นครูจดบันทึกการวางแผนของเด็ก

2.2 ข้ันปฏิบัติ (do)

- เด็กแตละคนปฏิบัติตามแผนท่ีวางไวดวยตนเอง ข้ันนี้เปนข้ันท่ีเด็กจะได

คนพบกับความคิดใหมๆ เปนชวงท่ีเด็กเลือกและตัดสินใจในการประดิษฐและการใชอุปกรณ

- ครูคอยดูแลเด็กอยางใกลชิดและใหกําลังใจ

- เด็กนําผลงานท่ีทําเสร็จแลว สงผลงานใหคุณครู

- กอนหมดเวลา 10 นาที ใหทุกคนรวมกันทําความสะอาดและเก็บของเขาท่ี ให

เรียบรอย

2.3 ข้ันทบทวน (recall)

- ครูใหเด็กนั่งเปนรูปครึ่งวงกลม จากนั้นครูและเด็กรวมกันสนทนาแสดง

ความคิดเห็นเก่ียวกับผลงานท่ีไดปฏิบัติ

3. ข้ันสรุป

3.1 เด็กและครูชวยกันสรุปกิจกรรมท่ีทําในวันนี้

3.2 เด็กนําผลงานวางแสดงไวท่ีโตะแสดงผลงาน

ส่ือการเรียนรู

1. ถวยไอศกรีม

2. กระดาษโปสเตอรสีตางๆ

3. ไหมพรม

4. ลูกปด

5. ริบบิ้น

6. กระดุม

7. ไมจิ้มฟน

8. หลอดกาแฟ

9. กาว

10. กรรไกรปลายมน

Page 156: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

132 การวัดและประเมินผล

1. เครื่องมือ

1.1 แบบบันทึกการสังเกตความคิดสรางสรรค

1.2 แบบบันทึกคะแนนความคิดสรางสรรค

2. วิธีการวัด

2.1 การสนทนา และการตอบคําถามของเด็ก

2.2 การสังเกตจากผลงาน

3. เกณฑการประเมิน

ผูผานเกณฑการประเมินตองไดคะแนนระดับ 2 คะแนน ข้ึนไป

แบบบันทึกการสังเกตความคิดสรางสรรค

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

1

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

2

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

3

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

4

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

5

Page 157: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

133

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

6

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………….

………………………………

……………………………...

………………………………

แบบบันทึกคะแนนความคิดสรางสรรค

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค

รวม

เฉลี่ย

ระดับ

คุณภาพ ความคิดคลองตัว ความคิดยดืหยุน ความคิดรเิริม่ ความคิดละเอียดลออ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

Page 158: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

134

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

ระดับคุณภาพ 0 – 0.99 หมายถึง ต่ํา

1.00 – 1.99 หมายถึง ระดบัปานกลาง

2.00 – 3.00 หมายถึง ระดับสูง

แบบประเมินผลงานดานความคิดสรางสรรค

ประเมินผลงานในการทํากิจกรรม แผนท่ี 9 เรื่อง การประดิษฐดวยเศษวัสดุ

ระดับ

คณุภา

พ องคประกอบของความคิดสรางสรรค

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิดละเอียดลออ

คําอธิบาย คําอธิบาย คําอธิบาย คําอธิบาย

3

ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไดสมบูรณ

เสร็จทันเวลา

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 3 ชนิดข้ึนไป

ผลงานมีความแตกตาง

จากเพ่ือน

ผลงานมีองคประกอบ

ครบและมีการตกแตง

อยางสวยงาม

2

ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไดสมบูรณ

ไมทันเวลา

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 2 ชนิด

ผลงานเหมือนกับเพ่ือน

แตตกแตงไมเหมือนกัน

ผลงานมีองคประกอบ

ครบ

Page 159: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

135

1

ออกแบบและประดิษฐ

ผลงานไมสมบูรณ

และไมทันเวลา

ใชวัสดุในการประดิษฐ

ผลงาน 1 ชนิด

ผลงานเหมือนกับเพ่ือน

ทุกอยาง

ผลงานมีองคประกอบ

ไมครบ

แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค

Page 160: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

136

ชื่อ.........................................................................

ชั้นอนุบาลปที่ 2

คูมือแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค

Page 161: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

137

ประกอบดวย

แบบทดสอบยอยซ่ึงประกอบดวยกิจกรรม 3 กิจกรรม ดังนี ้

กิจกรรมชุดที่ 1 การวาดภาพ

กิจกรรมชุดที่ 2 การตอเติมภาพใหสมบูรณ

กิจกรรมชุดที่ 3 การฉีก ตดั ปะ

ระยะเวลาในการทําแบบทดสอบกิจกรรมชุดละ 10 นาท ี

เม่ือหมดเวลาตองหยุดกิจกรรมที่ทําอยู และเริ่มทํากิจกรรม

ชุดถัดไปทันท ี กิจกรรมทั้ง 3 ชุด ใชเวลา 30 นาท ี

Page 162: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

138

การตรวจใหคะแนน

การตรวจใหคะแนนความคิดสรางสรรคแบงเปน 4 ดาน ดังนี้

1. ความคิดคลองตัว (fluency) หมายถึง คะแนนคิดคลองตัวไดจากการวาดภาพได

ชัดเจน และสื่อความหมาย เสร็จทันเวลาได 3 คะแนน คะแนนคิดคลองตัวไดจากภาพไดชัดเจน

และสื่อความหมายได 2 คะแนน คะแนนคิดคลองตัวไดจากภาพไมชัดเจน และสื่อความหมายไมได

1 คะแนน

2. ความคิดยืดหยุน (flexiblity) หมายถึง ความสามารถในการคิดไดหลายทาง

หลายประเภท หลายชนิด หลายกลุม และคําตอบไมไดจัดอยูในกลุมหรือประเภทเดียว โดยให

คะแนนเปนกลุมหรือประเภทการใหคะแนน ดังนี้คือ

1 ประเภท เทากับ 1 คะแนน

2 ประเภท เทากับ 2 คะแนน

3 ประเภทข้ึนไป เทากับ 3 คะแนน

3. ความคิดริเริ่ม (originality) หมายถึง คะแนนความคิดริเริ่มภาพแตกตางจากผูอ่ืนได

และตั้งชื่อภาพไดคะแนน 3 คะแนน คะแนนความคิดริเริ่มภาพไมแตกตางจากผูอ่ืนไดและตั้งชื่อภาพ

ไดคะแนน 2 คะแนน คะแนนความคิดริเริ่มภาพไมแตกตางจากผูอ่ืนและตั้งชื่อภาพไมไดไดคะแนน

1 คะแนน

4. ความคิดละเอียดลออ (elaboration) หมายถึง การตรวจใหคะแนนท้ัง 3 กิจกรรม

แตละภาพใหคะแนนต่ําสุด 1 คะแนน ภาพท่ีมีรายละเอียดในแตละสวนไมวาจะตอเติมในภาพท่ี

กําหนดใหหรือสวนท่ีวางรอบๆ บริเวณภาพ การใหคะแนนประมาณจากสเกล 3 สเกล ดังนี้คือ

1 แหง เทากับ 1 คะแนน

2 แหง เทากับ 2 คะแนน

3 แหงข้ึนไป เทากับ 3 คะแนน

Page 163: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

139

คําอธิบาย

โดยใหเด็กตอเติมภาพจากสิ่งเราที่กําหนด

เปนรูปสี่เหลี่ยมและวงกลมสีเขียว

อยางละ 1 ภาพ

มีความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร

ความกวางประมาณ 5 เซนติเมตร

ใหเด็กตอเติมภาพใหแปลกใหม

Page 164: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

140

แบบทดสอบกิจกรรมที่ 1

แลวใหตั้งชื่อภาพที่วาดแลวใหแปลกที่สุด

Page 165: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

141

แบบทดสอบกิจกรรมที่ 1

1…………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 166: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

142

2…………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบบันทึกความคิดสรางสรรค

กิจกรรมชุดที่ 1 การวาดภาพ

เลขท่ี

องคประกอบของความคิดสรางสรรค

รวม ระดับ

คุณภาพ

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิด

ละเอียดลออ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

Page 167: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

143

คําอธิบาย

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

ระดับคุณภาพ 9 - 12 หมายถึง ระดับสูง

5 – 8 หมายถึง ระดบัปานกลาง

1 – 4 หมายถึง ระดับต่ํา

Page 168: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

144

โดยใหเด็กตอเติมภาพจากสิ่งเราที่กําหนดเปนเสน

ในลักษณะตางๆ มีจํานวน 10 ภาพ แลวตั้งชื่อภาพ

ที่ตอเติมเสร็จแลวใหแปลกและนาสนใจดวย

Page 169: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

145

แบบทดสอบกิจกรรมที่ 2

1………………………………………..

5………………………………………..

3………………………………………..

4………………………………………..

2………………………………………..

Page 170: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

146

แบบทดสอบกิจกรรมที่ 2

6………………………………………..

8………………………………………..

7………………………………………..

Page 171: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

147

แบบบันทึกความคิดสรางสรรค

แบบบันทึกความคิดสรางสรรค

กิจกรรมชุดที่ 2 การตอเติมภาพใหสมบูรณ

เลขท่ี

องคประกอบของความคิดสรางสรรค

รวม ระดับ

คุณภาพ

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิด

ละเอียดลออ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10………………………………………..

9………………………………………..

Page 172: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

148

คําอธิบาย

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

ระดับคุณภาพ 9 - 12 หมายถึง ระดับสูง

5 – 8 หมายถึง ระดบัปานกลาง

1 – 4 หมายถึง ระดับต่ํา

ใหเด็กฉีก ตัด ปะ กระดาษสีตางๆ ทีต่ดัเปนเสนใหเด็ก

Page 173: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

149

แบบทดสอบกิจกรรมที่ 3

แตละคน โดยมีกระดาษสีแดง สีเขียว สนี้ําเงิน สีสม สีเหลือง

สีดํา สฟีา สีน้ําตาล สชีมพู อยางละ 2 เสน และใหเด็กฉีก

ตัด ปะ ภาพ โดยใชกระดาษสีตกแตงภาพใหแปลกแตกตาง

ไมซํ้ากันแลวตั้งชื่อภาพที่ฉีกปะเสร็จแลว

Page 174: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

150

แบบบันทึกความคิดสรางสรรค

แบบบันทึกความคิดสรางสรรค

กิจกรรมชุดที่ 3 การฉีก ตัด ปะ

เลขท่ี องคประกอบของความคิดสรางสรรค รวม ระดับ

Page 175: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

151

ความคิดคลองตัว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเริ่ม ความคิด

ละเอียดลออ

คุณภาพ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

ระดับคุณภาพ 9 - 12 หมายถึง ระดับสูง

5 – 8 หมายถึง ระดบัปานกลาง

1 – 4 หมายถึง ระดับต่ํา

Page 176: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

152

แบบบันทึกสรุปคะแนนความคิดสรางสรรค

เลขท่ี ชุดกิจกรรม

รวม ระดับคุณภาพ กิจกรรมชุดท่ี 1 กิจกรรมชุดท่ี 2 กิจกรรมชุดท่ี 3

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

ระดับคุณภาพ 9 - 12 หมายถึง ระดับสูง

5 – 8 หมายถึง ระดบัปานกลาง

1 – 4 หมายถึง ระดับต่ํา

Page 177: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

153

ภาคผนวก ง

ตัวอยางภาพการปฏิบัติกิจกรรม

Page 178: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

154

Page 179: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

155

Page 180: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

156

Page 181: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

157

Page 182: ø î ì ø d ø î Ù ì ÷ ï ø Ö ø ßõ ä ú - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/561_2016_07_15_144954.pdf · 2016-07-15 · ÿ î Ö ü ì ÷ ï ø Ö ø ö ü ì

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

158

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-ช่ือสกุล นางเจริญตา จาดเจือจันทร

วันเดือนปเกิด 16 กุมภาพันธ 2525

สถานท่ีเกิด จังหวัดฉะเชิงเทรา

ท่ีอยู 73 /2 หมู 1 ต.โสธร อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000

ตําแหนงหนาท่ีการงาน ครู คศ.1

สถานท่ีทํางาน โรงเรียนวัดหัวคู 36 หมู 1 ตําบลศีรษะจระเขนอย

อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10540

ประวัติการศึกษา ค.บ. (การศึกษาปฐมวัย)

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร พ.ศ. 2549


Recommended