+ All Categories
Home > Documents > 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research...

01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research...

Date post: 03-Jan-2021
Category:
Upload: others
View: 0 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
88
การใชพืชบังแสงเพื่อการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย จาสิบตรีพณรัฐ ฤทธิ์ดําเกิงเดช วิชาคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม ) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2554
Transcript
Page 1: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

การใชพืชบังแสงเพื่อการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย

จาสิบตรีพณรัฐ ฤทธิ์ดําเกิงเดช

วิชาคนควาอิสระน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม)

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

2554

Page 2: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech
Page 3: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

บทคัดยอ

ชือ่วิชาการคนควาอิสระ การใชพืชบังแสงเพ่ือการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย ชื่อผูเขียน จาสิบตรีพณรัฐ ฤทธ์ิดําเกิงเดช ชื่อปริญญา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการส่ิงแวดลอม) ปการศึกษา 2554 การศึกษาคนควานี้มี วัตถุประสงคเพ่ือหาพืชท่ีเหมาะสมในการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย และศึกษาถึงวิธีการนําพืชพรรณตางๆมาประยุกตใชประกอบอาคารพาณิชย โดยการศึกษาคนควา ไดทําการรวบรวมขอมูล ทฤษฎีและงานวิจัยตางๆ เชน การแผรังสีของดวงอาทิตย การถายเทความรอน ประเภทและลักษณะของพืชพรรณไมตางๆ จากนั้นนํามาวิเคราะหในเชิงพรรณนาความ ผลการศึกษาคนควางานวิจัยตางๆพบวาพืชท่ีเหมาะสม นํามาปกคลุมผนังทึบท่ีไดผลดีกับผนังอาคารพาณิชยในทางทิศตะวันตก ประเภทไมเล้ือย ไดแก ตนสรอยอินทนิล และตนตีนตุกแก ประเภทและไมพุม เชน ชาฮกเกี้ยน สามารถปองกันการถายเทความรอนไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยสามารถลดอุณภูมิภายในหองทดลองไดต่ํากวาอากาศภายนอกถึง 6.84 องศาเซลเซียส และต่ํากวาหองท่ีใชแผงกันแดดสําเร็จรูปถึง 2.92 องศาเซลเซียส และควรมีการเวนระยะหางพอประมาณ จะทําใหการคายความรอนในชวงเวลากลางคืนไดด ี รูปแบบการนําพืชบังแสงไปใชงาน ประเภทไมเล้ือยสามารถทําเปนแผงกันแดดได โดยอาจใชเปนลักษณะแผงแนวตั้งหรือแผงแนวนนอน และการใชซุมไมเล้ือยรอบหนาตางหรือผนังอาคารท่ีหันไปทางดานทิศใตหรือทิศตะวันตก โดยผลงานศึกษาคนควาพบวาสามารถลดอุณหภูมิภายในอาคารซ่ึงอยูหลังพุมใบในชวงเวลากลางวันไดสูงสุด 8 ถึง 11 องศาเซลเซียส และการนํามาใชท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ิมขึ้น คือใหอากาศไหลผานสัมผัสผิวใบใหมากท่ีสุด เชน การใชมานไมเล้ือยในแนวตั้งปกคลุมหนาตางซ่ึงควรมีการเวนระยะหางท่ีเหมาะสม เพ่ือการถายเทอากาศท่ีดีดวย

Page 4: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

ABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in building Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech Degree Master of Science (Environmental Management) Year 2011 The objectives of this research were to investigate proper plants for energy saving in building and to study proper means to use plants shading for energy saving in building. Secondary data including theories of solar radiation, heat transfer and characteristics of various plants were collected and measurement of temperature of the building studied was carried out. The results from this study showed that plants used to protect the wall of building in the west from solar radiation should be climbers such as blue trumpet and coat buttons and shrubs such as fukien tea. As shrubs and climbers can protect heat transfer efficiently, and so it can reduce the temperature inside the room studied less than 6.84 ํC as compared to the temperature outside the room where the panel used less than 2.92 ํC. An appropriate distance between each climbing plant should be considered to reduce heat transfer at night

Climbers can be effectively used for shading in vertical or horizontal directions and they should be placed in the south or the west of the building. The results from literature review showed that climbers can reduce the temperature inside the building which is behind a bush leaves during the day to a maximum of 8 ํC to 11 ํC and used effectively to increase the air flow through the surface of the building. The vertical climbing plants should cover window and should include proper space for good ventilation.

Page 5: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

กิตติกรรมประกาศ

วิชาการคนควาอิสระ เรื่อง การใชพืชบังแสงเพ่ือการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย ฉบับนี้ สามารถสําเร็จลงไดดวยความอนุเคราะหจากบุคคลหลายทาน ดังนั้น ผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

จาสิบตรีพณรัฐ ฤทธ์ิดําเกิงเดช พฤศจิกายน 2554

Page 6: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (2) ABSTRACT (3) กิตติกรรมประกาศ (4) สารบัญ (5) สารบัญตาราง (6) สารบัญภาพ (7) บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความสําคัญและท่ีมาของปญหาวิจัย 1 1.2 คําถามการวิจัย 2 1.3 วัตถุประสงค 2 1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 3 1.5 ขอบเขตงานวิจัย 3

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 4 2.1 สภาพภูมิอากาศท่ีมีผลกระทบกับอาคาร 4 2.2 การแผรังสีดวงอาทิตย (Solar Radiation) 6 2.3 การถายเทความรอน (Heat transfer) 15 2.4 ลักษณะพืชพรรณไม 18 2.5 สภาวะอยูสบาย (Human Comfort) 29 2.6 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 33

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 38 3.1 กรอบแนวคิด 39 3.2 สมมติฐาน 40 3.3 พ้ืนท่ีศึกษา 40 3.4 เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล 40

Page 7: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

หนา 3.5 ขั้นตอนการศึกษา 42 3.6 วิธีวิเคราะหขอมูล 44

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 45 4.1 สภาพโดยท่ัวไปของอาคาร 45 4.2 ตําแหนงของดวงอาทิตยในแตละเดือน 47 4.3 การเก็บขอมูลอุณหภูมิผนังท่ีรับรังสีแสงอาทิตย 52 4.4 คาพลังงานไฟฟา 57 4.5 รูปแบบของการใชพืชพรรณไมประกอบอาคารเพ่ือลดความรอนท่ีเขาสูอาคาร 61 4.6 ลักษณะและชนิดของพรรณไมท่ีใชประกอบอาคาร 62

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ 71 5.1 สรุปผลการศึกษา 71 5.2 ขอเสนอแนะ 73

บรรณานุกรม 74 ประวัติผูเขียน 75

ประวัติผูเขียน

Page 8: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

4.1 ผลจากการคํานวณหาตําแหนงดวงอาทิตย (ตําแหนงกรุงเทพฯ) 47 4.2 คาอุณหภูมิของผนังอาคารซ่ึงเปนกระจก(วันท่ี 27 ตุลาคม พ.ศ.2554) 53 4.3 คาอุณหภูมิของผนังอาคารซ่ึงเปนกระจก (วันท่ี 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2554) 55 4.4 ขอมูลการใชพลังงานไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ 58 (ขอมูลวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2554)

Page 9: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

(7)

สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา

2.1 ความรอนท่ีเกิดจากรังสีแสงอาทิตย 5 2.2 แสดงรังสีดวงอาทิตยในชวงคล่ืนตางๆ ในเขตช้ันบรรยากาศโลก 8 2.3 แสดงเขตบรรยากาศโลก และนอกช้ันบรรยากาศโลก 8 2.4 แสดงวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย และระนาบตางๆ 10 2.5 แสดงการเปล่ียนแปลงการแผรังสีนอกช้ันบรรยากาศโลกในเดือนตางๆ 10 2.6 แสดงลักษณะของการสะทอนรังสีจากผิววัตถุแบบตางๆ 12 2.7 แสดงคารังสีแสงอาทิตยในจังหวัดกรุงเทพฯตั้งแตป 1964-2008 12 2.8 ตําแหนงและการเคล่ือนท่ีของดวงอาทิตย 13 2.9 ไมตนหรือไมยืนตน (Trees) 20 2.10 ไมพุม(Shurbs) 22 2.11 ไมเล้ือยหรือไมเถา (Climbers) 24 2.12 ไมคลุมดิน (Ground Cover) 25 2.13 แสดงการใชตนไมบังรังสีแสงอาทิตย 26 2.14 การใชไมเล้ือยมาประกอบอาคาร 28 2.15 การใชพืชเปนแผงกันแดดไมเล้ือย 28 2.16 อัตราการระบายความรอนออกจากรางกายโดยวิธีตางๆ 30 3.1 กรอบแนวคิด 39 3.2 เครื่องมือวัดกระแสไฟฟา (Amp meter) 41 3.3 เครื่องมือวัดอุณหภูมิ(Thermometer) 41 3.4 เครื่องมือวัดอุณหภูมิแบบบันทึกขอมูลได 42 3.5 ขั้นตอนการวิจัย 42 3.6 แนวทางการติดตั้งเครื่องบันทึกและการวัดอุณหภูมิกอนปลูกพืชบังแสง 43 3.7 การติดตั้งเครื่องบันทึกและการวัดอุณหภูมิหลังปลูกพืชบังแสง 44 4.1 สภาพดานหนาอาคารสํานักงานบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด 45 4.2 ลักษณะระเบียงหนาอาคารท่ีไมไดใชประโยชน 46

Page 10: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

(8)

ภาพที ่ หนา 4.3 ผนังอาคารท่ีมีกระจกใสเปนสวนประกอบ 46 4.4 ตําแหนงดวงอาทิตยท่ีตําแหนงตาง ๆ 49 4.5 หองฝายการตลาด บริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด ท่ีทําการเก็บขอมูล 49 4.6 หนาอาคารบริษัทในชวงเวลาบาย 50 4.7 อุณหภูมิท่ีผนังกระจกในชวงเวลาบาย 50 4.8 การใช Thermocouple type-k ตรวจวัดอุณหภูมิ 51 4.9 ติดตั้งเครื่องบันทึกคาอุณหภูมิ 51 4.10 การวัดคากระแสไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ 52 4.11 กราฟแสดงคาอุณหภูมิท่ีผนังกระจกและอุณหภูมิแวดลอม 54 ของบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด (ขอมูลวันท่ี 27 ตุลาคม 2554) 4.12 กราฟแสดงคาอุณหภูมิท่ีผนังกระจกและอุณหภูมิแวดลอม 56 ของบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด (ขอมูลวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2554) 4.13 กราฟแสดงคาไฟฟาของอาคารสํานักงาน 57 บริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ. (ประเทศไทย) จํากัด 4.14 กราฟแสดงกําลังไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศท่ีใชงาน 60 4.15 ตนสรอยอินทนิล 63 4.16 ตนเงินไหลมา 64 4.17 ตนขอย 65 4.18 ตนแกว 65 4.19 ตนขาไกเขียว 66 4.20 ตนเข็ม 66 4.21 รูปแบบการนําพืชมาใชประกอบอาคาร 67 4.22 ตนกระดุมทอง 68 4.23 ตนผักเปด 68 4.24 แผงกันแดดท่ีใชไมเล้ือย 69 4.25 ตนเทียนทอง 69 4.26 ตนทรงบาดาล 70

Page 11: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

1

บทท่ี 1

บทนํา 1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหาวิจัย ในอดีตโลกมนุษยมีทรัพยากรธรรมชาติอยางเพียงพอเม่ือเทียบกับจํานวนประชากรมนุษย แตในปจจุบันไดมีการแขงขันกันทางดานเศรษฐกิจ และเทคโนโลยี พรอมกับจํานวนประชากรบนโลกเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็ว แตสวนทางกับทรัพยากรธรรมชาติเริ่มลดนอยลงจนอาจจะหมดไปในเวลาอันไมชานี้ การใชทรัพยากรอยางฟุมเฟอยและทําลายส่ิงแวดลอม สงผลใหเกิดภัยธรรมชาติตางๆ ขึ้น เชน ปญหาโลกรอนท่ีเรียกวา ปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect) การเกิดอุทกภัยการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศอยางรวดเร็ว ไมเปนไปตามฤดูกาล และเม่ืออุณหภูมิของโลกรอนขึ้น สงผลใหส่ิงมีชีวิตบางชนิดไมสามารถดํารงชีวิตอยูไดและอาจสูญพันธุไป พลังงานไฟฟามีความจําเปนในการดํารงชีวิตประจําวัน ใชในขบวนการผลิตสินคาและบริการตางๆ เพ่ือสนองความตองการของมนุษย การผลิตพลังงานไฟฟาสวนใหญเปนพลังงานท่ีไดจากการใชเช้ือเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) ซ่ึงเปนแหลงพลังงานท่ีใชแลวหมดไป เช้ือเพลิงฟอสซิล ถูกใชในภาคขนสง ภาคอุตสาหกรรม อาคารสํานักงานและท่ีอยูอาศัย ในป พ.ศ.2553 ประเทศไทยมีการใชเช้ือเพลิงจากกาซธรรมชาติคิดเปนรอยละ 68.6 และถานหินลิกไนตคิดเปนรอยละ 17.7 เพ่ือนํามาใชผลิตกระแสไฟฟา (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2553) ในอาคารสํานักงานและบานอยูอาศัยจะมีการใชพลังงานไฟฟาในรูปแบบของระบบแสงสวาง ระบบปรับอากาศ และเครื่องใชไฟฟาตางๆ เพ่ืออํานวยความสะดวกสบาย ในสวนของระบบปรับอากาศ เปนอุปกรณไฟฟาท่ีตองใชพลังงานไฟฟาสูงกวาระบบแสงสวางและลิฟตอยางมาก เพ่ือทําหนาท่ีรักษาอุณหภูมิท่ีตองการโดยความรอนภายในอาคารสวนหนึ่งมาจากพลังงานแสงอาทิตย เพราะเม่ือผนังอาคารไดรับรังสีแสงอาทิตย จะสงผลใหเกิดการเปล่ียนพลังงานแสงเปนพลังงานความรอน และมีการถายเทความรอนเขาสูภายในอาคาร หากสามารถปองกันหรือลดคารังสีแสงอาทิตยท่ีตกกระทบตอฝาผนังอาคาร จะสงผลทําใหการใชพลังงานจากเครื่องปรับอากาศลดลงได ในสวนของการลดคารังสีแสงอาทิตยลงอาจใชสีท่ีสะทอนแสงไดทาในดานท่ีรับแสงอาทิตย แตตองระวังการสะทอนแสงเขาสูอาคารท่ีอยูใกลเคียง สวนการใชแผงบังแสงอาทิตยซ่ึงเปนการตอเติมโครงสรางอาจไมสะดวกกับบางอาคาร ในการใชพืชบังแสงเปนแนวทางหนึ่งท่ี

Page 12: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

2 นาสนใจเนื่องจากเปนการลงทุนไมมาก ไมมีการสะทอนแสงไปสูอาคารใกลเคียงและพืชสามารถท่ีจะดูดซับคารบอนไดออกไซตและคายออกซิเจนออกมาสู กาซคารบอนไดออกไซดเปนสาเหตุหลักของภาวะโลกรอน การปลูกตนไมเพ่ือดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดเปนวิธีแกปญหาพ้ืนฐานวิธีหนึ่ง แตอาจเกิดขอจํากัดสําหรับพ้ืนท่ีในเมืองท่ีประชากรหนาแนน การปลูกพืชปกคลุมผนังสามารถเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวไดและสามารถดูดซับคารบอนไดออกไซดไดดี โดยพบวาสรอยอินทนิลเปนตนไม ท่ีมีสมรรถนะในการดูดซับคารบอนไดออกไซดไดดีท่ีสุดเปนอันดับแรก พวงชมพูเปนอันดับท่ี 2 และตําลึงเปนอันดับสุดทาย ในการทดลองท้ังสองครั้ง และสามารถบอกปริมาณการดูดซับคารบอนไดออกไซดตอพ้ืนท่ี 1 ตารางเมตรได ดังนี้ สรอยอินทนิลดูดซับคารบอนไดออกไซดไดสูงสุด 20 สวนในลานสวน พวงชมพู 15 สวนในลานสวน และตําลึง 5 สวนในลานสวน จากอากาศปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร (พาสิน ีสุนากร และพูนพิภพ เกษมทรัพย, 2554) แนวทางการนําพืชมาใชบังแสงอาทิตยเพ่ือการประหยัดพลังงานในเครื่องปรับอากาศ เราตองพิจารณาองคประกอบตางๆท่ีเกี่ยวของ เนื่องจากความแตกตางกันของภูมิศาสตรและภูมิอากาศ ทิศทางการเคล่ือนท่ีของดวงอาทิตย ลักษณะของพืชท่ีจะใชบังแสงอาทิตยท่ีเหมาะสม เชนลักษณะใบและลําตนของพืช เพ่ือใหเกิดการไหลผานของอากาศไดดีไมบังลม และมีตําแหนงท่ีเหมาะสมในการปลูกพืชเพราะตองระวังเรื่องความช้ืนท่ีเกิดขึ้นจากการคายน้ํา ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจศึกษา หาพืชท่ีเหมาะสมในการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย และศึกษาวิธีการนําพืชพรรณตางๆมาประยุกตใชประกอบอาคารพาณิชย 1.2 คําถามการวิจัย มีวิธีการนําพืชมาใชประกอบอาคารเพ่ือการประหยัดพลังงานอยางมีประสิทธิภาพไดอยางไร 1.3 วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาหาพืชท่ีเหมาะสมในการบังแสงเพ่ือการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย 2. เพ่ือศึกษาวิธีการนําพืชพรรณตางๆมาประยุกตใชประกอบอาคารพาณิชย

Page 13: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

3 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดทราบถึงพืชท่ีเหมาะสมในการบังแสงเพ่ือการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย 2. ไดทราบถึงวิธีการนําพืชพรรณตางๆมาประยุกตใชประกอบอาคารพาณิชย 1.5 ขอบเขตงานวิจัย 1.5.1 ขอบเขตดานเนื้อหา ในการศึกษาวิจัยนี้จะเปนการหาพืชท่ีเหมาะสมในการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย และศึกษาถึงวิธีการนําพืชพรรณตางๆมาประยุกตใชประกอบอาคารพาณิชย ในการบังแสงอาทิตย เพ่ือลดความรอนเขาสูอาคาร 1.5.2 ขอบเขตพ้ืนที่ อาคารสํานักงานของ บริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด เลขท่ี 48/267 ซอย รามคําแหง 104 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร 1.5.3 ขอบเขตของระยะเวลา 1 กันยายน พ.ศ.2554 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2554

Page 14: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

4

บทท่ี 2

แนวคิด ทฤษฎ ีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ การวิจัยนี้เปนการนําเสนอแนวทางการใชพืชในการบังรังสีแสงอาทิตยเพ่ือลดการถายเทความรอนเขาสูอาคารผานผนังอาคารโดยมุงเนนเพ่ือการอนุรักษพลังงานในอาคาร ผูวิจัยไดทําการศึกษาถึงตัวแปรและปจจัยตางๆ ในการนําพืชบังแสงมาใชงาน ซ่ึงขอมูลท่ีทําการศึกษาประกอบไปดวยแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย ตามประเด็นดังตอไปนี ้ 1. สภาพภูมิอากาศท่ีมีผลกระทบกับอาคาร 2. การแผรังสีดวงอาทิตย (Solar radiation) 3. การถายเทความรอน (Heat transfer) 4. พืชพรรณไม (Plants integrated) 5. สภาวะอยูสบาย (Human Comfort) 6. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 2.1 สภาพภูมิอากาศที่มีผลกระทบกับอาคาร มีปจจัยธรรมชาติหลายประการท่ีกอใหเกิดผลกระทบ ท้ังท่ีเปนประโยชนและการกอปญหาใหกับผูใชอาคารโดยมีสาเหตดุังนี้ 2.1.1 ความรอนที่เกิดขึ้นจากภูมิอากาศ ความรอนท่ีเกิดขึ้นจากภูมิอากาศของประเทศไทยเปนปจจัยท่ีเกิดจากแสงแดดดังภาพท่ี 2.1 ซ่ึงเปนพลังงานความรอนจากดวงอาทิตยเปนพลังงานท่ีจะเขามาสะสมในอาคาร ปจจัยจากแสงสะทอน คือแสงจากการสะทอนของรังสีจากดวงอาทิตย ภายในช้ันบรรยากาศ ท่ีถูกทําใหหักเหโดยละอองน้ําและฝุนละอองในอากาศ การสะทอนนี้จะนําความรอนเขามาสูอาคารเชนเดียวกันกับแสงแดด ปจจัยของแสงสะทอนจากพ้ืนผิวตางๆ ซ่ึงเปนรังสีจากดวงอาทิตยท่ีสะทอนจากพ้ืนผิวตางๆ เชนถนน ผนังอาคาร เปนตน โดยพลังงานความรอนท่ีสะทอนเขาสูอาคารจะมากหรือนอยก็ขึ้นอยูกับคาการสะทอนของพ้ืนผิวตางๆ ปจจัยจากความรอนและความช้ืนของ

Page 15: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

5 อากาศท่ีรั่วซึมเขาสูตัวอาคารโดยผานทางผนังอาคารท่ีมีการรั่วซึมเชนบริเวณท่ีมีรอยตอไมสนิท หรือทางชองเปดอาคาร ทําใหมีผลตอเครื่องปรับอากาศ 2.1.2 ความชื้น ปญหาความช้ืนท่ีมาพรอมกับการรัว่ซึมของอากาศเขามาในอาคาร เปนตัวการท่ีมีผลตอเครื่องปรับอากาศเปนอยางมาก นอกจากนี้ยังมีปญหาจาก การท่ีมีน้ํารั่วซึมตามวงกบ หรือระบบผนังเบา ซ่ึงนําความช้ืนเขาสูอาคาร ทําใหเครื่องปรับอากาศทํางานหนักและยังอาจเกิดเช้ือราทําใหคุณภาพอากาศภายในอาคารไมดีและสงผลตอผูอยูในอาคารได 2.1.3 ลม ลมเปนส่ิงท่ีสามารถควบคุมอุณหภูมิภายในอาคารได แตเนื่องจากไทยมีสภาพภูมิอากาศแบบรอนช้ืน ทําใหลมอาจนําพาความรอนและความช้ืนเขาสูอาคารได สงผลตอเครื่องปรับอากาศในการนําความช้ืนออกจากอาคาร

ภาพที่ 2.1 ความรอนท่ีเกดิจากรังสีแสงอาทิตย แหลงที่มา: ธนาวุฒิ ขุนทอง, 2553

Page 16: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

6 สภาพภูมิอากาศตางๆ เกิดขึ้นเนื่องดวยธรรมชาติ โดยเฉพาะความรอนจากดวงอาทิตยกับพ้ืนท่ีตั้งบนพ้ืนโลกท่ีแตละชวงเวลา ของป จะตองคํานึงถึงความรอนในแตละฤดู เชน ในหนารอน ความตองการเพ่ือจะระบายอากาศอากาศรอนออกจากอาคาร ในขณะท่ีตองการบังความรอนจากดวงอาทิตยเขาสูอาคาร หนาหนาวอากาศภายนอกมีอุณหภูมิต่ํา มีความตองการท่ีจะเก็บความรอนท่ี เกิดขึ้นภายในอาคารไว จึงไมตองการเปดอาคารมาก รวมท้ังอาจจะใชความรอนจากดวงอาทิตยเขา มาชวยเพ่ิมความรอนภายในอาคารโดยวิธีตางๆ

2.2 การแผรังสีดวงอาทิตย (Solar Radiation) ดวงอาทิตยเปนแหลงพลังงานท่ีมีความสําคัญท่ีสุดตอส่ิงมีชีวิตท้ังหลายบนโลก ดวงอาทิตยมีลักษณะเปนกลุมแกสทรงกลม มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.39x106 กิโลเมตร อยูหางจากโลกคิดเปนระยะทางเฉล่ียประมาณ 1.496x108 กิโลเมตร และดวงอาทิตยหมุนรอบตัวเองหนึ่งรอบใชเวลาเทากับ 28 วัน พลังงานท่ีเกิดขึ้นบนดวงอาทิตย เปนผลท่ีเกิดจากปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรฟวสชัน (Thermonuclear Fusion) และทําใหมวลของดวงอาทิตยลดลงประมาณ 4x109 kg/s ในขณะเดียวกันก็จะปลดปลอยพลังงานออกมาในอัตรา 3.85x1023 kW และจากปริมาณดังกลาวจะมีพลังงานตกกระทบลงสูโลกในอัตรา 1.79x1014 kW ซ่ึงสามารถเทียบเปนพลังงานท่ีไดรับในหนึ่งป คือ 1.51x1018 kW-h การปลดปลอยพลังงานจากดวงอาทิตย เปนไปอยางสมํ่าเสมอในชวง 500 ลานปท่ีผานมา และคาดวาจะเปนไปในอัตราดังกลาวอยางนอย 50 ลานปตอไป การเปล่ียนแปลงของอัตราการปลดปลอยพลังงานจากดวงอาทิตยจะแตกตางกันไมเกินหนึ่งเทาตลอดชวงอายุขัยของดวงอาทิตย นอกจากนั้นวงโคจรรอบดวงอาทิตยเกือบจะเปนวงกลม ความแตกตางระหวางระยะใกลท่ีสุดไมถึง 3% เปนผลใหพลังงานจากดวงอาทิตยซ่ึงตกกระทบเหนือช้ันบรรยากาศของโลกมีคาแตกตางกันไมมากนักในรอบป การแผรังสีจากดวงอาทิตยนอกช้ันบรรยากาศโลกจะมีคาเฉล่ียเทากับ 1,353 W/m2 (ธงชัย ศิริประยุกต, 2524 : 7) คาการแผรังสีดังกลาวเราเรียกวา คาคงท่ีสุริยะ (Solar Constant) ซ่ึงก็คือ คาอัตราการตกกระทบของพลังงานแสงอาทิตยตอหนวยพ้ืนท่ีในทิศทางตั้งฉากกับดวงอาทิตยนอกช้ันบรรยากาศโลกและจะมีคาแตกตางกันออกไปในแตละเดือน โดยมีคาแปรผันไปตามชวงความยาวคล่ืนของรังสีซ่ึงอยูในรูปของคล่ืนแมเหล็กไฟฟา ประกอบไปดวย รังสีชวงคล่ืนยาว ไดแก รังสีอินฟราเรด (Infrared) จนไปถึงชวงคล่ืนส้ัน ไดแกรังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) รังสีดวงอาทิตยในชวงคล่ืนตางๆท่ีแผมายังโลก โดยผานช้ันบรรยากาสตางๆของโลก จะถูกดูดซับ (Absorbed) และทําใหกระจัดกระจาย (Scattered) อยูในช้ันบรรยากาศของโลก การ

Page 17: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

7 ดูดกลืนพลังงานการแผรังสีโดยช้ันบรรยากาศของโลกจะมีขึ้นอยูตลอดเวลา และมีลักษณะท่ีสําคัญดังตอไปนี ้ 2.2.1 รังสีชวงคลื่นส้ัน รังสีชวงคล่ืนส้ันสวนใหญจะเปนรังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) โดยมีชวงความยาวคล่ืนต่ํากวา 300 nm. พลังงานรังสีของดวงอาทิตยจะถูกดูดกลืนและถูกทําใหลดลงในเขตบรรยากาศช้ัน Ionosphere โดยแกสไนโตรเจน ออกซิเจน และแกสโอโซน ซ่ึงทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงคาระดับพลังงานของอิเล็กตรอน (Electron Transition) ในอะตอมหรือในโมเลกุลของแกสดังกลาว จึงทําใหรังสีดวงอาทิตยท่ีตกกระทบบนผิวโลก เกือบจะไมมีพลังงานของรังสีในชวงคล่ืนนี้เหลืออยูเลย (อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.) 2.2.2 รังสีชวงคลื่นที่มองเห็นได (Visible) รังสีชวงคล่ืนท่ีมองเห็นไดจะถูกดูดกลืนดวยโมเลกุลของแกสคารบอนไดออกไซด แกสโอโซน แกสออกซิเจน และไอน้ํา (อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.) 2.2.3 รังสีชวงคลื่นยาว รังสีชวงคล่ืนนี้สวนใหญจะเปนรังสีอินฟราเรด( Infrared) มีการดูดกลืนรังสีอันเนื่องมาจากการหมุนและการส่ันสะเทือนของ Polyatomic Molecule ซ่ึงไดแก น้ํา ท่ีความยาวคล่ืนประมาณ 700, 800, 900, 1,400, 1,600, 2,000, 2,700 และ 4,300 nm. การดูดกลืนรังสีดงักลาวจะเกิดขึ้นในช้ันบรรยากาศดานลางซ่ึงมีความสูงประมาณ 50 กิโลเมตร และพลังงานท่ีถูกดูดกลืนจะทําใหเกิดความรอนขึ้นในช้ันของบรรยากาศ ท่ีระยะความยาวคล่ืนระหวาง 8,000-12,000 nm. บรรยากาศจะโปรงใส รังสีในชวงคล่ืนนี้เรียกวา Atmosphere Windows ท่ีความยาวคล่ืนสูงกวานี ้รังสีดวงอาทิตยจะถูกดูดกลืนเกือบหมดดวยน้ําในรูปของไอน้ําและแกสคารบอนไดออกไซต (อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.)

Page 18: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

8

ภาพที่ 2.2 แสดงรังสีดวงอาทิตยในชวงคล่ืนตาง ๆในเขตช้ันบรรยากาศโลก แหลงที่มา: อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.

ภาพที่ 2.3 แสดงเขตบรรยากาศโลก และนอกช้ันบรรยากาศโลก แหลงที่มา: อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป. 2.2.3 การแผรังสีนอกชั้นบรรยากาศโลก (Extraterrestrial Radiation, IO) ช้ันบรรยากาศท่ีมีตอการแผรังสีของดวงอาทิตย จะตองพิจารณาถึงความหนาของบรรยากาศท่ีขวางกั้นทางเดนิของรังสีดวย ซ่ึงเราเรียกวา Air Mass (AM) คือทางเดินของรังสีอาทิตยผานช้ันบรรยากาศ โดยพิจารณาวาถาแสงมาในแนวดิ่งท่ีระดับน้ําทะเลจะมีคาเปน 1 เม่ือดวงอาทิตยอยูตรงศีรษะเราพอด ีนั่นคือ มีทิศตั้งฉากกับแนวระดับหรือมุมซีนิทซ (Zenith Angle, Z) เทากับศูนย และ AM มีคาเทากับ 2 เม่ือ Z = 60 องศา และ AM มากกวา 3 เม่ือดวงอาทิตยอยูในระดับขอบฟา

Page 19: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

9 และเทากับศูนยเม่ืออยูนอกเขตบรรยากาศโลก ดวงอาทิตยจะมีอัตราการแผรังสีคอนขางจะคงท่ีตลอดเวลาแตรังสีดวงอาทิตยนอกช้ันบรรยากาศโลกจะมีการเปล่ียนแปลงเปนคาบในรอบปเนื่องมาจาก (อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.) 2.2.3.1. ผลกระทบจากระยะหางระหวางโลกกับดวงอาทิตย โลกโคจรรอบดวงอาทิตยเปนวงรีในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ขณะเดียวกันก็จะหมุนรอบตัวเองในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวย ในวันท่ี 3 มกราคมของทุกป โลกจะอยูหางจากดวงอาทิตยเปนระยะทางท่ีนอยท่ีสุดประมาณ 147.1x106 km. และในวันท่ี 4 กรกฎาคมของทุกป โลกจะอยูหางจากดวงอาทิตยเปนระยะทางท่ีมากท่ีสุดประมาณ 152x106 km ดังนั้นความเขมของรังสีดวงอาทิตยนอกช้ันบรรยากาศโลกจึงมีคาเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยูกับระยะหางระหวางโลกกับดวงอาทิตย ท่ีเปนเชนนี้เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตยจะมีระยะทางเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา โดยมีคาเปล่ียนแปลงไป 3.0 % เราสามารถคํานวณหาคาการแผรังสีนอกช้ันบรรยากาศโลกไดจากสมการ Io = In(1+0.0334 cos((360xN)/365))

เม่ือ In = คาคงท่ีสุริยะมีคาเฉล่ียเทากับ 1,353 W/m2 N = วันท่ีของรอบป

2.2.3.2. การกระจัดกระจายของแสง รังสีดวงอาทิตย จะถูกทําใหเกิดการกระจัดกระจายเนื่องจากโมเลกุลของอากาศ, ไอน้ําและฝุนละออง 2.2.3.3. การดูดกลืนรังสี การดูดกลืนรังสีเนื่องจากแกสออกซิเจน, โอโซน, คารบอนไดออกไซด และความช้ืนในบรรยากาศ 2.2.3.4. ผลกระทบจากมุมเดคลิเนชัน (Declination Angel Effect) ผลกระทบจากมุมเดคลิเนชันหรือมุมบายเบน เปนมุมท่ีเกิดจากแกนหมุนของโลก โดยเทียบกับแกนตั้งฉากของระนาบสุริยะวิถี (Ecliptic Plane) จะมีคาเปล่ียนแปลงอยูระหวาง +23.45๐ ถึง 23.45๐ ในชวงระยะเวลาหนึ่งรอบป ระนาบสุริยะวิถีก็คือ ระนาบซ่ึงดวงอาทิตยปรากฏเคล่ือนท่ีไปรอบโลกนั่นเอง หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ระนาบทางโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย (อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.)

Page 20: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

10

ภาพที่ 2.4 แสดงวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย และระนาบตางๆ แหลงที่มา: อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป. ระนาบเสนศูนยสูตร (Equatorial Plane) ของโลกจะเอียงทํามุม 23.45o กับระนาบสุริยะวิถีในวันท่ี 21 มีนาคม และวันท่ี 23 กันยายนของทุกป แกนของโลกจะอยูในระนาบซ่ึงตั้งฉากกับเสนตรงท่ีลากจากดวงอาทิตย เม่ือโลกหมุนรอบตัวเองดวงอาทิตยจะปรากฏอยูเหนือขอบฟา 12 ช่ัวโมง และใตขอบฟา 12 ช่ัวโมง นั่นคือเวลากลางวันจะเทากับเวลากลางคืน เราเรียกตําแหนงท้ังสองวา Equinoxes หลังจากวันท่ี 21 มิถุนายน โลกจะหันขั้วเหนือเขาหาดวงอาทิตยมากท่ีสุด ทําใหซีกโลกดานเหนือไดรับแสงอาทิตยมากและยาวนาน เปนผลทําใหเวลากลางวันยาวกวาเวลากลางคืน เฉพาะตั้งแตเสนรุงท่ี 66.5 องศาเหนือ ถึงขั้วโลกเหนือเปนเวลากลางวัน 24 ช่ัวโมง ขณะเดียวกันตั้งแตเสนรุงท่ี 66.5 องศาใต ถึงขั้วโลกใตจะเปนเวลากลางคืน 24 ช่ัวโมง และในวันท่ี 21 ธันวาคม โลกจะหันขั้วเหนือออกจากดวงอาทิตยมากท่ีสุด ดังนั้นซีกโลกเหนือจึงมีเวลากลางวันส้ันกวาเวลากลางคืน (อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.)

ภาพที่ 2.5 แสดงการเปล่ียนแปลงการแผรังสีนอกช้ันบรรยากาศโลกในเดือนตางๆ แหลงที่มา: สุพัฒน ราชณรงค, 2533: 5

Page 21: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

11 2.2.4. การแผรังสีในชั้นบรรยากาศโลก (Terrestrial Radiation, IN) รังสีดวงอาทิตยเม่ือเดินทางเขาสูช้ันบรรยากาศโลก ประกอบดวยรังสีตางๆ ดังตอไปนี ้ 2.2.4.1. รังสีตรง (Beam or Direct Radiation) เปนรังสีของพลังงานแสงอาทิตยท่ีทะลุผานช้ันบรรยากาศลงสูพ้ืนโลก โดยไมเกิดอันตรกิริยากับอะตอมของธาตุใดๆในช้ันบรรยากาศทําใหมีคาความเขมของแสงสูงเม่ือมาถึงพ้ืนโลก รังสีของแสงในลักษณะนี้ เหมาะสําหรับการใชกับอุปกรณประเภทท่ีตองรวมแสง (Concentrator) ชนิดตางๆ ท่ีตองการคาความเขมของรังสีดวงอาทิตยสูงๆ (อชิตพล ศศิธรานุวัฒน, 2548: 119) 2.2.4.2. รังสีกระจาย (Diffuse Radiation) เปนรังสีของพลังงานแสงอาทิตยท่ีเกิดการชนกับอะตอมของธาตุตางๆ ในช้ันบรรยากาศ ทําใหเกิดการกระจายของแสงและบางสวนสะทอนลงสูพ้ืนโลก คาความเขมของแสงจากรังสีประเภทนี้จะนอยกวารังสีตรงมาก รังสีของแสงในลักษณะนี้เหมาะกับการใชกับอุปกรณท่ีไมตองการความเขมแสงสูงนักเชน ระบบเซลลแสงอาทิตย เปนตน สัดสวนของรังสีตรงกับรังสีกระจายในแตละวันในแตละพ้ืนท่ี จะมีความไมแนนอนขึ้นอยูกับสภาพของภูมิอากาศในแตละวันและแตละพ้ืนท่ี ผลรวมของรังสีท้ังสองประเภทเรียกวา รังสีรวม (total radiation หรือ global radiation) สําหรับคาพลังงานแสงอาทิตยท่ีตกกระทบในแนวตั้งฉากบนพ้ืนท่ี 1 หนวย นอกช้ันบรรยากาศโลกเรียกวา คาคงท่ีสุริยะ (solar constant) มีคาเทากับ 1,353 วัตตตอตารางเมตร ซ่ึงคาคงท่ีนี้แทท่ีจริงแลวอาจมีการผันแปรไดในชวงประมาณ

%4.3± ตอป แตอยางไรก็ตามโดยท่ัวไปก็ยังนิยมใชเปนคาคงท่ีดังกลาวอยู คาพลังงานแสงอาทิตยท่ีลงสูพ้ืนโลกท้ังหมดตอปสามารถคํานวณไดดังนี ้ กําหนด 1 ปเทากับ 365.25 วัน (Shepherd & Shepherd, 1998 อางถึงใน อชิตพล ศศิธรานุวัฒน, 2548: 119) 2.2.4.3. รังสีรวม (Total or Global Radiation) รัง สีรวมเปนผลรวมของรัง สีตรงและรั งสีกระจาย ซ่ึงจํากัด เฉพาะค ล่ืนแมเหล็กไฟฟาชนิดคล่ืนส้ัน (ไมเกิน 3 µm) ไมรวมพลังงานคล่ืนยาวท่ีไดจากการแผรังสีของโลกและบรรยากาศ ในกรณีท่ีผิวรับแสงเปนพ้ืนระนาบในแนวนอน รังสีรวมจะประกอบดวย รังสีตรงจากทองฟาและรังสีกระจายจากทองฟาเทานั้น คือ ครึ่งวงกลมของทองฟานั่นเอง รังสีรวมในกรณีนี้เราเรียกวา Global Radiation เม่ือผิวรับแสงเปนพ้ืนระนาบเอียง รังสีรวมจะประกอบดวย รังสีตรงจากทองฟา รังสีกระจายจากทองฟา และรังสีกระจาย (สวนใหญเปนการสะทอน) จากผิวโลก รังสีรวมนี้เรียกวา Total Radiation (อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.)

Page 22: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

12

ภาพที่ 2.6 แสดงลักษณะของการสะทอนรังสีจากผิววัตถุแบบตางๆ แหลงที่มา: อนุตร จําลองกุล, ม.ป.ป.

ภาพที่ 2.7 แสดงคารังสีแสงอาทิตยในจังหวัดกรุงเทพฯตั้งแตป 1964-2008 แหลงที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา, 2551 2.2.5ตําแหนงของดวงอาทิตย ความสัมพันธทางเรขาคณิตระหวางระนาบการหมุนของโลกท่ีเวลาใดๆกับรังสีตรง หรือตําแหนงของดวงอาทิตยเม่ือเทียบกับระนาบ สามารถอธิบายไดดังภาพท่ี 3.1 ประกอบดวยมุมตางๆดังนี ้

2.2.5.1 มุมละติจูด (Latitude, Lφ ) คือ ระยะหางเชิงมุมจากศูนยสูตรทองฟา หรือมุมท่ีอยูทางทิศเหนือหรือทิศใตของเสนศูนยสูตร เม่ือวัดไปทางทิศเหนือกําหนดใหมีคาเปนบวก และเปนลบเม่ือวัดไปทางทิศใต ละติจูดมีคาอยูระหวาง –90 องศา ถึง 90 องศา

Page 23: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

13

ภาพที่ 2.8 ตําแหนงและการเคล่ือนท่ีของดวงอาทิตย

แหลงที่มา: กฤษณพงศ กีรติกร, ม.ป.ป.: 26

2.2.5.2 มุมเอียง (Slope, sβ ) คือ มุมระหวางพ้ืนผิวของระนาบรับแสงกับแนวระดับ มีคาอยูระหวาง 0 องศา ถึง 180 องศา 2.2.5.3 มุมช่ัวโมง (Hour Angle,ω ) คือ มุมท่ีแทนตําแหนงของดวงอาทิตยจากเมอริเดียนทองถ่ินไปทางตะวันออกหรือทางตะวันตก มีคาเปนลบในชวงเวลากอนเท่ียงสุริยะ และเปนบวกหลังเท่ียงสุริยะ โดยท่ีมีคา 15 องศา ตอหนึ่งช่ัวโมง

2.2.5.4 มุมเดคลิเนช่ัน (Declination Angle,δ ) คือ มุมระหวางแนวลําแสงอาทิตยเม่ือเท่ียงสุริยะกับระนาบศูนยสูตร กําหนดใหมีคาเปนบวกเม่ือวัดไปทางทิศเหนือ และมีคาเปนลบเม่ือวัดไปทางทิศใต มุมเดคลิเนช่ันมีคาเปล่ียนไปทุกวันระหวาง -23.45 องศา ถึง 23.45 องศา (กฤษณพงศ กีรติกร, ม.ป.ป.: 28) สามารถคํานวณไดจากสูตร

28423.45sin 360365

+ =

2.2.5.5 มุมอัลติจูดดวงอาทิตย (Solar Altitude Angle, sα ) คือ มุมระหวางพ้ืนราบกับแนวลําแสงอาทิตย มุมอัลติจูดดวงอาทิตยท่ีเวลาใดๆ สามารถคํานวณไดจากสมการ

δφωφφα sinsincoscoscossin +=s

S γ s

SUN ZENIT W

N

E

Z

θ i

γ

Page 24: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

14 2.2.5.6 มุมอะซิมุธพ้ืนดิน (Surface Azimuth Angle, gγ ) คือ มุมระหวางทิศใตกับการหันหนาของแผงรับแสง มีคาอยูในชวง -180 องศา ถึง 180 องศา โดยเปนศูนยเม่ือหันหนาไปทางทิศใต เปนบวกเม่ือหันหนาไปทางทิศตะวันตก และเปนลบเม่ือหันหนาไปทางทิศตะวันออก 2.2.5.7 มุมอะซิมุธดวงอาทิตย (Solar Azimuth Angle, sγ ) คือ มุมระหวางระนาบแนวดิ่งของดวงอาทิตยและระนาบของเมอริเดียนทองถ่ิน โดยกําหนดใหวัดจากทิศใตของระนาบแนวดิง่ดวงอาทิตยไปทางทิศตะวันตกมีคาเปนบวก วัดไปทางทิศตะวันออกมีคาเปนลบ และมีคาเปนศูนยท่ีทิศใต มุมอะซิมุธดวงอาทิตยมีคาอยูในชวง –180 องศา ถึง 180 องศา (กฤษณพงศ กีรติกรม.ป.ป.: 28) สามารถคํานวณไดจากสมการ

ss α

ωδγ

cossincossin =

2.2.5.8 มุมตกกระทบ (Incidence Angle, θ ) คือ มุมระหวางแนวลําแสงอาทิตยบนพ้ืนผิวกับแนวตั้งฉากของพ้ืนผิว ความสัมพันธระหวางมุมตกกระทบและมุมอ่ืน ๆ สามารถคํานวณไดจาก

ωγβφδωγβφδωβφδγβφδβφδθ

sinsinsinsincoscoscossinsincoscoscoscoscoscossincossincossinsincos

+++−=

กรณีพ้ืนราบ ( 0=β องศา) มุมตกกระทบ คือ มุมซีนิธ δφωδφθ sinsincoscoscoscos +=z

พ้ืนผิวรับแสงและมุมตางๆท่ีเกี่ยวของ สามารถนําไปหาคามุมช่ัวโมงพระอาทิตย (Sunset Hour Angle, sω ) เม่ือ zθ = 90 องศา

δφω tantancos −=s และสามารถหาความยาวนานวันไดจากสมการ

( )15

tantancos2 1 δφ−=

N

2.2.5.9 ความยาวนานวัน (Day Length) หมายถึงระยะเวลาตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนกระท่ังตกในแตละวันของละติจูดใดๆ คานี้มีความผันแปรขึ้นอยูกับมุมช่ัวโมงการขึ้นของดวงอาทิตย

Page 25: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

15

2.3 การถายเทความรอน (Heat transfer) การถายเทความรอนคือการเคล่ือนของอุณหภูมิท่ีมีคาแตกตางกัน ซ่ึงมีลักษณะการถายเทความรอน 3 แบบคือ การนําความรอน (Conduction) การพาความรอน (Convection) และการแผรังสี (Radiation) 2.3.1 การนําความรอน (Conduction) การนําความรอนคือวิธีการท่ีความรอนเคล่ือนท่ีจากบริเวณอุณหภูมิสูงไปยังบริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่ําภายในตัวกลางเดียวกัน หรือเปนการเคล่ือนท่ีของความรอนระหวางตัวกลางท่ีติดกัน และมีอุณหภูมิตางกัน ในการนําความรอนความรอนจะเคล่ือนท่ีผานโมเลกุลของสสาร โดยท่ีโมเลกุลไมเคล่ือนท่ี การนําความรอนจะเกิดขึ้นไดดีมากในตัวกลางท่ีเปนของแข็ง การเคล่ือนท่ีของความรอนแบบการนําเกิดขึ้นไดบางในของเหลวและกาช แตมักจะแยกไมออกจากการเคล่ือนท่ีของความรอนแบบการพา ความรอนเคล่ือนท่ีโดยการนําไดโดยการเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนจากจุดท่ีมีอุณหภูมิสูงไปสูจุดท่ีมีอุณหภูมิต่ํา นอกจากนี้ความรอนยังเคล่ือนท่ีไปไดโดยการส่ันสะเทือนของโมเลกุลภายในของแข็งในลักษณะของพลังงานของความส่ันสะเทือน(Vibration energy) อีกดวย หลักการคํานวณเกี่ยวกับการนําความรอนถูกตั้งขึ้นโดย โจเซฟ โฟริเออร (Joseph Fourier) นักวิทยาศาสตรชาวฝรั่งเศส โฟริเออร ไดเสนอสมการท่ีใชสําหรับคํานวณอัตราการเคล่ือนท่ีของความรอนโดยการนํา ในป ค.ศ. 1822 (นักสิทธ คูวัฒนาชัย, 2533: 1) โดยอาศัยขอมูลจากการทดลองไวดังนี ้คือ

Qx = -kA (dT/dx) โดย k คือการนําความรอน (Thermal conductivity) ของสสาร ท่ีความรอนเคล่ือนท่ีผานมีหนวยเปน W/mK ในระบบ SI และ Btu/ft hr oF ในระบบอังกฤษ A เปนพ้ืนท่ีท่ีตั้งฉากกับการเคล่ือนท่ีของความรอน และ dT/dx และ เปนอัตราการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิกับระยะทาง สมการนี้เรียกวา Fourier rate equation ซ่ึงเปนสมการท่ีไดมาโดยอาศัยผลการทดลอง สมการนี้เราสามารถหาสมการอ่ืนๆ เพ่ือใชใหเปนใหเปนประโยชนในการคํานวณเกี่ยวกับการเคล่ือนท่ีของความรอนโดยการนําได (นักสิทธ คูวัฒนาชัย, 2533: 2) 2.3.2 การพาความรอน (Convection) การพาความรอน คือวิธีการท่ีความรอนเคล่ือนท่ีระหวางผิวของของแข็งและของไหล ของไหลจะไมเปนตัวพาความรอนมาให หรือพาความรอนจากผิวของของแข็ง กลไกท่ีทําใหเกิดการ

Page 26: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

16 เคล่ือนท่ีของความรอนการพาไดนั้น เกิดจากผลรวมของการนําความรอน การสะสมพลังงานและการเคล่ือนท่ีของของไหล การพาความรอนยังแบงไดเปน 2 ชนิดคือการพาโดยการบังคับ (Forced convection) และการพาตามธรรมชาติ (Natural หรือ free convection) การพาโดยการบังคับ (Forced convection) คือการเคล่ือนท่ีของความรอนระหวางผิวของของแข็งและของไหล โดยท่ีของไหลถูกบังคับใหเคล่ือนทีไปสัมผัสกับผิวของของแข็งโดยกลไกภายนอก เชนพัดลม หรือเครื่องสูบน้ํา การพาตามธรรมชาติ (Natural หรือ free convection) คือการเคล่ือนท่ีของความรอนระหวางผิวของของแข็งและของไหล โดยไมมีกลไกใดๆท่ีทําใหของไหลเคล่ือนท่ีแตของไหลท่ีอยูใกลกับผิวของของแข็งก็อาจเคล่ือนท่ีไดโดยแรงลอยตัวของของไหลเอง แรงลอยตัวนี้เกิดจากความแตกตางของความหนาแนนของของไหล เชน ความหนาแนน ความรอนจําเพาะ ความหนืด เปนตน ความเร็วของของไหล ความแตกตางระหวางอุณหภูมิของพ้ืนผิวของของแข็งและของไหล นิวตัน (Newton) ไดตัดปญหาความยุงยากเหลานี ้ โดยเสนอสมการสําหรับคํานวณอัตราการเคล่ือนท่ีของความรอนโดยการพาดังนี ้

q = h (Th-Tc) โดยท่ี h คือสัมประสิทธิการพาความรอน (Heat transfer coefficient) ซ่ึงไดรวมเอาความยุงยากท้ังหมดไว ถาเรารูวิธีการคํานวณคาสัมประสิทธิการพาความรอนได เราก็คํานวณอัตราการเคล่ือนท่ีของความรอนโดยการพาได สมการสําหรับคํานวณคาสัมประสิทธิของการพาความรอนสวนใหญจะเปนสมการชนิดเอมไพริกัล (Empirical equation) h มีหนวยเปน w/m2K ในระบบ SI q คืออัตราการถายเทความรอนตอพ้ืนท่ีของของแข็งท่ีสัมผัสกับของไหล Th คืออุณหภูมิท่ีรอนกวา (ของของไหล หรือ พ้ืนผิวของของแข็ง ) Tc คืออุณหภูมิท่ีเย็นกวา (นักสิทธ คูวัฒนาชัย, 2533: 3) 2.3.3 การแผรังสี (Radiation) ในการแผรังสี ความรอนเคล่ือนท่ีไดโดยมิตองอาศัยตัวกลาง เชน ในการนําและการพาในการแผรังสี ความรอนเคล่ือนท่ีไดดีท่ีสุดในสูญญากาศ การท่ีอธิบายวา ความรอนเคล่ือนท่ีไดอยางไรนั้น เปนส่ิงท่ียากท่ีจะอธิบายใหเห็นพฤติกรรมทางกายภาพได ไดมีผูพยายามเสนอทฤษฎีเกี่ยวกับการแผรังสีมาหลายราย แตไมคอยเปนท่ีนาพอใจนัก ทฤษฎีท่ีเปนท่ียอมรับมากท่ีสุดในขณะนี้ เปนทฤษฎีท่ีเสนอโดย ไอนสไตน (Einstein) ซ่ึงกลาววาในการแผรังสีความรอนเคล่ือนท่ีโดยอาศัยกลไกของคล่ืนแมเหล็กไฟฟา สําหรับวิศวกร วิธีการท่ีความรอนเคล่ือนท่ีโดยการแผรังสี อาจจะไมมีความสําคัญเทากับท่ีจะรูวิธีคํานวณหาอัตราการเคล่ือนท่ีของความรอนโดยการแผรังสี ในป 1884 สตีแฟน และ โบลซแมน (Stefan and Boltzmann) ไดเสนอสมการในการคํานวณอัตราการเคล่ือนท่ีของความรอนสูงสุดโดยการแผรังสีจากวัตถุท่ีมีพ้ืนท่ี A และอุณหภูมิ T ดังนี ้

Page 27: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

17

Q = σ AT4

โดยท่ี σ คือคาคงท่ีของสตีเฟนและโบลซแมน (Stefan-Boltzmann constant) ซ่ึงมีคา 5.67x10-8 W/m2 K4 สมการนี้สามารถท่ีจะนําไปใชในการคํานวณ เพ่ือประโยชนในการออกแบบเครื่องมือตางๆได ในปจจุบัน ปญหาของการแผรังสีกําลังมีผูสนใจมากเปนพิเศษ เนื่องจากขาดแคลนพลังงาน พลังงานแสงอาทิตยซ่ึงไดจากการแผรังสีดวงอาทิตยมายังโลก เปนแหลงพลังงานท่ีอาจนํามาใชทดแทนพลังงานท่ีใชอยูในปจจุบับได วัตถุท่ีจะใหคาการแผรังสีความรอนสูงสุดตามสมการหาคา Q โดยไมนําสัมประสิทธิการแผรังสีมาคิดเรียกวาวัตถุอุดมคติ (Ideal body) หรือวัตถุดํา(Black body) วัตถุท่ีมีอยูท่ัวๆไปจะแผรังสีไดนอยกวาวัตถุอุดมคติการแผรังสีความรอนจากวัตถุโดยท่ัวๆไปท่ีมีอุณหภูมิ T และพ้ืนท่ี A จะเขียนไดดังนี ้

Q = εσ AT4 โดยท่ี ε คือคุณสมบัติทางการแผรังสีความรอนของวัตถุซ่ึงเรียกวา คาการแผรังสี (Emissivity)ซ่ึงเปนปริมาณท่ีแสดงถึงประสิทธิภาพการแผรังสีความรอนของวัตถุ เม่ือเปรียบเทียบกับวัตถุท่ีสามารถแผรังสีความรอนไดสูงสุด ε จะมีคานอยกวา 1 เสมอ โดยสมการนี้ใชสําหรับหาอัตราการแผรังสีความรอนของวัตถุท่ีมีพ้ืนท่ี A การท่ีจะหาอัตราการแลกเปล่ียนความรอน โดยการแผรังสีความรอน ระหวางวัตถุสองช้ินท่ีมีอุณหภูมิตางกันนั้นยุงยากมาก หากเราพิจารณากรณีการแลกเปล่ียนความรอนระหวางวัตถุเล็กท่ีมีพ้ืนท่ีผิว A และคาการแผรังสีความรอน ε กับวัตถุใหญซ่ึงครอบคลุมวัตถุเล็กอยู โดยท่ีวัตถุเล็กมีอุณหภูมิ Tb และวัตถุใหญมีอุณหภูมิ Tc เราจะเขียนอัตราการแลกเปล่ียนความรอนสุทธิของวัตถุท้ังสองไดดังนี้คือ

Qn = εσ A(Th4- Tc

4 ) เราอาจจะเขียนสมการสําหรับอัตราการแลกเปล่ียนความรอนสุทธิตอไปไดดังนี้คือ

Qn = εσ A (Th-Tc)(Th+Tc) (Th2- Tc

2 ) ในหลายกรณี จะเปนการสะดวกมากถาเราเขียนสมการใหอยูในรูปดังนี้คือ

Qn = hr A (Th- Tc )

โดยท่ี hr = εσ(Th+Tc) (Th2- Tc

2 ) h = คือสัมประสิทธิของการแผความรอน (Radiation heat transfer coefficient) (นักสิทธ คูวัฒนาชัย, 2533: 3)

Page 28: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

18

2.4 ลักษณะพืชพรรณไม การศึกษาวิจัยนี้เปนการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและประเภท รวมท้ังคุณสมบัติตางๆของพืชพรรณไม 2.4.1 ประเภทของพืชพรรณไม พืชพรรณไมตางๆท่ีนํามาปลูกประดับตกแตงภูมิทัศนหรืออาคารนั้น มีมากมายหลายประเภท การนํามาใชในงานตางๆจึงมีขอพิจารณาตางๆกันมากมายเชน ชนิด ประเภท ขนาด อุปนิสัย การเจริญเติบโต ระยะการปลูก รูปทรง สีสัน การใหดอกใหผล สภาพท่ีปลูก การทนตอสภาพดินฟาอากาศ ฯลฯ ดังนั้นการจําแนกพืชพรรณไมเพ่ือความเหมาะสมกับการใชงานจะทําใหการนําพันธไมมาใชเปนไปตามวัตถุประสงคและความตองการของผูใชไดมากยิ่งขึ้น หลักเกณฑจําแนกพรรณไมท่ีนิยมใชกันมากท่ีสุดในทางพฤกษศาสตร คือ การจําแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร (Botanical character) แบงไดเปน 5 ประเภท คือ 2.4.1.1 ไมยืนตน (Trees) ไมยืนตนท่ีมีขนาดเล็กจะสูงประมาณ 4-6 เมตร ขนาดกลางสูงประมาณ 7-15 เมตร และขนาดใหญสูง 16 เมตรขึ้นไป มีกิ่งกานลําตนแผสาขากวางใหญ เชน ประดู สน อินทนิล 2.4.1.2 ไมพุม (Shrubs) ไมพุมมีลักษณะแผกิ่งกานสาขาขนาดเล็กในระดับใกลผิวดินเปนกลุมกอ ไมพุมเตี้ยสูง 40-90 เซ็นติเมตร ไมพุมกลางสูง 1-2 เมตร ไมพุมใหญ สูง 3-5 เมตร เชน เข็ม ทรงบาดาล โกสน 2.4.1.3 ไมเล้ือย ไมเถา (Climbers) ไมเล้ือยจะมีเถาเล้ือยเกาะเกี่ยววัตถุอ่ืนไปตามความยาวของยอด อาจมีหนามหรือมือจับชวย เชน อัญชัน พวงชมพู 2.4.1.4 ไมรอเล้ือย (Scandents) ไมรอเล้ือยมีลักษณะก้ํากึ่งระหวางไมเล้ือยกบัไมพุม คือหากมีหลักยึดเกาะพักพิงก็จะเล้ือยไปตาม หากไมมีหลักยึดเกาะก็ตัดแตงเปนไมพุมไดเชน เฟองฟา สายหยุด 2.4.1.5 ไมลมลุก( Herbs) ไมลมลุกจะมีลําตนขนาดเล็ก ออน อายุส้ัน เชน ดาวเรือง ดาวกระจาย บานช่ืน (มานพ สุภาพ่ึง, 2542: 20)

Page 29: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

19 ในการศึกษาวิจัยนี้จะมุงศึกษาขอมูลของพรรณไมท่ีนิยมนํามาปลูกเล้ียงเปนไมประดับ ตามท่ีสาธารณะ อาคารสํานักงาน และบานพักอาศัยท่ีอยูในเขตเมืองโดยท่ัวไปเทานั้น ไมรวมถึงพรรณไมท่ีจัดเปนไมปาหรือไมผลท่ีปลูกเพ่ือผลการเกษตร 2.4.2 ลักษณะของพรรณไมที่นิยมปลูกเปนไมประดับ พรรณไมตางๆท่ีนิยมนํามาปลูกในลักษณะเปนไมประดับนั้นแยกเปน 4 ประเภทไดดังนี ้ 2.4.2.1 ไมตน (Trees) ไมตน หมายถึงพ้ืชท่ีมีเนื้อไม อาจเปนไมเนื้อออนหรือไมเนื้อแข็ง มีลําตนเดี่ยวและตั้งตรงสูง ขึ้นโดยมิตองอิงอาศัยผูอ่ืน แตกกิ่งกานสาขาในระดับสูงจากพ้ืนดินคอนขางมาก ทําใหเห็นลําตน (Trunk) ชัดเจน เรือนยอดมีรูปทรงตางๆกันไป นิยมใชเปนไมประดับท่ีเนนความสวยงามของลําตน เปลือกตน ทรงตน ลักษณะใบ รูปทรงเรือนยอดหรือทรงพุมใบ รูปรางและสีสัน ชอดอก ดอกผล หรือหลายอยางประกอบกัน (วชิรพงศ หวลบุตตา, 2542: 8) ลักษณะของการผลัดใบของไมตนแบงออกเปน 2 ลักษณะคือ 1. ไมผลัดใบ (Deciduous Tree) สวนใหญเปนพืชในเขตอบอุนหรือเขตหนาว ในฤดูรอนหรือในชวงท่ีอากาศแหงแลง ใบจะรวงท้ังตนหรือเกือบท้ังตน แลวผลิดอกท่ัวท้ังตน ดอกมักมีขนาดใหญ สีสันสะดุดตา เชนทองกวาว ราชพฤกษ ทองหลางดาง ไมผลัดใบท่ีปลูกในเขตรอนมักมีชวงระยะท้ิงใบส้ันมาก 2. ไมไมผลัดใบ (Evergreen Tree) มันเปนพืชท่ีอยูในเขตรอน นิยมปลูกเพ่ือใหรมเงา มีใบสีเขียวตลอดป บางชนิดมีสีของใบออนและใบแกท่ีแตกตางกันอยางชัดเจน ไมจําพวกนี้ดอกมักมีขนาดเล็ก สีไมสวยงาม

Page 30: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

20

ภาพที่ 2.9 ไมตนหรือไมยืนตน (Trees) ไมตนท่ีนํามาปลูกเปนไมประดับนั้นผูปลูกลวนมีวัตถุประสงคของการปลูกตางกัน ดังนั้นในการศึกษาพืชพรรณไมท่ีนิยมปลูกจึงตองแยกประเภทของพรรณไมตนตามวัตถุประสงคของการนําไปใชดังนี ้ 1. ปลูกเพ่ือบังแสงอาทิตยกระทบผนังอาคารหรือเพ่ือลดความรอนในบริเวณท่ีตองการลักษณะของพรรณไม นิยมใชไมไมผลัดใบ เรือนยอดแผกวาง ใบคอนขางดก ไมมีหนาม หรือน้ํายางท่ีเปนพิษ ไมมีระบบรากลอยหรือรากแข็งแรง พรรณไมท่ีนิยมใช ไดแก กระทิง จามจุร ีจามจุรีสีทอง ชมดพูพันธุทิพย ตะแบก นนทรี ประดู กระพ้ีจั่น พิกุล อโศกสปน 2. ปลูกเพ่ือสรางบรรยากาศ เชน บริเวณท่ีพักผอนหรือสนามกีฬา วัตถุประสงคหลักเพ่ือตองการรมเงา ใหความรมรื่น สรางบรรยากาศเงียบสงบ มีความสวยงามสบายตา ลักษณะของพรรณไม ไมท่ีเลือกใชสวนใหญเปนไมชนิดท่ีมีดอก มีกล่ินหอม เปนไมไมผลัดใบ แตกกิ่งกานในระดับสูงเหนือศรีษะ กิ่งกานไมเปราะหักงาย ไมมีหนามหรือน้ํายากท่ีเปนพิษ ระบบรากเปนรากลอยจะปลูกในท่ีโลงแจง ไมหางจากตัวอาคาร สวนไมท่ีมีระบบรากอากาสหอยยอย เชน ไทร หนวดปลาหมึก ก็นิยมปลูกเชนกัน พรรณไมท่ีนิยมใช ไดแก กระถินณรงค กระถินหางกระรอง กัลปพฤกษ ชงโค ตะแบก ตันหยง นนทรี ประดู พิกุล ลําดวน อโศกระยา อโศกสปน อินทนิลน้ํา 3. ปลูกบริเวณลาดจอดรถ วัตถุประสงคเพ่ือตองการรมเงา มีวามสะอาดสวยงาม เปนระเบียบเรียบรอยและปลอดภัย ลักษณะของพรรณไม มักเปนไมไมผลัดใบ เรือนยอดแผกวาง แตก

Page 31: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

21 กิ่งกานในระดับสูง กิ่งกานไมเปราะหักหรือฉีกขาดงาย ใบและดอกไมรวงมากนัก ไมมีผลหรือสวนใดๆท่ีนกหรือสัตวอ่ืนชอบ ไมมีน้ํายาง ไมมีระบบรากลอยหรือรากแข็งแรง พรรณไมท่ีนิยมใช เชน ประดู 4. ปลูกเปนไมถนน วัตถุประสงคเพ่ือตองการรมเงาและใหความสวยงามสบายตาแกผูใชรถใชถนน ลักษณะของพรรณไม เปนไมไมผลัดใบ เรือนยอดหนาทึบ ไมมีกิ่งหอยยอย ใบมีขนาดคอนขางเล็ก เปนไมท่ีโตชา มีระบบรากแกวท่ีแข็งแรง ไมมีระบบรากลอย พรรณไมท่ีนิยมใช ไดแก ตะแบก ประดู กระพ้ีจั่น พิกุล เสลา อินทนิลน้ํา ปาลมบางชนิด 5. ปลูกเพ่ือบังลม วัตถุประสงคเพ่ือลดความแรงของลม ลักษณะของพรรณไม เรือนยอดคอนขางแคบสูง เชนรูปพีระมิด ทรงกระบอก ลําตน กิ่งกานออนและเหนียว ลูลมไดดี มีใบตั้งแตโคนถึงยอด ใบมีขนาดเล็กหรือใบเปนเสนยอย พรรณไมท่ีนิยมใช ไดแก แปรงลางขวด รัตมา หลิว อโศกอินเดีย สนทะเล สนประดิพัทธ 6. ปลูกเพ่ือบังสายตาหรือเพ่ือการตัดแตงรูปทรง ลักษณะของพรรณไม เปนไมตนท่ีมีรูปรางลักษณะเรือนยอดใบ การแตกกิ่งกานท่ีสวยงามแปลกตา หรือเปนไมตนท่ีสามารถตัดแตงรูปทรงตามตองการได พรรณไมท่ีนิยมใช เปนไมท่ีตองการรูปทรงสวยงามเปนพิเศษเชน ตีนเปดฝรั่ง พิกุล หลิว หลิวทอง รัตมา น้ําเตาตน ทองหลางดาง กระทิง สัตตบรรณ สนฉัตร สวนไมท่ีตัดแตงรูปทรงไดตามตองการเชน กระถิน มะขามเทศดาง สนประดิพัทธ ไทร (วชิรพงศ หวลบุตตา, 2542: 15-19) 2.4.2.2 ไมพุม (Shrubs) ไมพุม (Shurbs)ในท่ีนี้หมายถึง ไมพุมกลางและไมพุมเตี้ย หมายถึงพืชท่ีมีเนื้อไมทรงพุมเล็กหรือสูงไมเกิน 5 เมตร แตกกิ่งกานใกลกับผิวดิน ไมเห็นลําตนท่ีสูงชลูด มักมีลําตนขนาดเล็กอยูรวมกันเปนกลุม ซ่ึงตางจากไมตนท่ีมีลําตนเพียงตนเดียว

Page 32: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

22

ภาพที่ 2.10 ไมพุม(Shurbs) ไมพุมกลาง หมายถึง ไมพุมท่ีมีความสูงประมาณ 1-2 เมตร มักนิยมปลูกเพ่ือใชบังสายตา กําหนดขอบเขต หรือปลูกประดับรวมกับไมตน สวนไมท่ีมีการตัดแตงรูปทรงมักใชกับสวนประดิษฐพรรณไมท่ีนิยมใช เชน กลวยดาง กลวยแดง กามกุง โกสน ขาไกเขียว ขาไกดาง ขาไกไทย ขาวตอกพระรวง เข็มเชียงใหมและเข็มอ่ืนๆ ชบา ชวนชม ชองนาง ชา เทียนทอง เทียนหยด ปตตาเวีย ประทัดไตหวัน พัดโบก บานบุรีแคระ ผกากรองตน ผีเส้ือแสนสวย พยับเมฆ พยับหมอก พวงแสด แยมปนัง ราตร ีระฆังทอง ล้ินกระบือ เล็บครุฑ สาวนอยประแปง แสยก หูปลาชอน หนวดปลาดุกแคระ หวายไทย หีบไมงาม อังกาบ กนกลายไทยไมพุมเตี้ย หมายถึง ไมพุมท่ีมีความสูงไมเกินครึ่งเมตร มักนิยมปลูกเปนไมคลุมดิน หรือปลูกประดับรวมกับไมพุมกลาง พรรณไมท่ีนิยมใช เชน กาบหอยแครงแคระ การะเกดหนู กําแพงเงิน เดหลี เขียวหม่ืนป พลับพลึง ซุมกระตายเขียว คลา เตยหอม ผักโขมแดง หลิวญี่ปุน แพงพวยฝรั่ง เฟรนกางปลา เฟรนใบมะขาม ขาหลวงหลังลาย วานรางเงิน วานส่ีทิศ แววมยุรา เศรษฐีไซงอน แอหนัง ฤษีผสม หลิวญี่ปุน หลิวไตหวัน (นายผล คนสวน, 2542 อางถึงใน คํารพ สิริเฉลิมลาภ, 2546: 11)

Page 33: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

23 2.4.2.3 ไมเล้ือยหรือไมเถา (Climbers) ไมเล้ือย (Climbers) จะรวมไปถึงไมรอเล้ือยไมเล้ือยหรือไมเถา หมายถึง ไมลมลุกและไมเนื้อแข็งท่ีลําตนจะใหญโตตามอายุในขณะท่ีกิ่งกานจะยึดเกาะกับส่ิงอ่ืนเชน หลักหรือราน เปลือกของลําตน กิ่งไม กําแพง ฯลฯ ไมเล้ือยท่ีเปนไมดอกไมประดับนั้นมีอยูจํานวนมากมายหลายรอยชนิด ซ่ึงสามารถจําแนกออกเปน 3 กลุมใหญๆคือ 1. ไมรอเล้ือย (Scandents) ไมประเภทนี้บางเรียกวา ไมพุมกึ่งเล้ือยหรือไมพุมรอเล้ือย เปนพรรณไมท่ีมีลักษณะเปนพุมในระยะแรก ตอมาเม่ือมีความสมบูรณพรอมจะแตกกิ่งกระโดงยาวออกจากพุม เม่ือมีหลักหรือรานใหพาดพัน กิ่งนั้นก็จะกลายเปนเถาเล้ือยไปทันที พรรณไมท่ีเปนไมรอเล้ือยเชน เฟองฟา บานบุรี สายหยุด การเวก รวมท้ังมะลิพันธุตางๆ ไมรอเล้ือยมีประโยชนใชสอยคอนขางกวาง โดยสามารถตัดแตงควบคุมใหเปนแคไมพุม หรือปลอยใหเล้ือยขึ้นซุมเพ่ือใหรมเงาไดดีกวาไมเล้ือยธรรมดาท่ัวๆไป 2. ไมเถาเล้ือย (Climbers, Vines) หมายถึง พรรณไมท่ีมีลําตนเปนเถาเล้ือยท่ัวๆไป มีท้ังท่ีเปนไมเล้ือยลมลุกอายุส้ันและไมเล้ือยยืนตนอายุยนื พรรณไมเล้ือยอายุส้ันไดแก ไมเล้ือยในวงศแตงและฟกชนิดตางๆ ไมเล้ือยในวงศผักบุงเชน เถารกฟา และมอรนิ่งกลอรี่ท่ีมีดอกสวยงาม ไมจําพวกนี้อาจอยูไดหนึ่งถึงสามป จากนั้นเถาลําตนก็จะโทรมไป พวกท่ีเปนไมเล้ือยยืนตนอายุยืน มีตั้งแตขนาดเล็กเชน สายน้ําผ้ึง ขจร พวงชมพู พวงแสด มะลิวัลย ลัดดาวัลย ฯลฯ จนถึงขนาดกลางเชน สรอยอินทนิล เล็บมือนาง ฯลฯ และขนาดใหญเชน โยทะกา เถากระไดลิง และเถาใบสีทอง เปนตน ไมเล้ือยในกลุมนี้จะมีอวัยวะพิเศษชวยในการยึดเกาะเพ่ือพยุงเถาลําตนใหสามารถไตพันยึดเหนี่ยวบนวัตถุท่ีไมเล้ือยพักพิงอยูได เชน พวกแตงจะมีหนวดหรือมือจับ (Tendrill) เปนเสนขดคลายสปริงออกมาจากขอใบชวยในการยึดพัน หรือมีลักษณะคลายตะขอในไมเล้ือยในวงศกระดังงา 3. ไมเล้ือยอิงอาศัย (Epiphytic climber) หมายถึง พรรณไมเล้ือยท่ีสามารถขึ้นเกาะอิงอาศัยบนพ้ืนผิววัตถุอ่ืนๆท่ีไมใชพ้ืนดิน เชน อาจเปนบนเปลือกของลําตนและกิ่งไม บนกอนหิน หรือแมแตบนกําแพงคอนกรีตของอาคาร พรรณไมเล้ือยประเภทนี้ไดแก ตีนตุกแก ตนพลูดาง ฟโลเตนดรอนพันธุตางๆ เงินไหลมา ตนเดป สรอยใบโพธ์ิ สังวาลยพระอินทร โฮยาหรือนมตําเรีย และเฟรนหลายชนิดก็เปนไมเล้ือยอิง อาศัยเชนกัน อาทิ เฟรนนาคราชท่ีมีลําตนเปนเถายาว (อัศวิน ไทรสาคร, 2545 : 12)

Page 34: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

24

ภาพที่ 2.11 ไมเล้ือยหรือไมเถา (Climbers) 2.4.2.4. ไมคลุมดิน (Ground Cover) ไมคลุมดิน เปนพันธุไมท่ีมีพุมเตี้ย สูงประมาณ 0.3 เมตร ลักษณะการเจริญของพุมตนคอนไปทางเล้ือยมีอายุอยูไดนาน ตองการการดูแลรักษาไมมากนัก (เอ้ือมพร วีสมหมายและคณะ, 2539 : A) แบงได เปน 2 ประเภทใหญๆคือ ไมดอกและไมใบ ไมดอกสวนใหญชอบแสงแดดจัดเชน พิทูเนีย บานช่ืน ดาวเรือง สรอยไก คุณนายตื่นสาย ไมดอกดังกลาวสวนใหญมีอายุไมยาวนาน เม่ือหมดอายุการใชงานจะตองรื้อแปลงและปลูกใหม ไมดอกท่ีมีอายุหลายป เชน ยาหยา กระดุมทองเล้ือย เข็ม เข็มเชียงใหม เข็มอินเดีย สวนไมใบจะแตกตางกันไป บางชนิดชอบแสงรําไร หากไดรับแสงแดดจัดใบจะกรานไหมหรือตาย บางชนิดชอบแสงแดดจัด จึงจะมีสีสันสวยงามเชน ฤาษีผสม เทียนทอง แอหนัง แดงชาลี ผักโขมแดง ผักเปด ดาดตะกั่ว ดาดทับทิม เปนตน หากปลูกในท่ีรมตนมักจะยืดยาว ใบนอยและไมเกิดสีสัน (นายผล คนสวน, 2542 อางถึงใน คํารพ สิริเฉลิมลาภ, 2546: 13)

Page 35: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

25

ภาพที่ 2.12 ไมคลุมดิน (Ground Cover) นอกจากนี้ยังมีไมผลบางชนิดท่ีนิยมนํามาปลูกเปนไมประดับตามอาคารบานเรือนท่ัวไปดวยเชนกัน ซ่ึงจัดอยูในประเภทไมผลประดับ (Fruit Ornamental Plants) มักเปนไมท่ีมีรูปทรงสีสันสวยงาม บางชนิดรับประทานได เชน สมจี๊ด ทับทิมหน ูเชอรี่ ไมผลท่ีเปนไมตน เชนมะมวง มะยม มะขามเทศ พวกไมลมลุกไดแก มะละกอ ตําลึง ไมผลเหลานี้ไมไดปลูกเพ่ือวัตถุประสงคในการเก็บผลเพ่ือจําหนาย แตนิยมปลูกตามบริเวณบานพักอาศัยเพียงเพ่ือเก็บผลตามฤดูกาลสําหรับรับประทานในครัวเรือน หรือเพ่ือใหรมเงาแกบริเวณนั้น 2.4.3 ประโยชนของไมยืนตนที่มีตอสภาวะแวดลอม ในสภาพภูมิอากาศรอนช้ืนแบบบานเรานั้น การพ้ืนท่ีสีเขียวขนาดใหญเปนจํานวนมาก เปนปจจัยหนึ่งท่ีจะชวยลดความรุนแรงของอุณหภูมิอากาศในเวลากลางวันไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะพ้ืนท่ีสีเขียวจะใชพลังงานความรอนจากดวงอาทิตยและสภาพแวดลอมในการดํารงชีวิต โดยการดูดเอาน้ําจากใตดินขึ้นมาแปลงสภาพใหเปนไอน้ําผานออกทางปากใบ 2.4.3.1 การลดความรอนการบรรเทาภูมมิอากาศและการลดแสงสะทอน กระบวนการสังเคราะหแสงดังกลาวจะตองใชพลังงานความรอนประมาณ 2.3 เมกะจูล (2,200 บีทียู) เพ่ือทําใหน้ํา 1 ลิตร เปล่ียนเปนไอ ดังนั้นอาจประมาณการไดวาในชวงเวลากลางวัน (12 ช่ัวโมง) ถาหากตนไมขนาดใหญตนหนึ่งสามารถดูดน้ําจากดินขึ้นมาแลว แปลงสภาพน้ําเปนไอในอัตราประมาณ 65 ลิตรตอวัน ตนไมตนนั้นจะมีความสามารถในการลดความรอน

Page 36: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

26 ใหกับสภาพแวดลอมเทียบเทากับเครื่องปรับอากาศขนาด 1 ตัน หรือประมาณ 12.66 เมกะจูลตอช่ัวโมง (12,000 บีทีย ูตอช่ัวโมง)

ภาพที่ 2.13 แสดงการใชตนไมบังรังสีแสงอาทิตย แหลงที่มา : ธนาวุฒิ ขุนทอง, 2553 การจัดระบบพ้ืนท่ีวางภายนอก (Organization of System of Outdoor Space) ดวยการปลูกตนไมคลุมบริเวณหรือการใชตนไมตกแตงอาคารเปนส่ิงสําคัญ เพราะรมเงาของตนไมจะชวยลดความรอนและลดแสงสะทอน นอกจากนี้ก็ยังชวยรักษาสภาพพ้ืนดิน ชวยลดเนื้อท่ีกระจายความรอน และชวยปกคลุมพ้ืนดินใหเกิดความรมเย็น ในบริเวณท่ีมีอากาศแหงมากก็ชวยเพ่ิมความช้ืนในอากาสไดด ี(สุนทร บุญญาธิการ, 2541: 19) 2.4.3.2 การบรรเทาปรากฏการณเกาะความรอน (Urban Heat Island) เม่ือพ้ืนดินท่ีเคยถูกปกคลุมดวยธรรมชาติถูกแทนท่ีดวยตึกขนาดใหญ ถนน ทางเทาและ ส่ิงกอสรางอ่ืนๆ ส่ิงกอสรางเหลานี้จะดูดความรอนจากดวงอาทิตยไวมากกวาท่ีธรรมชาติเคยทําได สงผลใหอุณหภูมิของพ้ืนผิวและของพ้ืนผิวและของอากาศบริเวณท่ีเพ่ิมสูงขึ้น การสูญเสียพ้ืนท่ีสีเขียวและพุมไมปาละเมาะไดไปทําลายกระบวนการระบายความรอน ออกไปจากบริเวณท้ังสวนท่ีทําใหเกิดรมเงาและสวนท่ีทําใหเกิดการระเหยของน้ําจากใบไม (Evapotranspiration) ซ่ึงจะนําความเย็นมาสูบริเวณนั้น เกาะแหงความรอนนี้สามารถเกิดขึ้นไดทุกฤดูกาลและทุกเวลา การทําสวนหลังคาก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งท่ีชวยในการเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวและลดอุณหภูมิใหกับอาคารและใหกับการเมือง อุณหภูมิพ้ืนผิวของสวนดาดฟาหลังคาอาจต่ํากวาอุณหภูมิพ้ืนผิวของหลังคาท่ัวไปไดถึง 50 องศาเซลเซียส

Page 37: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

27 2.4.3.3 การกรองฝุนและมลพิษในอากาศ ไมยืนตนสามารถดูดซับผงฝุนละเอียดและมลพิษจากอากาศในระหวางการคายน้ําพรอมกันท้ังปลอยออกซิเจนออกมาจึงชวยทําใหมลพิษในอากาศเบาบางลง นอกจากนี้การดูดความรอนแฝงระหวางการคายน้ําก็ยังทําใหอุณหภูมิในบริเวณลดลง เปนผลใหเกิดหมอกควันลดลง พ้ืนท่ีสีเขียวชวยขจัดผงฝุนจากดินทราย เกสรดอกไม และละอองควัน โดยผิวใบ กิ่ง กาน ท่ีเปนตัวจับ และการคายน้ํายังชวยเพ่ิมความช้ืนในอากาศทําใหฝุนละอองเล็กๆ ในอากาศช้ืนมีน้ําหนักตกลงสูพ้ืนเร็วขึ้น ถนนสาธารณะท่ีปราศจากตนไมจะตรวจพบฝุนละอองเปนจํานวนมากถึง 10,000 – 20,000 อณูตออากาศ 1 ลิตร เม่ือเทียบกับถนนสภาพเดียวกันในบริเวณใกลเคียงแตรมรื่นดวยตนไม นับละอองไดเพียง 3000 อณู ตอ 1 ลิตรของอากาศ นอกจากนี้ยังพบวายังมีพ้ืนท่ีสีเขียวท่ีมีพุมไมหนาแนนสามารถกรองละอองอากาศได และทําใหปริมาณฝุนละอองลดลงเหลือไดระหวาง 1 ใน 100 หรือ 1 ใน 4 จากปริมาณเดิม (เดชา บุณค้ํา, 2543: 8) ตนไมสมารถดูดซับมลพิษทางอากาศบางชนิดได เชน คารบอนมอนอกไซด โดยการดูด ซับทางใบ ตนไม ท่ี มี อัตราการดูด ซับคารบอนไดออก ไซดปานกลาง มีค าก ารดู ด ซับ เฉ ล่ียประมาณ 12 ถึ ง 120 กิ โลกรั ม คารบอนมอนอกไซด ตอตารางกิโลเมตรของพ้ืนดินตอวัน (Bidwell and Fraser, 1972 อางถึงใน กรมปาไม, ม.ป.ป.) 2.4.3.4 การดูดสารพิษประเภทโลหะหนัก ไมยืนตนมีความสามารถดูดเอาอณูสารท่ีเปนโลหะหนักจากอากาศเขาทางปากใบไดเปนจํานวนมาก ผลการวิจัยในตางประเทศพบวา ตนไมใหญขนาดเสนผาศูนยกลางลําตน 30 เซนติเมตร วัดท่ีระดับอก (ตนซูการเมเปล) จะมีความสามารถดูดละอองอณูโลหะหนัก ไดดังนี ้แคดเมียม 60 มิลลิกรัม/ป นิเกิล 820 มิลลิกรัม/ป โครเมียม 140 มิลลิกรัม/ป ตะกั่ว 5200 มิลลิกรัม/ป 2.4.3.5 การลดหรือเพ่ิมความเร็วลม ไมยืนตนและไมพุมหนาๆ ทําหนาท่ีเปนแนวตานทานลม (Wind Breaker) ไดดี สามารถลดกําลังลมไดรอยละ 50 ในระยะทางสิบเทาของความสูงของตนไมนั้น นอกจากนี้เราสามารถใชพ้ืนท่ีสีเขียวเปนตัวกีดขวาง (Block) และเปล่ียนทิศทางลมไดหรือบังคับใหลมผานชองทางเขาไปยังท่ีตองการภายในอาคาร ลดปริมาณลมหวน (ลมท่ีพัดเขาสูกลุมอาคาร แลวปะทะอาคารสูงๆ แลวเกิดกระแสลมหมุนกลับ) 2.4.3.6 การลดเสียงรบกวน วัสดุพืชพันธุสามารถชวยลดระดับเสียงลงไดตั้งแตประมาณ 5-15 เดซิเบล ท้ังนี้ขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ เชน ความสูง ความหนาแนน ความกวาง และตําแหนงท่ีอยู ประกอบกับทิศทางลม ความเร็วลม อุณหภูมิ และความช้ืน เปนตน วัสดุพืชพันธุท่ีมีความสามารถในการลดเสียงไดเปน

Page 38: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

28 อยางดี อยางไรก็ตามวัสดุท่ีมีขนาดใหญและหยาบ จะมีความสามารถในการกระจายเสียงท่ีมีความถ่ีต่ํา เชน เสียงดังท่ีเกิดจากการเริ่มเคล่ือนท่ีออกไปของรถบรรทุก เปนตน สวนวัสดุพืชพันธุท่ีมีขนาดใบเล็ก มีผิวละเอียด และมีกลุมใบหนาแนนจะมีความสามารถในการกระจายเสียงท่ีมีความถ่ีสูงจนถึงปานกลาง โดยวัสดุพืชพันธุท่ีใชกันเสียงควรประกอบดวยไมยืนตนและไมพุมประกอบกัน

ภาพที่ 2.14 การใชไมเล้ือยมาประกอบอาคาร แหลงที่มา: พาสินี สุนากร, 2553: 58

ภาพที่ 2.15 การใชพืชเปนแผงกันแดดไมเล้ือย

Page 39: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

29 แหลงที่มา: พาสินี สุนากร และชนิการ ยิ้มประยูร, 2551 2.5 สภาวะอยูสบาย (Human Comfort) เปาหมายของการออกแบบสถาปตยกรรมโดยใชพืชพรรณไมประกอบอาคารเพ่ือลดความรอนท่ีเขาสูอาคารก็เพ่ือท่ีจะสรางหรือกอใหเกิเดความสุขสบายสูงสุดแกผูใชอาคาร ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองศึกษาถึงองคประกอบท่ีสําคัญท่ีจะมีผลกระทบตอระดับของภาวะความสบายทฤษฎีและแนวความคิดท่ีเกี่ยวกับความสบาย เพ่ือนํามากําหนดบรรทัดฐานสภาวะความสบาย (Comfort Effective Temperature) 2.5.1 สภาวะสบายของมนุษย (Human Comfort) สภาวะสบาย หมายถึง สภาวะท่ีอากาศมีอุณหภูมิลม และความช้ืนในอากาศท่ีพอเหมาะท่ีทําใหรางกายมนุษยรูสึกสบาย ไมรอนหรือหนาวเกินไป รางกายไมมีเหง่ือ ไมมีไอน้ําในอากาศท่ีมากเกินไปจนช้ืนหรือนอยเกินไปจนแหงหายใจไมสะดวก อัตราความเร็วลมท่ีเหมาะสมไมรบกวนจนรูสึกได (มาลินี ศรีสุวรรณ, 2541: 1) สภาวะท่ีมนุษยรูสึกสบายนั้นอยูในสภาพแวดลอมท่ีกวางและมีองคประกอบอ่ืนๆ เชน กล่ิน ควัน เสียง แสง มิใชจํากัดอยูเพียงสภาวะหนึ่งเทานั้น บุคคลท่ีอยูในสภาพแวดลอมท่ีเหมือนกันจะมีความรูสึกไมเหมือนกันก็ได ซ่ึงเนื่องมาจากความแตกตางในอัตราการเผาผลาญของรางกาย (Metabolism) ซ่ึงมีผลกระทบโดยตรงจากอัตราการเคล่ือนไหวทํางาน สภาพรางกาย รวมถึงสภาพสุขภาพ อายุ ความเหนื่อยลา และปจจัยทางดานวัฒนธรรมกับจิตวิทยา (ธนิต จินดาวนิต, 2537: 11) ดังนั้น กระบวนการสรางความรอนและขับความรอนในรางกายจึงมีสวนอยางยิ่งในการพิจารณาเกี่ยวกับการออกแบบเพ่ือควบคุมใหอาคารอยูในภาวะสบาย 2.5.1.1 การเพ่ิมความรอนในรางกาย (The Body’s Heat Production) รางกายของมนุษยสามารถท่ีจะสรางความรอนไดทุกเวลาจากกิจกรรมตางๆ จากการทํางาน การออกกําลังกาย จากการยอยอาหาร จากการตึงเครียดของกลามเนื้อ จากการดูดซึมพลังงานแสงอาทิตย จากไฟฟาหรือรังสีความรอนอ่ืนๆ จากการสัมผัสวัสดุท่ีรอนกวา หรือจากอากาศอับช้ืนเหลานี้ลวนแตเปนการสรางความรอนใหแกรางกายท้ังส้ิน พลังงานท้ังหมดนี้ไดมาจากการบริโภคและยอยอาหารหรือการเผาผลาญอาหาร (Metabolism) พลังงานดังกลาวรางกายจะใชเพียงสวนหนึ่งและอีกสวนหนึ่งจะสูญเสียออกไป 2.5.1.2 การรักษาสมดุลยความรอนในรางกาย (The Body’s Heat Balance)

Page 40: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

30 โดยปกติรางกายมนุษยจะผลิตความรอนอยูตลอดเวลา และก็สามารถท่ีจะลดความรอนไดโยมีอุณหภูมิในสภาพแวดลอมต่ํากวาอุณหภมิูในรางกาย ซ่ึงจะถูกควบคุมใหอยูในอุณหภูมิไมเกิน 37.5 °C การควบคุมอุณหภูมิใหคงท่ีนี้ทําใหเกิดความสมดุลยทางความรอน (Heat Balance) ขึ้น รางกายมนุษยใชพลังงานจากกระบวนการเผาผลาญอาหาร(Metabolism) เพียง 20% ท่ีเหลือเปนพลังงานความรอนท่ีรางกายตองขับออกไปถึง 4 เทาของพลังงานท่ีใช เพ่ือท่ีจะรักษาสมดุลยของอุณหภูมิภายในใหคงท่ี ในการระบายความรอนของรางกายใหกับส่ิงแวดลอมนี้ 80% เปนการระบายความรอนโดยการพา (Convection) และการแผรังสี (Radiation) สวนท่ีเหลือ 20% จะระบายออกไปโดยการระเหย (Evaporation) และเพียงเล็กนอยโดยการนํา (Conduction) สัดสวนของการระบายความรอนดวยวิธีตางๆ จะแปรผันตามสภาวะแวดลอมของอากาศ (ปรีชญา รังสิรักษ, ม.ป.ป)

ภาพที่ 2.16 อัตราการระบายความรอนออกจากรางกายโดยวิธีตางๆ แหลงที่มา: อัศวิน ไทรสาคร, 2545: 65 จะเห็นไดวาหากสภาพแวดลอมมีความสมดุลยกับกระบวนการรักษาความรอนและการถายเทความรอนในรางกายมนุษยก็จะรูสึกสบาย ซ่ึงปจจัยหลักทางดานสภาพแวดลอมท่ีมีผลกระทบตออัตราการระบายความรอนจากรางกายและความรูสึกตอภาวะความสบายคือ 1. อุณหภูมิของอากาศ 2. ความช้ืนของอากาศ (วัดไดโดยอุณหภูมิเปยก) 3. การเคล่ือนไหวของลม 4. การแผรังสีจากบริเวณรอบๆ 2.5.2 มาตรฐานความสบาย (Comfort Scales)

Page 41: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

31 ไดมีความพยายามท่ีจะคิดคนท่ีวิธีการท่ีจะรวมเอาองคประกอบของสภาวะอากาศอันไดแก อุณหภูมิของอากาศ ความช้ืน ความเร็วลม และการแผรังสี ซึงมีผลตอระดับของภาวะความสบายโดยแสดงโดยตัวเลขเพียงคาเดียวเพ่ือมาตรฐานความสบายจะเปนผลรวมของปฏิกิริยาระหวางตัวแปรทางภูมิอากาศ มาตรฐานนี้เรียกวา “ดัชนีอุณหภูมิ (Thermal Indices)” หรือ “มาตรฐานความสบาย (Thermal Comfort Scales)” ตอมาไดมีการรวมเอาอัตราการเผาผลาญ (Metabolism) และเส้ือผาท่ีสวมใสมาคิดรวมไปดวย การทดลองหามาตรฐานความสบายนี้ไดทําการวัดและสังเกตุการณในหองปฏิบัติการท่ีสามารถปรับระดับภาวะของอากาศภายในหองได ลักษณะความสบายของมนุษยหรือเขตความสบายของมนุษยจะถูกบันทึกและเปรียบเทียบกับสภาะวภูมิอากาศเพ่ือพิสูจนความตองการและชนิดของการควบคุมความรอน มาตรฐานดัชนีท่ีช้ีถึงขนาดของอุณหภูมินั้นมีอยูหลายแบบ 2.5.2.1 The Effective Temperature Index (ET) Haughten yaglou และ Miller ปค.ศ.1953-1925 ในสรัฐอเมริกา ผลการทดลองไดบันทึกลงไปในแผนภูมิ ซ่ึงใชวัดดานของจิตใจ ทําในเกิดเสนความสบาย (Equal Comfort Lines) อุณหภูมินี้ไดมาโดยการปรับสภาวะอากาศในหองทดลองท่ีมีอากาศนิ่งและมีความช้ืน 100% มีตัวแปร 3 ตัวคือ อุณหภูมิ ความช้ืน และการเคล่ือนไหวของอากาศ 2.5.2.2 The Corrected Effective Temperature Index (CET) Vemon ปค.ศ.1962 พัมนามาจากมาตรฐาน E.T. ซ่ึงไดเพ่ิมตัวแปรอีกตัวหนึ่ง คือการแผรังสี วิธีการแกไขคือ การใชอุณหภูมิจาก Globe Thermometer มาใชใน Nomogram แทนท่ีอุณหภูมิกระเปาะแหง 2.5.2.3 The Equivalent Warmth Index (EW) Bedford ปค.ศ.1936 ในประเทศอังกฤษ ใชคนงานโรงงานอุตสาหกรรม 200 คน ในการทํางานเบาๆ ตัวแปรท่ีบันทึกไดแก อุณหภูมิ ความช้ืน และอุณหภูมิการแผรังสีนความรอนระหวางรางกายกับสภาพแวดลอม (Mean radiant temperature) รวมท้ังการตอบสนองของบุคคลอุณหภูมิผิวหนังและเส้ือผา มาตรฐานนี้มีความแมนยําเฉพาะชวงระดับความสบายท่ีสูงกวา 35°C ภายใตความช้ืนและสัมพัทธต่ํา และระดับความสบายท่ีสูงกวา 30°C ภายใตความช้ืนสัมพัทธสูง โดยไมไดใหความสําคัญกับผลกระทบจากความเย็นของการเคล่ือนไหวของอากาศท่ีมีความช้ืนสัมพัทธสูง 2.5.2.4 The Operative Temperature Index (OT) Winslow, Herrington และ Gagge ปค.ศ.1937 ในสหรัฐอเมริกา หลักเกณฑคลายกับมาตรฐาน EW คือรวมผลกระทบจากการแผรังสีและอุณหภูมิของอากาศเขาดวยกัน แตก็ยังไมได

Page 42: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

32 ใหความสําคัญกับความช้ืนและอัตราการเคล่ือนไหวของอากาศ เนื่องจากการทดลองทําขึ้นในบริเวณพิเศษ ท่ีมีภาวะอากาศเย็นจึงไมเหมาะสมกับสภาพอุณหภูมิท่ีสูงกวา 27°C 2.5.2.5 The Equivalent Temperature Index (EQT) Dufton ปค.ศ.1932 มาตรฐานนี้ไมไดนําผลกระทบของความช้ืนมารวมดวย จึงไมเหมาะสมท่ีจะนํามาใชในสภาพอากาศท่ีมีอุณหภูมิ 24°C ท้ังนี้เนื่องจากท่ีอุณหภูมิท่ีสูงกวา 24°C การระบายความรอนโดยการระเหยจะชัดเจน (ปรีชญา รังสิรักษ, ม.ป.ป: 19) 2.5.2.6 The Resultant Temperature Index (RT) Missenard ปค.ศ.1948 ในประเทศฝรั่งเศส เปนการปรับปรุงจากมาตรฐาน ET เล็กนอย มีความนาเช่ือถือในสภาพอุณหภูมิระดับปานกลางแตไมเหมาะสมกับสภาพอากาศเมืองรอน เนื่องจากมาตรฐานนี้ไมรวมผลกระทบจากความเย็นของการเคล่ือนไหวของอากาศเกินกวา 35°C และความช้ืนสัมพัทธ 80% 2.5.2.7 The Predicted Four Sweat Rate Index (P4SR) Mcardle และผูรวมงาน ในปค .ศ.1947 ในประเทศอังกฤษ ไดมาจากการหาความสัมพันธระหวางความรูสึกบของผูถูกทดลองกับการวัดอุณหภูมิ โดยอาศัยอัตราการไหลของเหง่ือ การเตนของชีพจรและอุณหภูมิในรางกาย มาตรฐานนี้เช่ือถือไดสําหรับภาวะอุณหภูมิท่ีสูง แตไมเหมาะกับอุณหภูมิท่ีต่ําวา 28°C รวมท้ังไมไดคํานึงถึงผลกระทบจากความเย็นของการเคล่ือนไหวของอากาศภายใตความช้ืนสูง (ประทีป มาลากุล, ม.ล., 2542: 4) Belding , H.S. และ Hacth, T.F. ปค.ศ.1955 ในประเทศสหรัฐอเมิรกาใชการคํานวณความเครียดท่ีเกิดจากความรอนภายนอกท่ีกําหนดให จากความรอนท่ีเกิดขึ้นโดยขบวนการ Metabolism จากการทํากิจกรรมท่ีมีความหนักเบาในระดับตางๆ และจากปริมาณการระบายความรอนดวยการระเหยสูส่ิงแวดลอม (ปรีชญา รังสิรักษ,ม.ป.ป) คา HIS นี้เช่ือถือไดสําหรับอากาศระหวาง 27 และ 35°C ภายใตความช้ืนสัมพัทธระหวาง 30 ถึง 80% และสําหรับความช้ืนในระดับต่ําหากอุณหภูมิสูง แตไมเหมาะสมกับระดับความสบาย (Comfort Zone) (ประทีป มาลากุล, ม.ล., 2542: 4) Webb, C.G. ปค.ศ.1960 ในประเทศสิงคโปร คาท่ีไดมาจากการตอบสนองความเคยชินของอากาศพรอมกับการวัดอุณหภูมิของอากาศ ความช้ืน และการเคล่ือนไหวของอากาศ ความสัมพันธของตัวแปรสามารถจัดเปนสูตรและแผนภูมิ Nomogram ท่ีไดคลายคลึงกับ Nomogram ของมาตรฐาน ET แตกตางกันตรงท่ี Nomogram ของ ET จะมีตารางเปดออก สวนของ ECI ตารางจะมา

Page 43: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

33 บรรจบเขาหากันสําหรับคาอุณหภูมิสูงซ่ึงแสดงวาผิวหนังท่ีเปยกช้ืนจะมีความรูสึกมากขึ้นตอการเคล่ือนไหวของอากาศในสภาพอุณหภูมิดังกลาว (ปรีชญา รังสิรักษ, ม.ป.ป.: 21) Webb ไดทําการทดลองและพบวามีความสัมพันธกันในรูปแบบท่ีสามารถจัดเปนสูตรไดดังนี ้ ECI = tw + 0.447 (t - tw) – 0.241√v โดยท่ี ECI = คาอุณหภูมิความสบายในประเทศแถบเมืองรอน (°F) tw = อุณหภูมิกระเปาะเปยก (°F) t = อุณหภูมิกระเปาะแหง (°F) v = ความเร็วของการเคล่ือนไหวของอากาศ (ft/min)

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ สหพรหม วงศชีวะ(2551: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง”แผงกันแดดไมเล้ือยเพ่ือลดการถายเทความรอนผานชองเปดเขาสูอาคาร” การศึกษาวิจัยนี้เปนการศึกษาวิจัยเรื่องแผงกันแดดไมเล้ือยเพ่ือลดการถายเทความรอนผานชองเปดเขาสูอาคาร และไดทดลองวัดระดับความช้ืนสัมพัทธท่ีเกิดจากแผงกันแดดไมเล้ือย ในการทดลองนี้ไดทําการออกแบบแผงกันแดดท่ีมีรูปรางตางกัน 4 แบบ โดยมีขนาดพ้ืนท่ีผิวเทากัน ไดแก แผงกันแดดแบบแนวตั้ง แผงกันแดดแบบแนวนอน แผงกันแดดแบบครีบแนวตั้งแบบเฉียง และแผงกันแดดแบบผสม ในการทดลองไดทําการปลูกไมเล้ือยรวมกับแผงกันแดดติดตั้งกันกลองโฟมโพลิสไตลีนหนา 4 นิ้ว ขนาด 1 ตารางเมตร เปนกลองทดลองแบบเปด โดยทําการทดสอบกับสภาพอากาศจริง ในเบ้ืองตนไดทําการคัดเลือกสายพันธไมเล้ือยท่ีเหมาะสมมาใชในการทดลอง พบวา สายพันธสรอยฟามีอัตราการเจริญเติบโตท่ีรวดเร็ว มีการใหพ้ืนท่ีรมเงา และความคงทนของใบ ดีท่ีสุดใน 6 สายพันธ ท่ีสุมคัดเลือก ผลการทดลองพบวาแผงกันแดดไมเล้ือยแบบแผงยื่นแนวตั้งเหมาะสมท่ีสุดในการลดการถายเทความรอนผานชองเปดเพราะวา ลักษณะของแผงกันแดด และตําแหนงของพุมใบ สงผลตอการลดการแผรังสีความรอนเขามาภายใตแผงกันแดดและลดความรอนโดยการคายน้ําของพืชใหแกกลองทดลองไดดีท่ีสุด ในเรื่องของความช้ืนสัมพัทธนั้น ลักษณะของแผงกันแดดและตําแหนงพุมใบ สงผลตอการคายน้ําของพืช มีผลใหมีความช้ืนถายเทเขามาภายใตแผงกันแดดและกลองทดลอง และระบายอากาศจะชวยระบายความช้ืนไปได สรุปไดวา การใชแผงกันแดดไมเล้ือยมีประโยชนในเรื่องของการลดการถายเทความรอนเขาสูอาคาร สงผลในเรื่องของภาวะนาสบายและการประหยัดพลังงาน เพ่ือรกัษาส่ิงแวดลอมและเพ่ิมภูมิทัศนใหกับอาคาร

Page 44: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

34 วรวรรณ เนตรพระ(2552: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง “ประสิทธิผลของไมเล้ือยท่ีมีผลตอการลดการถายเทความรอนเขาสูผนัง” งานวิจัยนี้เปนงานวิจัยเชิงทดลองจากสถานท่ีจริงมีวัตถุประสงคเพ่ือทดสอบเปรียบเทียบประสิทธิผลในการลดการถายเทความรอนเขาสูผนังอาคารโดยใชไมเล้ือยท่ีมีขนาดใบเล็ก(สายน้ําผ้ึง) ใบขนาดกลาง (พวงแสด) และใบขนาดใหญ (ใบระบาด) กับชนิดผนังมวลสารนอย (low thermal mass) ผนังมวลสารปานกลาง (medium thermal mass) ผนังมวลสารมาก(High thermal mass) ท่ีมีความตานทานความรอนต่ําและความตานทานความรอนสูง เพ่ือทราบชนิดผนังท่ีมีแนวโนมไดรับประโยชนจากประสิทธิผลของไมเล้ือยในการชวยลดการถายเทความรอนมากท่ีสุด กระบวนการวิจัยจะเริ่มจากการกําหนดสภาพการใชงานอาคารท่ีจะทําการทดสอบเปนอาคารช้ันเดียวกวาง 4.20 ม. ยาว 6.30 ม. สูง 2.50 ม. โดยแบงอาคารเปนหองทดลองขนาด 1.00x2.00 ม.จํานวน 4 หองเพ่ือเปรียบเทียบตัวแปรตางๆท่ีใชในการศึกษา โดยหองทดลองท้ัง 4 หองปองกันความรอนเขาสูผนังอาคารทางดานทิศเหนือ ทิศใต และทิศตะวันออก โดยใหเฉพาะทิศตะวันตกเทานั้นท่ีสามารถรับความรอนจากภายนอกไดซ่ึงหองทดลองจะไดรับอิทธิพลจากสภาพแวดลอมใกลเคียงกันและไมมีการปรับอากาศ กําหนดให 3 หองปลูกไมเล้ือยใบเล็ก ใบกลาง ใบใหญปกคลุมผนังภายนอกอาคารทางดานทิศตะวันตก หองทดลองอีก 1 หองไมมีไมเล้ือยปกคลุม ทําใหเกิดรูปแบบของการทดสอบท้ังหมด 6 ชุดการทดสอบ เก็บขอมูลทุกๆ 30 นาทีเปนเวลาติดตอกัน 3 วันหรือ 72 ช่ัวโมงตอ 1 การทดลอง การวิเคราะหประสิทธิผลการทดลองในแตละชุดการทดลองใชกระบวนการพิจารณาจากผลตางขององศาช่ัวโมงของอุณหภูมิสะสม (degree hour) โดยทุกจุดท่ีเก็บขอมูลเก็บท่ีฐาน 18 ํC เพ่ือวิเคราะหผลเปรียบเทียบประสิทธิผลของทุกชุดการทดลอง จากการทดลองโดยการนําขนาดใบมาเปนตัวแปรในการเปรียบเทียบผลท่ีไดจากการทดสอบ พบวาไมเล้ือยทุกขนาดใบมีประสิทธิชวยในการลดการถายเทความรอนเขาสูอาคารไดดีในชวงกลางวันกับทุกชนิดผนังท่ีใชในการทดลอง โดยไมเล้ือยใบกลางมีประสิทธิผลชวยลดอุณหภูมิภายในชวงท่ีอุณหภูมิอากาศสูงสุดเวลากลางวันไดดีท่ีสุด แตในชวงเวลากลางคืนไมเล้ือยไมมีประสิทธิผลในการลดการถายเทความรอนเนื่องจากหองท่ีมีไมเล้ือยปกคลุมกลับมีอุณหภูมิสูงกวาหองธรรมดา ไมเล้ือยท่ีมีประสิทธิผลชวยลดการถายเทความรอนเขาสูผนังอาคารจากมากไปหานอยเปนดังนี้ ไมเล้ือยใบกลาง (พวงแสด) ไมเล้ือยใบใหญ (ใบระบาด) และไมเล้ือยใบเล็ก (สายน้ําผ้ึง) ชนิดผนังท่ีมีแนวโนมไดรับประโยชนจากประสิทธิผลของไมเล้ือยในการชวยลดการถายเทความรอนมากท่ีสุดสามารถเรียงลําดับจากผนังท่ีไดรับประสิทธิผลมากไปหานอยไดดังนี้ 1.ผนังมวลเบา(ซีเมนตบอรด) 2. ผนังมวลปานกลาง(กออิฐฉาบปูน) 3. ผนังมวลมาก(กออิฐฉาบปูน 2 ช้ัน )

Page 45: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

35 4.ผนังมวลเบา+ฉนวน(ซีเมนตบอรด+ฉนวน) 5.ผนังมวลปานกลาง+ฉนวน (กออิฐฉาบปูน+ฉนวน) 6.ผนังมวลมาก+ฉนวน (กออิฐฉาบปูน 2 ช้ัน +ฉนวน) กลาวไดวาผนังท่ีจะไดประโยชนจากไมเล้ือยมากท่ีสุดคือผนังท่ีมีคา U-Value สูง คา R-value ต่ํา หรือผนังท่ีมีคาสัมประสิทธ์ิการสงผานความรอนสูง คาการตานทานความรอนต่ํา พาสิน ีสุนากร และ ชนิกานต ยิ้มประยูร( 2551: 50-64) ไดทําการศึกษาเรื่อง “สมรรถนะในการปองกันความรอนของแผงกันแดดไมเล้ือยในเขตรอนช้ืน” เปนการเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวในเมืองเพ่ือแกปญหาโลกรอนและภาวะเกาะความรอน เปนนโยบายท่ีปฏิบัติไดยากและมีความเปนไปไดนอยลงทุกทีเนื่องจากความหนาแนนท่ีเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ ของเมือง การปลูกตนไมบนอาคารเพ่ือทดแทนพ้ืนท่ีสีเขียวท่ีสูญเสียไปนั้นอาจทําไดหลายวิธี การปลูกตนไมในแนวตั้งเปนวิธีหนึ่งท่ีประหยัด ใชพ้ืนท่ีนอย และนอกจากจะชวยลดความรอนใหแกอากาศภายนอกอาคารแลวยังชวยลดความรอนท่ีถายเทเขาสูอาคาร ทําใหเกิดการประหยัดพลังงาน ชวยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดในอากาศ สรางความหลากหลายทางชีวภาพ ใหสุนทรียภาพ และยิ่งกวานั้นพืชบางชนิดอาจสามารถนําไปเปนอาหารไดอีกดวย งานวิจัยนี้ไดทําการศึกษาการใชตนไมประกอบอาคารโดยมุงเนนท่ีไมเล้ือย เพ่ือใชเปนแผงกันแดดใหแกอาคารสํานักงานหรืออาคารพักอาศัยความสูงปานกลาง ท่ีใชการระบายอากาศธรรมชาติ โดยทําการทดสอบคุณสมบัติในการลดการถายเทความรอน ติดตามผลตลอดการเจริญเติบโตในชวงเวลา 3 เดือน เปรียบเทียบกับอาคารท่ีใชแผงกันแดดแบบท่ัวไป โดยใชสถานท่ีอาคารจริง การเลือกตนไม และการออกแบบวิธีการปลูกท่ีเหมาะสม ไดนําเสนอในงานวิจัยดวย เพ่ือประโยชนแกการนําไปใชงานจริง ผลการทดลองในขั้นตน พบวา ในชวงท่ีอุณหภูมิสูงสุดในตอนบาย อุณหภูมิภายในหองท่ีใชแผงกันแดดไมเล้ือย ต่ํากวาอากาศภายนอกอยู 6.84 องศาเซลเซียส และต่ํากวาอุณหภูมิภายในหองท่ีใชกันสาดเหล็กเคลือบรีดลอนสําเร็จรูปยื่น 1.50 เมตร อยู 2.92 องศาเซลเซียส พาสินี สุนากร และ ชนิกานต ยิ้มประยูร(2551: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่องการเพ่ิมสมรรถนะในการลดการถายเทความรอนของแผงกันแดดไมเล้ือยดวยการระบายอากาศ ตามสมมติฐานวาแผงกันแดดไมเล้ือยแนวตั้งเปนอุปสรรคตอการระบายอากาศ และจากผลการทดลองในชวงแรกซ่ึงไดปดชองตางๆรอบแผงไมเล้ือยท้ังหมดพบวาอุณหภูมิในหองท่ีใชแผงไมเล้ือยบางครั้งสูงกวาหองธรรมดาซ่ึงระบายอากาศ ไดดีกวา จึงไดทําการปรับปรุงหองทดลองท้ัง 2 หองซ่ึงมีหนาตางดานเดียว เปน 4 กรณีคือ 1. ปดประตูดานหลัง 2. เปดประตูดานหลัง 3. เปดพัดลมระบายอากาศ 1 ตัว 4. เปดพัดลมระบายอากาศ 2 ตัว ทําการวัดและติดตามผลกรณีละ 3 วัน เพ่ือไมใหใบปกคลุมเปล่ียนแปลงมากนักในชวงการวัดขอมูล

Page 46: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

36 ผลการทดลองพบวา การระบายอากาศในกรณีท่ี 2,3 และ 4 ชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการลดอุณหภูมิใหกับหองท่ีใชแผงไมเล้ือย โดยทําใหเกิดความแตกตางอุณหภูมิสูงสุด 4-7 องศาเซลเซียสในชวงกลางวัน เม่ือเทียบกับหองธรรมดา สวนในชวงกลางคืนอุณหภูมิในหองท่ีใชแผงไมเล้ือยสูงกวาหองธรรมดาเล็กนอย 1-1.5 องศาเซลเซียสในกรณีท่ี 1,2 และ 3 ยกเวนในกรณีท่ี 4 ซ่ึง มี อุณหภู มิลดลงมาใกล เคี ย งกับห องธรรมดา และคายความร อนช ากว า เ ล็กน อย มีขอสังเกตวาเม่ือกระแสลมในหองธรรมดาวัดไดมากกวา0.05 เมตรตอวินาที ในกรณีท่ี 2 และ 4 ใบไมไมเปนอุปสรรคตอการระบายอากาศ แตกลับทําใหกระแสลมแรงขึ้น ในหองท่ีใชแผงไมเล้ือย และแรงท่ีสุดในกรณีท่ี 4 ซ่ึงไดทําการทดลองซํ้าสองครั้งพบวาผลไปในทางเดียวกัน แตเม่ือกระแสลมในหองธรรมดาลดลงมาต่ํากวา 0.05 เมตรตอวินาทีในกรณีท่ี 1 และ 3 ความเร็วลมในหองท่ีใชแผงไมเล้ือยจะต่ํามาก ในชวงกลางวันพบวาความช้ืนสัมพัทธในหองท่ีใชแผงไมเล้ือยลดลงมาใกลเคียงกับหองธรรมดาในกรณีท่ี 2 และ 3 ซ่ึงมีการระบายอากาศ สวนในตอนกลางคืน กรณีท่ี 1, 2 และ 3 หองแผงไมเล้ือยมีความช้ืนสัมพัทธต่ํากวาหองธรรมดาแตในกรณีท่ี 4 ความช้ืนสัมพัทธสูงขึ้นมาใกลเคียงกับหองธรรมดาเนื่องจากกระแสลมท่ีแรงกวากรณีอ่ืนอาจนําความช้ืนจากภายนอกเขามาสูภายในหอง สุมนา โรจนวิภาต(2550: บทคัดยอ) เปนการออกแบบแผนปลูกพืช จากเสนใยมะพราวมาผสมกับเสนใยเซลลูโลส โดยใชวัสดุประสานจากธรรมชาติ คือแปงมันสําปะหลัง เพ่ือใชเปนวัสดุปลูกบนดาดฟาอาคาร และชวยลดความรอนจากดวงอาทิตยท่ีเขาสูตัวอาคาร ในการวิจัยแบงการวิจัยออกเปน 2 สวน คือการคัดเลือกวัสดุเพ่ือมาทําแผนปลูก แลวนําแผนปลูกท่ีไดมาทดลองปลูกพืชคลุมดินเพ่ือทดสอบความอยูรอด แลวนํามาทดสอบประสิทธิภาพการลดความรอนเปรียบเทียบระหวางกลองทดลอง 4 กลอง ซ่ึงมีองคประกอบของดาดฟา คือ ดาดฟาคอนกรีต ดาดฟาคอนกรีตท่ีดานในมีแผนฝากันความรอน และดาดฟาคอนกรีตท่ีดานบนมีระบบปลูกพืชท่ีปลูกพืชคลุมดิน และไมปลูกพืชคลุมดิน ผลการทดลอง ปรากฎวาในชวงท่ีสภาพอากาศรอนท่ีสุด ระบบปลูกท่ีมีพืชคลุมดิน สามารถชวยลดความรอนท่ีเขาสูตัวอาคารไดดีกวาระบบปลูกท่ีไมปลูกพืชคลุมดิน และดาดฟาคอนกรีตท่ีมีและไมมีแผนฝากันความรอน งานวิจัยสรุปไดวาสามารถนําเสนใยมะพราวมาผสมกับเสนใยเซลลูโลส ใชวัสดุประสานจากธรรมชาติ คือแปงมันสําปะหลังมาทําแผนปลูกพืชคลุมดิน พืชสามารถเจริญเติบโตได และมีประสิทธิในการชวยลดความรอน งานวิจัยนี้สามารถนําไปพัฒนาเพ่ือเปนทางเลือกในการใชวัสดุปลูกสําหรับอาคารตางๆ เพ่ือชวยลดความรอนแกอาคารและเพ่ือเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวใหกับเมือง

Page 47: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

37 อรรกร ทองเพ็ชร(2550: บทคัดยอ) การวิจัยประกอบดวย 3 ขั้นตอน โดยขั้นตอนแรกมีขึ้นเพ่ือหาขอจํากัดและปจจัยท่ีสงเสริมการเจริญเติบโตของพืชแนวตั้ง ขั้นตอนท่ี 2 มีขึ้นเพ่ือหาอัตราการคายน้ําของพืชท่ีเลือกมาทดสอบและในขั้นตอนท่ี 3 มีขึ้นเพ่ือออกแบบระบบการจายน้ําของผนังตนไม โดยขอมูลท้ังหมดถูกนํามาพิจารณา ในการออกแบบผนังตนไม จากสมมุติฐานท่ีวา สภาวะทางอุณหภาพของผนังตนไมขึ้นอยูกับพ้ืนท่ีการบังเงาละชองวางอากาศใตใบ พืช 3 ชนิดท่ีเลือกมาเปนพืชใบเล้ียงเดี่ยว 1.ตนหญานวลนอย (Manila grass,Siglap grass, Korean grass) 2.ตนหนวดปลาดุก (Fimbristylis miliacea) 3.ตนเศรษฐีเรือนนอก (Chlorophytum bichetii) โดยเรียงลําดับจากพ้ืนท่ีใบเล็กท่ีสุดไปใหญท่ีสุดตามลําดับ กลองทดสอบถูกสรางขึ้นเพ่ือสังเกตพฤติกรรมทางดานความรอนของพืชแตละชนิดเปนเวลา 5 วันติดตอกัน โดยกลองแรกเปนกลองฐานขอมูลทําดวยแผนซีเมนตบิรด เพ่ือเปรียบเทียบสวนกลองท่ีเหลืออีก 3 กลองปลูกพืชกลองละชนิด ผลจากการศึกาษแสดงใหเห็นวาภายใตภาวะพ้ืนท่ีการบังเงาเทาเทียมกันระหวางตนหนวดปลาดุก (Fimbristylis miliacea) และตนเศรษฐีเรือนนอก (Chlorophytum bichetii) มีพ้ืนท่ีการบังเงามากและมีชองวางอากาศใตใบ จะไมสามารถหนวงความรอนไดดีเทากับตนหญานวลนอย (Manila grass,Siglap grass, Korean grass) ท่ีมีความหนาแนนใบมากแตมีชองวางระหวางใตใบนอย อยางไรก็ตาม ผลทดสอบของตนหนวดปลาดุก (Fimbristylis miliacea) อุณหภูมิอากาศภายในจะต่ํากวาตนเศรษฐีเรือนนอกและหญานวลนอย กลาวโดยสรุปผนังตนไมมีประสิทธิภาพในการปกปองอาคารจากรังสีความรอนจากดวงอาทิตย การใชพืชท่ีมีชองวางอากาศใตใบมาก ควรใชกับหองท่ีมีผูอยูอาศัยในชวงกลางคืนในขณะท่ีการเลือกใชพืชท่ีมีชองวางอากาศใตใบนอยควรใชในอาคารท่ีใชพ้ืนท่ีในเวลากลางวันเนื่องจากคุณสมบัติการปองกันความรอนของผนังตนไม สรุปการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของการวิจัยครั้งนี้ไดดังนี้ อาคารพาณิชยในประเทศไทยจะเกิดความรอนท่ีผนังอาคาร ซ่ึงเปนผลมาจากรังสีแสงอาทิตยท่ีตกกระทบผนังอาคารและเกิดการถายเทความรอนจากภายนอกอาคารเขาสูภายในอาคารโดยการนําความรอน การนําพืชมาใชบังแสงอาทิตยมีหลายรูปแบบในการนํามาปรับใช เชน การทําแผงกันแดดแนวตั้ง หรือแผงกันแดดแนวนอน และการใชปกคลุมผนังอาคารและบนดาดฟาจะสามารถชวยลดความรอนท่ีเกิดขึ้นกับอาคารได แตตองระวังเรื่องการคายความรอนของพืช ซ่ึงจะทําใหเกิดความช้ืน และการใชพืชบังแสงอาทิตยสามารถชวยปรับสภาพแวดลอมโดยรอบของตัวอาคารได

Page 48: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

38

บทท่ี 3

วิธีการศึกษา

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เพ่ือเปนการหาแนวทางในการประยุกตนําพืชมาใชบังรังสีแสงอาทิตยท่ีตกกระทบผนังอาคาร เพ่ือการประหยัดพลังงานจากเครื่องปรับอากาศ (Air condition) ภายในอาคาร โดยการลดความรอนท่ีเกิดจากผนังอาคารภายนอกและเกิดการถายเทความรอนเขาสูผนังอาคารภายใน โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช อาคารสํานักงานของบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด มีลักษณะเปนอาคารพาณิชย มีจํานวน 3 ช้ัน โครงสรางอาคารทําจากอิฐฉาบปูน และดาดฟามีลักษณะเปนพ้ืนคอนกรีต ดานหนาอาคารสํานักงานหันไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต ผนังอาคารดานหนามีสวนประกอบท่ีมีลักษณะเปนกระจกใสท้ัง 3 ช้ันและมีผามานบังแสงอยูภายใน ซ่ึงในชวงเวลาบาย พบวาดานหนาอาคารสํานักงานไดรับแสงอาทิตยมากกวาดานอ่ืน เนื่องจากตําแหนงของดวงอาทิตยทํามุมตกกระทบจากแนวทิศใต แสงท่ีตกกระทบกระจก ทําใหเกิดการถายเทความรอนภายในหองปฏิบัติงานสูงมาก ซ่ึงสงผลทําใหหองปฏิบัติงานของฝายธุรการและฝายการตลาดมีการใชพลังงานไฟฟาในสวนของเครื่องปรับอากาศสูง โดยเฉพาะชวงเดือนมีนาคมและเมษายนของทุกป ระบบปรับอากาศมีการทํางานตลอดเวลาเพ่ือรักษาอุณภูมิภายในหองปฏิบัติงาน ซ่ึงทําใหเกิดคาใชจายในเรื่องของคาพลังงานไฟฟาสูง และอายุการใชของเครื่องปรับอากาศส้ันลง แนวทางการใชตนไมบังแสงอาทิตยในสวนของผนังกระจกเปนแนวทางหนึ่งท่ีนาสนใจ เนื่องจากตนไมจะเปนตัวกรองแสงท่ีมีประสิทธิภาพ โดยการนําพืชมาใชตองจําเปนพิจารณาถึงรูปรางลักษณะของรูปทรงและใบของพืช และคุณสมบัติของพืชนั้นๆ เพ่ือการกรองแสงอาทิตย ความสามารถในการไหลผานของลม และความช้ืนท่ีจะเกิดขึ้น ซ่ึงจะทําใหเรามีบรรยากาศท่ีรมรื่นและสามารถประหยัดพลังงานจากเครื่องปรับอากาศลงไดโดยไมจําเปนตองปรับเปล่ียนเครื่องปรับอากาศ สงผลใหลดการใชทรัพยากรในขบวนการผลิตเครื่องปรับอากาศใหม และลดจํานวนขยะท่ีจะเกิดขึ้นจากการเปล่ียนเครื่องปรับอากาศท่ีเส่ือมสภาพ โดยในการศึกษาวิจัยการประยุกตใชพืชกรองแสงมีขั้นตอนดังนี ้

1. การรวบรวมขอมูลสภาพรอบอาคารและขอมูลอ่ืนๆท่ีเกี่ยวของ 2. การรวบรวมขอมูลดานพรรณไม 3. ศึกษาแนวทางการใชพืชพรรณประกอบอาคารสํานักงาน 4. วิเคราะหแนวทางการนําพืชมาใชเพ่ือประหยัดพลังงาน

Page 49: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

39

3.1 กรอบแนวคิด 3.1.1 ตัวแปรอิสระ 1. ลักษณะและประเภทของพืชท่ีมีผลตอการบังแสง 2. ความรอนท่ีเขาสูอาคาร อุณหภูมิภายในและภายนอกอาคาร 3. การจัดวางตําแหนงของพืชพรรณไม 3.1.2 ตัวแปรตาม พืชพรรณไมและวิธีการจัดวางท่ีเหมาะสมในการลดความรอนเขาสูอาคารพาณิชย

ภาพที่ 3.1 กรอบแนวคิด ในการศึกษาวิจัยนี้ตัวแปรอิสระไดแก ลักษณะของพืชพรรณไม เนื่องจากประเภทและคุณลักษณะของพืชพรรณมีความแตกตางกันทําใหความสามารถในการบังแสงอาทิตยมีความแตกตางกัน ความรอนท่ีเขาสูอาคารในแตละชวงเวลามีความแตกตางกันโดยในชวงเวลาบายจะมีความรอนท่ีผนังอาคารสูงท่ีสุด และการจัดวางตําแหนงของพืชพรรณไมท่ีตองพิจารณาถึงทิศทางท่ีถูกตองในการบังแสงโดยตัวแปรอิสระเหลานี ้สงผลตอสวนตัวแปรตามอันไดแก ประเภทของพืชพรรณไมท่ีเหมาะสมในการบังแสงและวิธีการนําพืชไปประยุกตใชกับผนังอาคาร

พืชท่ีเหมาะสมและ วิธีการนําพืชไปประยุกตใช

การจัดวางตําแหนง

ความรอนท่ีเขาสูอาคาร

ลักษณะของพืชพรรณไม

ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

Page 50: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

40

3.2 สมมติฐาน การใชตนไมบังรังสีแสงอาทิตยท่ีตกกระทบผนังอาคารสามารถลดการใชพลังงานไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศไดโดยไมจําเปนตองปรับเปล่ียนเครื่องปรับอากาศ และพืชแตละชนิดมีลักษณะและคุณสมบัติในการบังแสงท่ีแตกตางกัน 3.3 พื้นที่ศึกษา ในการทดลอง ไดทดสอบกับหองปฏิบัติงานของพนักงานฝายขายของบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด ตั้งอยู เขตสะพานสูง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ซ่ึงมีพ้ืนท่ีปรับอากาศ 16 ตารางเมตรและความสูงจากพ้ืนถึงเพดานประมาณ 2 เมตร ลักษณะท่ีผนังอาคารประกอบดวยกระจกใสไดรับแสงอาทิตยตกกระทบโดยตรงไมมีอะไรบังแสงอาทิตย และมีพนักงานฝายขายท่ีปฏิบัติงานภายในหองจํานวน 5 คน ซ่ึงภายในหองไดติดตั้งระบบปรับอากาศ (Air condition) มีขนาด 13,000 BTU

3.4 เคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูล ในการศึกษาวิจัยการใชพืชบังแสงเพ่ือประหยัดพลังงาน ตองทําการเก็บบันทึกขอมูลของอุณหภู มิผนังอาคาร ท้ังภายในและภายนอก พรอมเก็บขอมูลการใชพลังงานไฟฟาของเครื่องปรับอากาศเพ่ือนําผลท่ีไดมาวิเคราะหและสรุปผลการวิจัย โดยเครื่องมือท่ีใชทําการวิจัยมีดังนี้ 3.4.2 อุปกรณทดลอง เคร่ืองมือตางๆ 3.4.2.1 เครื่องวัดอุณหภูมิ (Thermometer) 3.4.2.2 เครื่องวัดอุณหภูมิแบบบันทึกขอมูลอัตโนมัติ (Dataloger) 3.4.2.4 เครื่องวัดการใชกระแสไฟฟา (Amp meter) ดังภาพท่ี 3.2- 3.4

Page 51: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

41 3.4.3 การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวิจัย อุปกรณเครื่องมือตางๆในการวิจัย ตองผานการสอบเทียบ (Calibration) กับเครื่องมือมาตรฐานเพ่ือใหคาการตรวจวัดมีคาถูกตอง โดยการวัดคาเครื่องมือเทียบกับคาอางอิง (Reference) ตองไดคาเดิมทุกครั้งเพ่ือแสดงวาเครื่องมือทําการวัดไมผิดพลาด ภาพที่ 3.2 เครื่องมือวัดกระแสไฟฟา (Amp meter) ภาพที่ 3.3 เครื่องวัดอุณหภูมิ (Thermometer)

Page 52: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

42

ภาพที่ 3.4 เครื่องวัดอุณหภูมิแบบบันทึกขอมูลได 3.5 ข้ันตอนการศึกษา ภาพที่ 3.5 ขั้นตอนการศึกษาวิจัย จากภาพท่ี 3.5 ในขั้นตอนแรกเปนการรวบรวมขอมูลและศึกษาทฤษฏีท่ีเกี่ยวของในเรื่องของการใชพืชพรรณไมประกอบอาคารเพ่ือบังแสงจากดวงอาทิตย การถายเทความรอนผานผนังอาคาร ท่ีสงผลทําใหเกิดการไมประหยัดพลังงาน และลักษณะพืชพรรณสําหรับการปลูกเพ่ือบัง

ศึกษาทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ

รวบรวมขอมูลอาคารสํานักงาน และปญหา

ศึกษาหาแนวทาง

สรุปผลการวิจัย

Page 53: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

43 แสงอาทิตย เม่ือไดทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของแลว ขั้นตอมาเปนการวิเคราะหการใชพืชบังแสงอาทิตยเพ่ือใหเกิดการประหยัดพลังงานไฟฟาในสวนของเครื่องปรับอากาศ โดยทําการศึกษาถึงปจจัยในการใชพืชบังแสง เพ่ือการประหยัดพลังงาน เชน ทิศทางของแสงอาทิตยในระยะเวลาตางๆ และในแตละวัน ขอมูลท่ีไดนํามาพิจารณาเพ่ือประกอบการตัดสินใจในการเลือกใชพืชบังแสงอาทิตย

ภาพที่ 3.6 แนวทางการติดตั้งเครื่องบันทึกและการวัดอุณหภูมิกอนปลูกพืชบังแสง จากภาพท่ี 3.6 เปนการแสดงถึงวิธีการวัดคาตางๆของพ้ืนท่ีปรับอากาศ ซ่ึงเปนการเก็บขอมูลกอนทําการปลูกพืชบังแสงท่ีผนังอาคาร เครื่องบันทึกขอมูล (Data logger) จะชวยบันทึกขอมูลไดสะดวกขึ้นและมีความแมนยําทางดานเวลาเนื่องจากเปนระบบอัตโนมัต ิแตขอมูลท่ีไดเปนขอมูลดิจิตอล (Digital) ตองนํากลับมาแปลงกลับเพ่ือหาคาจริงอีกครั้ง

A/C

CT

Amp meter

Thermometer

Thermometer Data loger

TcTh

พ้ืนที่ปรับอากาศภายในอาคาร

พื้นที่ภายนอกอาคาร

SUN

Page 54: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

44

ภาพที่ 3.7 แนวทางการติดตั้งเครื่องบันทึกและการวัดอุณหภูมิหลังปลูกพืชบังแสง จากภาพท่ี 3.7 มีลักษณะการตอท่ีเหมือนกับภาพท่ี 3.6 เพียงแตเพ่ิมการปลูกพืชมาเพ่ือบังแสงอาทิตยท่ีตกกระทบผนังอาคาร เงาของพืชจะไปปรากฏอยูท่ีผนังอาคารสงผลใหความรอนท่ีผนังอาคารลดลง การถายเทความรอนจากผนังอาคารภายนอกไปสูภายในอาคารจะนอยลง และทําใหเครื่องปรับอากาศทํางานนอยลง ซ่ึงจะชวยใหประหยัดพลังงานไฟฟาลงได 3.6 วิธีวิเคราะหขอมูล

ทําการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลท่ีรวบรวมได เชน สภาพอาคาร ทิศทางตําแหนงอาคารและรูปแบบอาคารเพ่ือหาความเหมาะสมในการนําจํานวนตนไมมาใชใหเหมาะสม การใชพลังงานไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ โดยเปรียบเทียบผลท่ีไดจากการวิเคราะหขอมูลเอกสาร เพ่ือใหทราบถึงพืชพรรณไม ท่ีมีอิทธิพลตอการบังแดดและใหรมเงากับอาคาร ซ่ึงจะสงผลตอการเลือกใชพรรณไมเพ่ือใหไดรมเงาบังแสงแดดมีผลตอเนื่องในดานการประหยัดพลังงานในอาคารสํานักงาน และการจัดวางในตําแหนงทิศทางท่ีเหมาะสมเพ่ือการบังเงาใหเกิดประสิทธิผลในการประหยัดพลังงานไฟฟาจากการใชงานเครื่องปรับอากาศได

การวิเคราะหตัวแปรและสรุปผล เพ่ือใหเกิดความรูในเรื่องลักษณะพืชพรรณไมยืนตนท่ีเหมาะสม เพ่ือการบังแดดและใหรมเงากับอาคารสํานักงาน ครบ 3 ฤดู คือ ฤดูรอน, ฤดูฝนและฤดูหนาว

A/C

CT

Watt meter

Thermometer

Thermometer Data loger

TcTh

พ้ืนที่ปรับอากาศภายในอาคาร

พ้ืนที่ภายนอกอาคาร

SUN

พืชบังแสง อาทิตย

Page 55: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

45

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมูล 4.1 สภาพโดยทั่วไปของอาคาร อาคารสํานักงาน บริษัท เอส. เอ. เจ. ไอ. (ประเทศไทย) จํากัด ตั้งอยู เลขท่ี 48/267 ซอยรามคําแหง 104 ถนนรามคําแหง เขตและแขวงสะพานสูง กรุงเทพมหานคร เปนอาคารพาณิชย มีขนาด 3 ช้ัน โดยช้ันท่ี 1 (ช้ันลางสุด) เปนพ้ืนท่ีปฏิบัติงานของฝายธุรการ ช้ันท่ี 2 เปนพ้ืนท่ีของฝายการตลาด และฝายเทคนิค มีความสูงประมาณ 2.60 เมตร สวนช้ันท่ี 3 เปนหองสําหรับฝายออกแบบ ผนังอาคารทําจากอิฐฉาบปูน ดานหนาอาคารหันไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตในตําแหนง SW 236 ซ่ึงติดอยูกับถนน ไมมีการบังแสงอาทิตยเขาสูตัวอาคาร และดานหนาประกอบไปดวยกระจกใสท้ัง 3ช้ัน โดยมีเพียงมานบังแสงเขาสูภายในอาคาร ดานขางของอาคารอยูติดกับอาคารสํานักงานของบริษัทอ่ืน สวนดานหลังอาคารเปนพ้ืนท่ีวางเปลาและมีตนไมปลูกแบบปลอยท้ิงไว สวนดาษฟาของอาคารมีลักษณะเปนพ้ืนคอนกรีตไมไดใชทําประโยชนดังภาพท่ี 4.1 ภาพที่ 4.1 สภาพดานหนาอาคารสํานักงานบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด

Page 56: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

46

ภาพที่ 4.2 ลักษณะระเบียงหนาอาคารท่ีไมไดใชประโยชน ลักษณะอาคารมีระเบียงท่ีไมไดใชงานจํานวน 2 ช้ัน โดยในช้ันท่ี 2 เปนท่ีวางคอมเพรส เซอรแอรจํานวน 2 ตัว ระเบียงมีพ้ืนท่ี หนากวาง 4.30 เมตร และยื่นออกจากผนัง 0.8 เมตร ดังภาพท่ี 4.2 ผนังอาคารดานหนาประกอบดวยกระจกใส ท่ีมีผามานไวสําหรับบังแสงอาทิตย ดังภาพท่ี 4.3 ภาพที่ 4.3 ผนังอาคารท่ีมีกระจกใสเปนสวนประกอบ

Page 57: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

47

4.2 ตําแหนงของดวงอาทิตยในแตละเดือน การหาตําแหนงของดวงอาทิตย โดยการวัดคามุมเงยและมุมอาซีมุทจากเงาของดวงอาทิตยจะพบวาคามุมเงยของดวงอาทิตย จะเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ จนมีคาสูงสุดแลวจึงคอยลดต่ําลงเรื่อย ๆ จนดวงอาทิตยลับขอบฟาไป สําหรับมุมอาซีมุทก็จะมีการเปล่ียนคาไปดวยทุกครั้ง ท่ีวัด แสดงวาดวงอาทิตยมีการเปล่ียนตําแหนงตลอดเวลาเสนท่ีลากเช่ือมจุดตาง ๆ บนแบบจําลองทรงกลมทองฟาคือ แนวเคล่ือนท่ีปรากฎของ ดวงอาทิตยในรอบวัน เสนทางท่ีดวงอาทิตยเคล่ือนท่ีปรากฎไปบนทองฟาตลอดป จากการสังเกตตําแหนงขึ้นและตกของดวงอาทิตยและเสนทางโคจรปรากฎของดวงอาทิตยบนทองฟาตลอดป พบวาความจริงนั้นตําแหนงขึ้น ตกและเสนทางการโคจรของดวงอาทิตยบนทองฟามีการเปล่ียนแปลงไปทุกฤดูกาล จากการวัดตําแหนงของดวงอาทิตยขึ้นและตกพบวาตําแหนงเปล่ียนไปทุกวัน วันละประมาณ 15 ลิปดา ตารางที ่4.1 ผลจากการคํานวณหาตําแหนงดวงอาทิตย (ตําแหนงกรุงเทพฯ)

มุมอาซิมุท (องศา) วัน เดือน ขณะขึ้น ขณะตก

มุมเงยสูงสุด(องศา)

21 มีนาคม 90 270 76 27 เมษายน 76 284 90 20 พฤษภาคม 70 290 84 22 มิถุนายน 67 293 81 20 กรกฎาคม 69 291 83 16 สิงหาคม 76 284 90 23 กันยายน 90 270 76 20 ตุลาคม 100 260 66 20 พฤศจิกายน 110 250 56 22 ธันวาคม 113 247 52 20 มกราคม 110 250 56 20 กุมภาพันธ 101 259 67

แหลงที่มา : สมยศ แมนสงวน, ม.ป.ป

Page 58: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

48

ดวงอาทิตยขึ้นตรงจุดทิศตะวันออกและตกตรงจุดทิศตะวันตกพอดีคือมีมุมอาซีมุทขณะขึ้น 90 องศา และขณะตก 270 องศา ในวันท่ี 21 มีนาคม และ 23กันยายน เรียกวา วันอิควินอก(Equinoxes) เปนวันท่ีมีกลางวันและกลางคืนยาวเทากันวันท่ี 21 มีนาคม เปนวัน เริ่มตนฤดูใบไมผลิเรียกวา เวอรนอล อิควินอก (Vernal Equinox) สวนวันท่ี23กันยายน เปนวันเริ่มตนฤดูใบไมรวงเรียกวา ออตัมนอลอิควินอก (Autumnal Equinox) ดวงอาทิตยผานจุดเหนือศีรษะของคนกรุงเทพพอดี ในวันท่ี27 เมษายน และ16สิงหาคม มุมอาซีมุทขณะขึ้น 76 องศา ขณะตก 284 องศา ดวงอาทิตยขึ้นและตกคอนไปทางเหนือสุดในวันท่ี 22 มิถุนายน วันนี้เวลากลางวันจะยาวกวาเวลากลางคืนเรียกวา ซัมเมอรโซลติส(Summer Solstice) มีมุมอาซีมุทขณะขึ้น 67 องศา ขณะตก 293 องศา ดวงอาทิตยขึ้นและตกคอนไปทางใตสุดวันท่ี 22 ธันวาคม เปนชวงฤดูหนาวเรียกวาวินเทอรโซลติส (Winter Solstice) มีมุมอาซิมุทขณะขึ้น 113 องศาและขณะตก 247 องศา วันนี้จะมีเวลากลางคืนยาวกวากลางวัน ในวันท่ี 21มีนาคมดวงอาทิตยขึ้นท่ีจุดทิศตะวันออกและตกท่ีจุดทิศตะวันตกพอดีหลังจากวันนี้ไปดวงอาทิตยจะเปล่ียนตําแหนงไปวันละ 15 ลิปดา ขึ้นไปทางเหนือจนถึงเหนือสุดประมาณ 23.5 องศา ในวันท่ี 22 มิถุนายน ตอจากนั้นดวงอาทิตยจะมีการขึ้นและตกลด ต่ําลงมาจากทางเหนือจนถึง วันท่ี 23 กันยายน จะขึ้นและตกทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกพอดีหลังจากวันท่ี 23 กันยายน ดวงอาทิตย จะขึ้นตกคอนไปทางใตมากท่ีสุดประมาณ 23 องศา หลังจากวันนี้ดวงอาทิตยจะคอย ๆ ขึ้นตกสูงขึ้นจากทางใตจนกระท่ังมา ขึ้นตกตรง จุดทิศตะวันออกและทิศตะวันตกอีกครั้งหนึ่งในวันท่ี 21 มีนาคม ตอจากนั้นก็จะเปล่ียนตําแหนงขึ้นตกซํ้ารอยเดิมอีกเปนเชนนี้เรื่อยไป ผลจากการท่ีดวงอาทิตยมีการเปล่ียนตําแหนงการขึ้นตกไปตลอดท้ังปและโลกหมุนรอบดวงอาทิตยเปนวงรี จึงทําใหระยะทาง จากโลกถึงดวงอาทิตยไมเทากันนอกจากนี้แกนหมุนของโลกเอียงทํามุม 23.5 องศา กับแนวท่ีตั้งฉากกับระนาบวงโคจรของโลก ทําใหสวนตาง ๆ ของโลกไดรับแสงจากดวงอาทิตยไมเทากัน จึงเกิดฤดูกาลขึ้น โดยพ้ืนท่ีท่ีอยูบริเวณเสนศูนยสูตรจะไดรับแสงและความรอนจากดวง อาทิตยมากเกือบตลอดปจึงมีเพียง 2 ฤดูคือฤดูรอนกับฤดูฝน สวนทางซีกโลกเหนือจะเปนเขตอบอุนจึงมี 4 ฤดูคือ ฤดูใบไมผลิ ฤดูรอน ฤดูใบไมรวงและฤดูหนาว

Page 59: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

49

ภาพที่ 4.4 ตําแหนงดวงอาทิตยท่ีทํามุมกับอาคารสํานักงานในแตละเดือน แหลงที่มา: กฤษณพงศ กีรติกร, ม.ป.ป.: 26

ภาพที่ 4.5 หองฝายการตลาด บริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด ท่ีทําการเก็บขอมูล

sun

22 ธ.ค. sun

21 มี.ค. และ 23 ก.ย. sun

27 เม.ย. และ 16 ส.ค.

sun

22 มิ.ย.

S

E

N

ดานหนาอาคาร SW 236

Page 60: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

50

ภาพที่ 4.6 หนาอาคารบริษัทในชวงเวลาบาย

ภาพที่ 4.7 อุณหภูมิท่ีผนังกระจกในชวงเวลาบาย

Page 61: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

51

ภาพที่ 4.8 การใช Thermocouple type-k ตรวจวัดอุณหภูมิ

ภาพที่ 4.9 ติดตั้งเครื่องบันทึกคาอุณหภูมิ

Page 62: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

52

ภาพที ่4.10 การวัดคากระแสไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ 4.3 การเก็บขอมูลอุณหภูมิผนังที่รับรังสีแสงอาทิตย จากการเก็บขอมูลผนังอาคารโดยใชเครื่องบันทึกอุณหภูมิท่ีสามารถบันทึกคาอัตโนมัติ ทําการบันทึกคาอุณหภูมิทุก 10 นาที โดยวันทําการทดลองเก็บขอมูล คือวันท่ี 27 ตุลาคม พ.ศ. 2554 สภาพอากาศ มีเมฆบาง พบวาในชวงเวลาเชาอุณหภูมิผนังอาคารต่ํากวาอุณหภูมิแวดลอม เนื่องจากในชวงเวลากลางคืน อุณหภูมิแวดลอมมีคาอุณหภูมิต่ํา ผนังอาคารจึงยังคงเย็นกวาอุณหภูมิแวดลอมในชวงเวลาเชา และในชวงระยะเวลาประมาณ 10:00 น.พบวาอุณหภูมิผนังอาคารและอุณหภูมิแวดลอมมีระดับท่ีใกลเคียงกัน จนกระท่ังเวลาประมาณ 12:00 น. อุณหภูมิกระจกเริ่มมีคาสูงขึ้น และในเวลา 13:47 น. อุณหภูมิท่ีผนังกระจกรอนขึ้นอยางรวดเร็ว อันเนื่องมาจากตําแหนงของดวงอาทิตยท่ีแผรังสีทํามุมกับผนังกระจก และความรอนสะสมท่ีระบายออกสูบรรยากาศไดชา สงผลใหเกิดความรอนสูงขึ้นจนแตกตางกันมาก จนกระท้ังเวลา 16 :00 น. อุณหภูมิผนังกระจกและอุณหภูมิแวดลอมจึงเริ่มมีคาใกลเคียงกัน

Page 63: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

53

ตารางที ่4.2 คาอุณหภูมิของผนังอาคารซ่ึงเปนกระจก (วันท่ี 27 ตุลาคม พ.ศ.2554)

Time. CH01 CH02 detT Time. CH01 CH02 detT 8:47:35 29.3 30.9 1.6 12:37:35 38.5 35.0 (3.5) 8:57:35 29.4 30.5 1.1 12:47:35 37.5 35.6 (1.9) 9:07:35 28.9 30.5 1.6 12:57:35 37.3 35.8 (1.5) 9:17:35 29.6 30.9 1.3 13:07:35 36.9 36.4 (0.5) 9:27:35 29.8 31.1 1.3 13:17:35 37.1 36.5 (0.6) 9:37:35 31.0 31.4 0.4 13:27:35 37.6 37.0 (0.6) 9:47:35 31.5 31.6 0.1 13:37:35 37.0 37.3 0.3 9:57:35 31.4 31.8 0.4 13:47:35 37.3 38.4 1.1 10:07:35 31.8 31.9 0.1 13:57:35 35.6 39.5 3.9 10:17:35 31.4 32.0 0.6 14:07:35 39.2 42.7 3.5 10:27:35 31.8 32.2 0.4 14:17:35 36.5 44.0 7.5 10:37:35 31.8 32.3 0.5 14:27:35 39.5 42.6 3.1 10:47:35 32.0 32.3 0.3 14:37:35 38.3 44.1 5.8 10:57:35 32.8 32.5 (0.3) 14:47:35 39.7 44.7 5.0 11:07:35 33.1 32.7 (0.4) 14:57:35 39.4 44.0 4.6 11:17:35 33.1 33.0 (0.1) 15:07:35 38.2 44.4 6.2 11:27:35 33.5 33.2 (0.3) 15:17:35 39.4 45.7 6.3 11:37:35 33.2 33.4 0.2 15:27:35 40.2 44.7 4.5 11:47:35 33.9 33.5 (0.4) 15:37:35 37.5 44.3 6.8 11:57:35 33.5 34.1 0.6 15:47:35 36.6 41.2 4.6 12:07:35 35.7 34.0 (1.7) 15:57:35 36.0 37.4 1.4 12:17:35 35.7 34.3 (1.4) 16:07:35 35.1 36.1 1.0 12:27:35 36.1 35.0 (1.1) MAX 40.2 45.7

MIN 28.9 30.5 CH01 คือ อุณหภูมิแวดลอม CH02 คือ อุณหภูมิผนังอาคารท่ีเปนกระจก detT คือ คาอุณหภูมิท่ีแตกตางระหวางอุณหภูมิแวดลอมและอุณหภูมิผนังกระจกอาคาร จากตารางท่ี 4.2 คาอุณหภูมิสูงท่ีสุดของอุณหภูมิแวดลอมคือ 40.2 องศาเซลเซียส อยูในชวงเวลา 15:27 น. และอุณหภูมิต่ําสุด 28.9 องศาเซลเซียส ในชวงเชาเวลา 09:07 น. และอุณหภูมิท่ีผนัง

Page 64: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

54

กระจกมีคาสูงสุด 45.7 องศาเซลเซียส ในชวงเวลา 15:17 น. และอุณหภูมิต่ําสุด 30.5 องศาเซลเซียส ในชวงเวลา 08:57น.ถึงเวลา 09:07 น.

ภาพที่ 4.11 กราฟแสดงคาอุณหภูมิท่ีผนังกระจกและอุณหภูมิแวดลอมของบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด (ขอมูลวันท่ี 27 ตุลาคม 2554) จากการวิเคราะหขอมูลพบวาอาคารสํานักงานซ่ึงหันดานหนาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตซ่ีงมีการรับแสงอาทิตยเกือบตลอดท้ังป แมวาดวงอาทิตยจะขึ้นทางทิศตะวันออกและตกในทิศตะวันตก แตประเทศไทยตั้งอยูทางเหนือของเสนศูนยสูตรเพียงเล็กนอย ทําใหแนวตําแหนงของดวงอาทิตยในแตละวันไปอยูทางดานทิศใตมากกวา ทําใหทิศทางดานตะวันตกเฉียงใตไดรับรังสีแสงอาทิตยมากกวาในทิศอ่ืน โดยในชวงเวลาบายอุณหภูมิของอาคารมีคามากท่ีสุด เพราะฉะนั้น ในชวงเวลาบาย การทํางานของระบบปรับอากาศ จึงมีการทํางานมากกวาในชวงเวลากอนเท่ียง เพ่ือรักษาอุณหภูมิท่ีตองการ หากมีการบังคารังสีท่ีตกกระทบทางดานทิศตะวันตกเฉียงใตได ก็จะสงผลใหเกิดการประหยัดพลังงานในสวนของเครื่องปรับอากาศได

0

5

10

15

20

25

30

35

40

45

50

8:47

:35

9:07

:35

9:27

:35

9:47

:35

10:0

7:35

10:2

7:35

10:4

7:35

11:0

7:35

11:2

7:35

11:4

7:35

12:0

7:35

12:2

7:35

12:4

7:35

13:0

7:35

13:2

7:35

13:4

7:35

14:0

7:35

14:2

7:35

14:4

7:35

15:0

7:35

15:2

7:35

15:4

7:35

16:0

7:35

อุณหภูมิแวดลอม อุณหภูมิผนังกระจก

Page 65: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

55

ตารางที ่4.3 คาอุณหภูมิของผนังอาคารซ่ึงเปนกระจก (วันท่ี 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2554)

Time. CH01 CH02 detT Time. CH01 CH02 detT 9:56:14 30.3 32.5 2.2 13:46:14 32.3 50.3 18.0 10:06:14 30.1 32.2 2.1 13:56:14 32.4 52.1 19.7 10:16:14 30.1 32.3 2.2 14:06:14 32.5 53.5 21.0 10:26:14 30.2 32.4 2.2 14:16:14 32.7 52.0 19.3 10:36:14 30.3 32.8 2.5 14:26:14 32.9 52.3 19.4 10:46:14 30.3 33.0 2.7 14:36:14 33.1 54.8 21.7 10:56:14 30.4 33.3 2.9 14:46:14 33.4 56.9 23.5 11:06:14 30.4 33.6 3.2 14:56:14 33.9 57.5 23.6 11:16:14 30.4 33.8 3.4 15:06:14 34.5 58.0 23.5 11:26:14 30.5 34.1 3.6 15:16:14 34.4 57.8 23.4 11:36:14 30.4 34.1 3.7 15:26:14 34.2 57.0 22.8 11:46:14 30.4 34.4 4.0 15:36:14 33.8 56.0 22.2 11:56:14 30.5 34.8 4.3 15:46:14 33.6 45.2 11.6 12:06:14 30.5 35.0 4.5 15:56:14 33.3 39.9 6.6 12:16:14 30.5 35.0 4.5 16:06:14 33.0 37.9 4.9 12:26:14 30.7 35.2 4.5 16:16:14 32.8 36.8 4.0 12:36:14 30.7 35.4 4.7 16:26:14 32.7 31.9 (0.8) 12:46:14 30.9 35.7 4.8 MAX 34.5 58.0 12:56:14 31.0 36.1 5.1 MIN 30.1 31.9 13:06:14 31.2 36.5 5.3

13:16:14 31.3 37.1 5.8

13:26:14 31.6 38.4 6.8

13:36:14 31.7 46.6 14.9

CH01 คือ อุณหภูมิแวดลอม CH02 คือ อุณหภูมิผนังอาคารท่ีเปนกระจก detT คือ คาอุณหภูมิท่ีแตกตางระหวางอุณหภูมิแวดลอมและอุณหภูมิผนังกระจกอาคาร

Page 66: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

56

0

10

20

30

40

50

60

709:

56:1

4

10:0

6:14

10:1

6:14

10:2

6:14

10:3

6:14

10:4

6:14

10:5

6:14

11:0

6:14

11:1

6:14

11:2

6:14

11:3

6:14

11:4

6:14

11:5

6:14

12:0

6:14

12:1

6:14

12:2

6:14

12:3

6:14

12:4

6:14

12:5

6:14

13:0

6:14

13:1

6:14

13:2

6:14

13:3

6:14

13:4

6:14

13:5

6:14

14:0

6:14

14:1

6:14

14:2

6:14

14:3

6:14

14:4

6:14

14:5

6:14

15:0

6:14

15:1

6:14

15:2

6:14

15:3

6:14

15:4

6:14

15:5

6:14

16:0

6:14

16:1

6:14

16:2

6:14

Series2 Series3 ภาพที่ 4.12 กราฟแสดงคาอุณหภูมิท่ีผนังกระจกและอุณหภูมิแวดลอมของบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด (ขอมูลวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2554) จากขอมูลอุณหภูมิท่ีบันทึกของวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2554 ดังภาพท่ี 4.12 คาอุณหภูมิสูงท่ีสุดของอุณหภูมิแวดลอมคือ 34.5 องศาเซลเซียส อยูในชวงเวลา 15:06 น. และอุณหภูมิต่ําสุด 30.1 องศาเซลเซียส ในชวงเชาเวลา 10:06 น. จนถึง 10:16 น. และอุณหภูมิท่ีผนังกระจกมีคาสูงสุด 58 องศาเซลเซียส ในชวงเวลา 15:06 น. และอุณหภูมิต่ําสุด 31.9 องศาเซลเซียส ในชวงเวลา 16:06 น. โดยสามารถสรุปไดจากผลการบันทึกขอมูลผนังอาคารสํานักงานของบริษัท เอส. เอ. เจ. ไอ. (ประเทศไทย) จํากัด มีอุณหภูมิท่ีสูงกวา 40 องศาเซลเซียสในชวงเวลาบาย หากสามารถลดความรอนตรงผนังอาคารสวนนี้ได จะสงผลใหเกิดการประหยัดพลังงานจากเครื่องปรับอากาศลงได

Page 67: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

57

4.4 คาพลังงานไฟฟา คาใชจายการใชพลังงานไฟฟาของ บริษัท เอส. เอ. เจ. ไอ. (ประเทศไทย) จํากัด มีลักษณะท่ีสัมพันธกับ ตําแหนงของดวงอาทิตย ในเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2554 จนถึง เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2554 มีคาใชจายท่ีสูงกวาในชวงเดือนอ่ืนๆ เนื่องจากคาพลังงานไฟฟาท่ีเพ่ิมขึ้นมาสวนหนึ่งมาจากระบบปรับอากาศท่ีตองทํางานหนักขึ้น แตจากขอมูลเดือน เมษายน พ.ศ. 2554 มีคาใชจายท่ีนอยท่ีสุดเนื่องจาก เดือนเมษายน มีจํานวนวันหยุดมากท่ีสุด ทําใหการใชงานเครื่องปรับอากาศนอยลงดังภาพท่ี 4.13

คาไฟฟา

3,133.663,339.47 3,187.17

2,824.96

3,615.00

4,166.81 4,047.98

3,371.953,649.83

3,376.09

-

500.00

1,000.00

1,500.00

2,000.00

2,500.00

3,000.00

3,500.00

4,000.00

4,500.00

ม.ค.54

ก.พ.54

มี.ค.54

เม.ย.5

4

พ.ค.54

มิ.ย.54

ก.ค.54

ส.ค.54

ก.ย.54

ต.ค.54

ภาพที่ 4.13 กราฟแสดงคาไฟฟาของอาคารสํานักงานบริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ. (ประเทศไทย) จํากัด

คาไฟฟา(บาท)

เดือน

Page 68: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

58

ตารางที ่4.4 ขอมูลการใชพลังงานไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ (ขอมูลวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2554) เวลา Ampare Voltage Watts เวลา Ampare Voltage Watts 8:30 2.20 220.0 484.0 13:15 2.41 220.0 530.2 8:35 2.27 220.0 499.4 13:20 2.36 220.0 519.2 8:40 5.59 220.0 1,229.8 13:25 2.25 220.0 495.0 8:45 2.54 220.0 558.8 13:30 2.47 220.0 543.4 8:50 2.19 220.0 481.8 13:35 2.22 220.0 488.4 8:55 2.56 220.0 563.2 13:40 2.42 220.0 532.4 9:00 2.34 220.0 514.8 13:45 2.49 220.0 547.8 9:05 2.44 220.0 536.8 13:50 2.56 220.0 563.2 9:10 2.45 220.0 539.0 13:55 2.42 220.0 532.4 9:15 2.37 220.0 521.4 14:00 2.51 220.0 552.2 9:20 2.20 220.0 484.0 14:05 2.46 220.0 541.2 9:25 2.11 220.0 464.2 14:10 2.41 220.0 530.2 9:30 2.49 220.0 547.8 14:15 5.39 220.0 1,185.8 9:35 2.44 220.0 536.8 14:20 2.41 220.0 530.2 9:40 2.11 220.0 464.2 14:25 2.54 220.0 558.8 9:45 2.46 220.0 541.2 14:30 5.44 220.0 1,196.8 9:50 5.36 220.0 1,179.2 14:35 2.19 220.0 481.8 9:55 2.46 220.0 541.2 14:40 2.22 220.0 488.4 10:00 2.14 220.0 470.8 14:45 2.11 220.0 464.2 10:05 2.39 220.0 525.8 14:50 5.31 220.0 1,168.2 10:10 2.36 220.0 519.2 14:55 2.11 220.0 464.2 10:15 2.17 220.0 477.4 15:00 5.24 220.0 1,152.8 10:20 2.60 220.0 572.0 15:05 5.28 220.0 1,161.6 10:25 2.37 220.0 521.4 15:10 5.32 220.0 1,170.4 10:30 2.33 220.0 512.6 15:15 5.52 220.0 1,214.4 10:35 2.42 220.0 532.4 15:20 5.29 220.0 1,163.8 10:40 2.52 220.0 554.4 15:25 5.29 220.0 1,163.8 10:45 2.29 220.0 503.8 15:30 2.40 220.0 528.0 10:50 5.23 220.0 1,150.6 15:35 5.20 220.0 1,144.0 10:55 2.28 220.0 501.6 15:40 5.17 220.0 1,137.4

Page 69: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

59

ตารางที ่4.4 ขอมูลการใชพลังงานไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศ (ตอ) เวลา Ampare Voltage Watts เวลา Ampare Voltage Watts 11:00 2.29 220.0 503.8 15:45 2.52 220.0 554.4 11:05 2.57 220.0 565.4 15:50 5.37 220.0 1,181.4 11:10 2.27 220.0 499.4 15:55 2.36 220.0 519.2 11:15 5.55 220.0 1,221.0 16:00 2.25 220.0 495.0 11:20 5.49 220.0 1,207.8 16:05 2.53 220.0 556.6 11:25 2.26 220.0 497.2 16:10 2.22 220.0 488.4 11:30 2.21 220.0 486.2 16:15 2.21 220.0 486.2 11:35 2.45 220.0 539.0 16:20 2.15 220.0 473.0 11:40 2.12 220.0 466.4 16:25 5.14 220.0 1,130.8 11:45 2.47 220.0 543.4 16:30 2.23 220.0 490.6 11:50 2.28 220.0 501.6 16:35 2.13 220.0 468.6 11:55 2.36 220.0 519.2 16:40 2.47 220.0 543.4 12:00 5.29 220.0 1,163.8 16:45 2.55 220.0 561.0 12:05 2.15 220.0 473.0 16:50 2.54 220.0 558.8 12:10 2.55 220.0 561.0 16:55 2.42 220.0 532.4 12:15 2.58 220.0 567.6 17:00 2.32 220.0 510.4 12:20 2.49 220.0 547.8 17:05 5.25 220.0 1,155.0 12:25 2.17 220.0 477.4 17:10 5.33 220.0 1,172.6 12:30 2.15 220.0 473.0 17:15 5.34 220.0 1,174.8 12:35 2.26 220.0 497.2 17:20 5.17 220.0 1,137.4 12:40 2.41 220.0 530.2 17:25 5.25 220.0 1,155.0 12:45 2.44 220.0 536.8 17:30 2.41 220.0 530.2 12:50 2.39 220.0 525.8 17:35 5.50 220.0 1,210.0 12:55 2.26 220.0 497.2 17:40 2.20 220.0 484.0 13:00 2.17 220.0 477.4 17:45 2.29 220.0 503.8 13:05 2.20 220.0 484.0 17:50 2.44 220.0 536.8 13:10 5.16 220.0 1,135.2 17:55 5.14 220.0 1,130.8

18:00 2.17 220.0 477.4 Ampare คือ หนวยของกระแสไฟฟา (Current) Voltage คือ คาแรงดันกระแสไฟฟาสลับมาตรฐาน 220 V.

Page 70: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

60

Watts คือ คากําลังไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ

0

200

400

600

800

1000

1200

1400

8:30

8:45

9:00

9:15

9:30

9:45

10:0

0

10:1

5

10:3

0

10:4

5

11:0

0

11:1

5

11:3

0

11:4

5

12:0

0

12:1

5

12:3

0

12:4

5

13:0

0

13:1

5

13:3

0

13:4

5

14:0

0

14:1

5

14:3

0

14:4

5

15:0

0

15:1

5

15:3

0

15:4

5

16:0

0

16:1

5

16:3

0

16:4

5

17:0

0

17:1

5

17:3

0

17:4

5

18:0

0

คากําลังไฟฟา W atts ภาพที่ 4.14 กราฟแสดงกําลังไฟฟาจากเครื่องปรับอากาศท่ีใชงาน จากผลการวัดคาการใชพลังงานไฟฟาในเวลาท่ีคอมเพรสเซอรไมทํางาน ระบบปรับอากาศใชกําลังไฟฟาประมาณ 400-500 วัตต ดังภาพท่ี 4.14 แตเม่ือคอมเพรสเซอรทํางานพบวาใชพลังงานไฟฟาสูงกวา 1,000 วัตต การทํางานเพ่ือปรับอากาศในชวงเวลาบายสังเกตุจากกราฟ จะเห็นไดวาในชวงเวลาบายมีการตัดตอของคอมเพรสเซอรมากกวาชวงเชาอยางเห็นไดชัด แสดงใหเห็นวาอุณหภูมิความรอนท่ีผนังอาคารอันเกิดจากรังสีแสงอาทิตยตกกระทบสงผลใหเครื่องปรับอากาศทํางานมากกวาปกต ิ

Page 71: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

61

4.5 รูปแบบของการใชพืชพรรณไมประกอบอาคารเพื่อลดความรอนที่เขาสูอาคาร การออกแบบการใชพืชพรรณไมประกอบอาคาร เพ่ือใหเห็นถึงการนําพืชพรรณไปใชลดความรอนท่ีเขาสูอาคารในหลายรูปแบบและใหเห็นถึงประสิทธิผลของพืชพรรณไม ซ่ึงมีรูปแบบจากงานวิจัยตางๆท่ีใชออกแบบมี 5 รูปแบบดังนี ้ 1. การใชรมเงาจากไมตน 2. การใชไมเล้ือยเปนแผงบังแดดในแนวนอน 3. การใชไมเล้ือยเปนแผงบังแดดในแนวตั้ง 4. การใชไมเล้ือยเกาะปกคลุมผนังอาคาร 5. การปลูกหญาหรือพืชคลุมดิน และไมพุมบริเวณพ้ืนรอบอาคาร 4.5.1 การใชรมเงาจากไมตน การนําพืชพรรณไมไปใชลดความรอนท่ีเขาสูอาคารวิธีนี้เปนวิธีท่ีไมไดใชประกอบกับอาคารโดยตรง เปนลักษณะการปลูกเคียงขางกับอาคาร ไมตนสามารถใหรมเงาไดดีท่ีสุด และใชบังแดด ใหแกสวนผนังไดบาง ไมตนท่ีแตกกิ่งกานในระดับท่ีสูงกวาหลังคาจะมีประสิทธิภาพดีท่ีสุด เนื่องจากไมบังลมท่ีจะพัดเขาสูอาคาร ไมตนเหลานี้จึงทําหนาท่ีเสมือนหลังคาอีกช้ันหนึ่ง 4.5.2 การใชไมเลื้อยเปนแผงบังแดดในแนวนอน รูปแบบนี้เปนรูปแบบของการใชพืชพรรณไมประกอบอาคารโดยตรง โดยใชไมเล้ือยเกาะคลุมโครงสรางท่ีทําเปนแผงบังแดดในแนวนอน จากการศึกษาการปองกันแสงแดดพบวาเม่ือนําไปใชบังแดดใหกับชองเปดของผนังดานทิศใตและทิศเหนือจะไดผลดีท่ีสุด 4.5.3 การใชไมเลื้อยเปนแผงบังแดดในแนวตั้ง รูปแบบนี้จะเปนลักษณะเชนเดียวกับแผงบังแดดในแนวนอน แตตางกันท่ีทําในลักษณะแนวตั้ง เหมาะท่ีจะนําไปใชกับผนังหรือเฉลียงดานทิศตะวันตก โดยเฉพาะอยางยิ่งกับผนังท่ีไมมีชองเปด ไมเหมาะจะใชกับดานทิศเหนือและทิศใตเนื่องจากจะบังลมและทัศนียภาพภายนอกอาคารดวย แผงบังแดดในแนวตั้งนี้ จะใหประสิทธิผลท่ีดีเม่ือ มุมของดวงอาทิตยอยูในระดับต่ํา

Page 72: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

62

4.5.4 การใชไมเลื้อยเกาะปกคลุมผนังอาคาร แมวาการใชไมเล้ือยประกอบอาคารในรูปแบบนี้จะสามารถลดความรอนท่ีผานผนังไดด ีแตยังไมสมบูรณ เนื่องจากไปลดประสิทธิภาพของการคายความรอนของผนังในชวงเย็นถึงค่ําดวย นอกจากนี้ในภายหลังเม่ือไมตองการไมเล้ือยเกาะผนัง จะแกไขไดยาก เพราะไมเล้ือยเหลานี้จะท้ิงรองรอยถาวรไวกับผนัง จึงตองประยุกตใชโดยการทําโครงสรางใหไมเล้ือยเกาะหางจากผนังเล็กนอย เพ่ือใหอากาศไหลผานได และใชกับผนังดานทิศตะวันตกท่ีไมมีชองเปด หรือมีชองเปดนอยท่ีสุด จะไดประสิทธิภาพดีท่ีสุด 4.5.5 การปลูกหญาหรือพืชคลุมดิน และไมพุมบริเวณรอบอาคาร รูปแบบนี้เปนการลดการสะทอนรังสีแสงอาทิตย ท่ีสะทอนจากบริเวณพ้ืนท่ีรอบๆอาคาร ซ่ึงแตกตางจากรูปแบบอ่ืนท้ัง 4 วิธีขางตน ท่ีเปนลักษณะของการปองกันรังสีตรง การปลูกหญาหรือพืชคลุมดินสามารถกระทําไดทุกทิศรอบอาคารทิศเหนือและทิศใตจะใหประสิทธิผลสูงสุด เนื่องจากลมจะพัดผานไอเย็นเหนือหญาหรือพืชคลุมดินเขาสูอาคาร การปลูกไมพุมติดกับผนังอาคารก็เปนการชวยลดความรอนท่ีเขาสูอาคารไดอีกวิธีหนึ่ง ซ่ึงจะไดผลในรูปแบบเดียวกับการใชไมเล้ือยเกาะปกคลุมผนังอาคาร นอกจากนี้รูปทรงและพ้ืนผิวตามธรรมชาติของไมพุมจะทําใหคาการสะทอนรังสีต่ํากวาลักษณะพ้ืนผิวท่ีแบนราบของหญา วิธีนี้เหมาะจะใชกับผนังท่ีไมมีชองเปดเทานั้น เพราะไมพุมเหลานี้จะบังลม และเพ่ิมความช้ืนเขาสูอาคารดวย 4.6 ลักษณะและชนิดของพรรณไมที่ใชประกอบอาคาร จากรูปแบบของการนําพืชพรรณไมไปใชประกอบอาคารในวิธีตางๆ จะเห็นไดวาแตละวิธีตองใชพืชพรรณไมแตละประเภทแตกตางกันไปตามวัตถุประสงคของการนําไปใชนั้นๆลักษณะและพรรณไมท่ีเลือกใชจึงขึ้นอยูกับรูปแบบวิธีของการนําไปใช 4.6.1 พรรณไมที่ใชวิธีการใชรมเงาจากไมตน ลักษณะพรรณไมท่ีนํามาใชเพ่ือบังแสงอาทิตยใหกับอาคารมี 2 สวนคือ 4.6.1.1 การใชรมเงาจากไมตนบังหลังคา ลักษณะพรรณไมพรรณไมท่ีนํามาควรอยูในประเภทไมไมผลัดใบ (Evergreen trees) ท่ีมีเรือนยอดตรงกลม ทรงรม ทรงกรวย หรือทรงปรามิด พุมใบคอนขางดกแนน แตกกิ่งกาน

Page 73: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

63

ในแนวกวางในระดับท่ีสูง เพ่ือท่ีจะไมบังลมท่ีพัดผานใตพุมใบเขาสูอาคาร กิ่งกานไมเปราะหักงาย ไมมีน้ํายางเปนพิษ ไมมีระบบรากลอยหรือรากแข็งแรง และไมมีผลรวงหลนท่ีอาจกอความเสียหายใหกับหลังคาหรือสรางความรําคาญแกผูอาศัยได พรรณไมท่ีใช ไดแก ประดู สัตตบรรณ ขี้เหล็ก สะเดา ควินิน ตะขบ กระพ้ีจั่น กระถินณรงค (คํารพ สิริเฉลิมลาภ, 2546: ) 4.6.1.2 การใชรมเงาจากไมตนบังผนัง ลักษณะของพรรณไมควรอยูในประเภทไมผลัดใบ การใชไมผลัดใบ (Deciduous Trees) ถึงแมสวนใหญจะมีดอกสวย แตประสิทธิภาพในการบังแดดจะลดลงในชวงท่ีไมไมผลัดใบ พรรณไมท่ีใชบังผนังควรมีลักษณะพุมใบแนน รูปทรงกระบอก ทรงกรวย ทรงปรามิด ทรงกลมก็สามารถใชได ความสูงประมาณ 2-3 เมตร หากผนังมีชองเปด ตองใหพุมใบอยูสูงหรือต่ํากวาระดับของชองเปดนั้น พรรณไมท่ีใชสวนใหญเปนไมตนขนาดกลางถึงขนาดเล็ก เชน โมก ทรงบาดาล หรือไมตนขนาดใหญและไมผลบางชนิดเชน อโศกอินเดีย มะมวง ขนุน ชมพู 4.6.2 พรรณไมที่ใชในวิธีการใชไมเลื้อยเปนแผงบังแดดในแนวนอน ลักษณะพรรณไมอยูในประเภทรอเล้ือย หรือไมเถาเล้ือย โดยเปนไมเล้ือยยืนตนอายุยืน ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เจริญเติบโตในขนาดท่ีจํากัด พวกไมเล้ือยลมลุกอายุส้ันแมจะใหดอกสวยงามกวา แตไมจําพวกนี้มีอายุประมาณ 1-3 ป จากนั้นเถาลําตนก็จะโทรมไป สวนไมเล้ือยขนาดใหญ เชน การเวก โยทะกา และเถาใบสีทอง อาจจะสรางความเสียหายใหแกอาคารได พรรณไมท่ีใชเปนประเภทไมเล้ือยขนาดเล็ก เชน สายน้ําผ้ึง ขจร พวงชมพู พวงแสด มะลิวัลย ลัดดาวัลย บานบุรี จันทรกระจางฟา ประเภทไมเล้ือยขนาดกลาง เชน สรอยอินทนิล (ดังภาพท่ี 4.15) เล็บมือนาง ใบละบาท องุน ภาพที่ 4.15 ตนสรอยอินทนิล

Page 74: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

64

แหลงที่มา : กองกานดา ชยามฤต, 2548: 13 4.6.3 พรรณไมที่ใชในวิธีการใชไมเลื้อยเปนแผงบังแดดในแนวตั้ง ลักษณะของพรรณไมท่ีใช สามารถใชไดท้ังไมเล้ือย รวมท้ังไมพุมขนาดกลางท่ีมีลักษณะใบละเอียด ดกทึบ ตัดแตงเปนแผงบังแดดไดอีกดวย ประเภทไมเล้ือยอิงอาศัย เชน ตีนตุกแก พลูดาง เงินไหลมา(ดังภาพท่ี 4.16) ออมเงิน ออมทอง สรอยใบโพธ์ิ ประเภทใบพุม โดนตัดแตงเปนแผงบังแดด เชน ขอย (ดังภาพท่ี 4.17) ชาปตตาเวีย ชาขอย แกว (ดังภาพท่ี 4.18) ไทรทอง พยับหมอก ล้ินกระบือ ขาไกเขียว (ดังภาพท่ี 4.19) ขาไกดาง เข็ม ชบา (เอ้ือมพร วีสมหมายและคณะ, 2539: 318)

ภาพที่ 4.16 ตนเงินไหลมา แหลงที่มา: ไมประดับ, ม.ป.ป.

Page 75: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

65

ภาพที่ 4.17 ตนขอย แหลงที่มา: 108พรรณไมไทย, ม.ป.ป.

ภาพที่ 4.18 ตนแกว แหลงที่มา: ไมประดับ, ม.ป.ป.

Page 76: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

66

ภาพที่ 4.19 ตนขาไกเขียว แหลงที่มา: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ม.ป.ป.

ภาพที่ 4.20 ตนเข็ม แหลงที่มา: ไมประดับ, ม.ป.ป.

Page 77: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

67

ภาพที่ 4.21 รูปแบบการนําพืชมาใชประกอบอาคาร แหลงที่มา : พาสิน ีสุนากร, 2553: 60 4.6.4 พรรณไมที่ใชในวิธีการใชไมเลื้อยเกาะปกคลุมผนังอาคาร ลักษณะพรรณไมอยูในประเภทไมเล้ือยอิงอาศัย มีลักษณะใบละเอียด ดก กิ่งกานไมใหญโต เนื่องจากจะตองตัดแตงอยูเสมอ พรรณไมท่ีนิยมใชท่ีสุดคือ ตีนตุกแก นอกจากนี้อาจใชพลูดาง เงินไหลมา (อัศวิน ไทรสาคร, 2545: 18) 4.6.5 พรรณไมที่ใชในวิธีปลูกหญาหรือพืชคลุมดินและไมพุมที่พ้ืนรอบอาคาร ลักษณะของพรรณไม เปนพืชคลุมดิน รวมไปถึงไมพุมเตี้ย เปนไมท่ีมีความสูงไมเกิน 30 ซม. หรือสูงสุดไมเกินระดับลางของชองเปด อาจใชประเภทไมดอกท่ีมีกล่ินหอม เนื่องจากปลูกชิดอาคาร พรรณไมท่ีใช เปนหญาหรือพืชคลุมดิน สวนใหญชอบแสงแดดจัด เชน หญานวลนอย หญาญี่ปุน ผักเปด(ดังภาพท่ี 4.23) ผักโขมแดง เทียนทอง (ดังภาพท่ี 4.25) ฤาษีผสม ประเภทไมดอก เชน พิทูเนีย บานช่ืน ดาวเรือง สรอยไก คุณนายตื่นสาย ไมดอกอายุยืน เชน ยาหยา กระดุมทองเล้ือย (ดังภาพท่ี 4.22) เข็ม

Page 78: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

68

ภาพที่ 4.22 ตนกระดุมทอง แหลงที่มา : กองกานดา ชยามฤต, 2548: 47

ภาพที่ 4.23 ตนผักเปด แหลงที่มา : องคการสวนพฤกษศาสตร, 2547

Page 79: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

69

ภาพที่ 4.24 แผงกันแดดท่ีใชไมเล้ือย แหลงที่มา : วิชัย เหลาพาณิชยกุล และอวิรุทธ ศรีสุธาพรรณ, 2550

ภาพที่ 4.25 ตนเทียนทอง แหลงที่มา: วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธาน,ี ม.ป.ป.

Page 80: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

70

ภาพที่ 4.26 ตนทรงบาดาล แหลงที่มา: ไมประดับ, ม.ป.ป.

Page 81: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

71

บทท่ี 5

สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการศึกษา การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาหาพืชท่ีเหมาะสมในการบังแสงเพ่ือการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชย และเพ่ือศึกษาถึงวิธีการนําพืชพรรณตางๆมาประยุกตใชประกอบอาคารพาณิชย โดยวิธีการวิจัยจะเปนการศึกษาคนควางานวิจัยและทฤษฎีตางๆท่ีเกี่ยวของและทําการเก็บขอมูลเพ่ือนํามาวิเคราะหตามวัตถุประสงค ดังนี ้ 5.1.1 พืชที่เหมาะสมในการบังแสงเพ่ือการอนุรักษพลังงานในอาคารพาณิชยโดยการใชหองฝายการตลาด จากการศึกษาควางานวิจัยตางๆ พบวาพืชท่ีเหมาะสม และสามารถนํามาใชปกคลุมผนังอาคารพาณิชยในทางทิศตะวันตกได ซ่ึงประเภทไมเล้ือย เชน ตนสรอยอินทนิล ตนตีนตุกแก ประเภทไมพุม เชน ชาฮกเกี้ยน โดยสามารถปองกันการถายเทความรอนไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลการศึกษางานวิจัยพบวาการใชพืชบังแสงสามารถลดอุณภูมิภายในหองทดลองไดต่ํากวาอากาศภายนอกถึง 6.84 องศาเซลเซียส และต่ํากวาหองท่ีใชแผงกันแดดสําเร็จรูปถึง 2.92 องศาเซลเซียส ในวันท่ีมีอุณหภูมิสูง การศึกษาคนควายังพบอีกวาไมเล้ือยท่ีมีช้ันใบปกคลุมหนา 30 ถึง 35 เซนติเมตร สามารถลดอุณหภูมิพ้ืนผิวอาคารท่ีอยูใตพุมใบไดถึง 30 องศาเซลเซียสหรือมากกวา และควรมีการเวนระยะหางประมาณ 10 เซนติเมตร หรือใชพืชท่ีมีชองวางใตพุมใบ จะสงผลใหคายความรอนในชวงเวลากลางคืนไดด ีนอกจากนีต้นไมชนิดตาง ๆ สามารถกรองรังสีของดวงอาทิตยไดในปริมาณท่ีแตกตางกันออกไป โดยขึ้นอยูกับอัตราความหนาแนนของพุมใบ ซ่ึงมีอัตราการกรองรังสีของดวงอาทิตยอยูในชวงตั้งแต 50 % ถึง 90 % โดยตนไมท่ีมีพุมใบหนาทึบมาก และตนไมท่ีมีความหนาแนนของพุมใบปานกลาง แตมีใบขนาดใหญ หนาและเรียงตัวซอนหลาย ๆ ช้ัน จะสามารถกรองรังสีของดวงอาทิตยไดสูงถึง 80 % ถึง 90 % สําหรับตนไมท่ีมีพุมใบคอนขางโปรง หรือมีใบขนาดเล็กเรียวแคบ จะกรองรังสีจากดวงอาทิตยไดเพียงประมาณ 50 % ถึง 60 % จากการท่ีตําแหนงของดวงอาทิตยไปทางดานทิศเหนือเพียงปละ 4 เดือนและอีก 8 เดือน ดวงอาทิตยจะออมทางดานทิศใต ดังนั้นการเขาใจตําแหนงของดวงอาทิตยจะเปนการทําใหตนไม

Page 82: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

72

ไดรับแสงอาทิตยอยางเพียงพอ การปลูกตนไมในทางทิศเหนือ ถาหากอาคารมีความสูงมากกวาหนึ่งช้ัน หรือ ประมาณ 6 เมตร เงาของอาคารจะทําใหตนไมท่ีปลูกอยูใกลบานไดรับแสงแดดนอยหรือไมไดรับแสงเลย ควรเลือกพันธุไมท่ีชอบรมรําไร เชน จั๋ง สาวนอยประแปง เขียวหม่ืนป พลูชนิดตางๆ และพันธุไม ประเภทไมใบอยูในท่ีรมได สําหรับพันธุไมคลุมดิน ท่ีชอบรม ไดแก พลูเล้ือยตางๆ พลูกํามะหยี่ พลูทอง เฟน สวีดีชไอวี่ ดีปลี ไมตระกูลหนวดปลาดุก เปปเปอร และล้ินมังกรชนิดตางๆ การปลูกตนไมในทางทิศใต เปนทิศท่ีแดดเขาตลอดวัน การใชตนไมใหญใหรมเงาควรมีใบทึบขางบนและโปรงดานลาง เพ่ือใหลมพัดผานเขาบานได พันธุไมท่ีใหรมเงา และใบไมรวงไดแก กระทิง สารภี มะฮอกกานี มะขาม แคแสด สําหรับพันธุไมท่ีใหดอกสวยงาม แตผลัดใบท้ังตนในบางฤดูไดแก กัลปพฤกษ กระพ้ีจั่น เสลา คูน หางนกยูง เหลืองอินเดีย เปนตน พันธุไมดอกหอมท่ีควรปลูกดานนี้ไดแก จําป จําปา บุหงาสาหรี โมก พิกุล ประยงค แกว กันเกรา ปป ตีนเปดน้ํา ลําดวน การปลูกตนไมทางทิศตะวันตก ทิศนี้ไดรับแดดจัดตลอดบาย ควรปลูกไมท่ีใหรมเงา อาจเปนพันธุไมท่ีใหดอกตามฤดูกาล เชน เสลา คูน กัลปพฤกษ ประดูแดง ประดูอินเดีย พันธุไมทิศนี้จะทําหนาท่ีกันแดดชวงบาย ซ่ึงรอนแรงทําใหผนังอาคารดานนี้เย็น และชวยประหยัดพลังงานในเวลาค่ําคืน ซ่ึงถาท่ีอาคารมีพ้ืนท่ีไมมากพอท่ีจะปลูกไมใหญใหรมเงา อาจใชอโศกอินเดีย หมากเขียว หมากเหลือง กลวยพัด ก็เหมาะสมดี หากพ้ืนท่ีนอยอาจใชพันธุไมไตหรือเกาะผนัง เชน ตีนตุกแก ดีปลี หรือพลูบางชนิดก็ชวยกันแดดไดดีขึ้น การปลูกตนไมทางทิศตะวันออก ทิศนี้จะไดรับแดดครึ่งวนั หลังเท่ียงไปแลวจะไดรับรมจากตัวอาคาร ควรปลูกไมท่ีไมตองการแดดตลอดวัน เชน ไผ ใบจะรวงนอยถาไดแดดเชา หรือพันธุไมท่ีมีใบละเอียด หรือใบเล็ก จะดูสวยงามมาก เม่ือมองผานแดดเชา ไดแก ปป เล่ียน โมก พูชมพู มะขามปอม หลิวจีน ชิงชัน ไผเล้ียง อรพิม เปนตน ไมพุมไดแก ฤษีผสม ซัลเวีย ปโกเนีย พรมญี่ปุน เฟน ไผแคระ ไมตระกูลใบเงิน ใบทอง ใบนาก และหมากผูหมากเมีย 5.1.2 รูปแบบการปลูกที่เหมาะสม รูปแบบการนําพืชบังแสงไปใชงาน ประเภทไมเล้ือยสามารถทําเปนแผงกันแดดได โดยอาจใชเปนลักษณะแผงแนวตั้งหรือแผงแนวนอน และการใชซุมไมเล้ือยรอบหนาตางหรือผนังอาคารท่ีหันไปทางดานทิศใตหรือทิศตะวันตก โดยผลงานศึกษาคนควาพบวาสามารถลดอุณหภูมิภายในอาคารซ่ึงอยูหลังพุมใบในชวงเวลากลางวันไดสูงสุด 8 ถึง 11 องศาเซลเซียส และการนํามาใชท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ิมขึ้น คือใหอากาศไหลผานสัมผัสผิวใบใหมากท่ีสุด เชน การใชมานไมเล้ือยในแนวตั้งปกคลุมหนาตางซ่ึงควรมีการเวนระยะหางท่ีเหมาะสม เพ่ือการถายเทอากาศท่ีดีดวย

Page 83: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

73

5.1.3 สรุปผลการศึกษาในภาพรวม การเลือกตําแหนงปลูกพรรณไมแตละชนิด ตองศึกษาใหชัดเจนวาพรรณไมแตละชนิดตองการน้ําและแสงมากนอยแคไหน สวนตําแหนงในปลูกตนไมใหรมเงา คือทิศใต และทิศตะวันตก ซ่ึงมีแดดจัด เนื่องจากตําแหนงของประเทศไทยท่ีทํามุมกับดวงอาทิตยในแตละเดือน การปลูกตนไมจนหนาทึบจะทําใหลมไมผานเขาอาคาร เนื่องจากลมจะพัดมาจากทางทิศใตและทิศตะวันตกเฉียงใต สําหรับพรรณไมท่ีนิยมบังแสงอาทิตยท่ีเหมาะสมกับการประยุกตนําไปประกอบอาคารเพ่ือลดการใชพลังงาน เชน แผงบังแดดไมเล้ือยมีประสิทธิผลของการบังแสงจากการแผรังสีของดวงอาทิตย ไมวาจะนําไปใชประกอบสวนใดของอาคารลวนมีผลในการขัดขวางพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย กอนท่ีผนังอาคารจะไดรับความรอน โดยเฉพาะในชวงเวลาท่ีอากาศมีอุณภูมิสูงในวันท่ีทองฟาปกต ิแผงบังแดดไมเล้ือยจะมีประสิทธิภาพในการลดความรอนเขาสูอาคารไดสูง และการใชพืชพรรณไมประกอบอาคารในรูปแบบใดใหประสิทธิผลสูงสุด ขึ้นอยูกับการนําไปใชอยางถูกตองเหมาะสม เนื่องจากแตละวิธี แตละรูปแบบ มีขอดีขอเสียท่ีแตกตางกัน 5.2 ขอเสนอแนะ ในการศึกษาการใชตนไมหรือพืชพรรณเพ่ือประกอบอาคารเปนแนวทางในการอนุรักษพลังงานและการสรางสภาพแวดลอมท่ีด ี พรรณพืชในการประยุกตใชเพ่ือการอนุรักษพลังงาน 5.2.1 ขอเสนอแนะสําหรับนําผลการวิจัยไปใช ในการอนุรักษพลังงานสําหรับอาคารเปนการใชพลังงานใหเกิดประโยชนสูงสุด การนําพืชบังแสงอาทิตยเปนแนวทางหนึ่งท่ีมีประสิทธิผลและเปนการปรับปรุงสภาวแวดลอมโดยรอบของอาคารใหดูเปนธรรมชาติ สบายตา และพืชซ่ึงมีหลายประเภทสามารถนําไปประยุกตใชประกอบกับอาคารไดจริง 5.2.2 ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัยในอนาคต งานวิจัยในอนาคตควรมีการประยุกตใชในรูปแบบอ่ืน เชนการใชแผงไมเล้ือยแบบโคง และควรมีการนําตัวแปรท่ีเกี่ยวของเพ่ิมขึ้น เชน ความคุมคาทางเศรษฐศาสตร โดยคิดราคาตนทุนและผลกําไรทางส่ิงแวดลอมเขาไปดวย ซ่ึงจะทําใหงานวิจัยมีความถูกตองมากขึ้น และการศึกษาวิจัยเชิงทดลองควรมีวิธีการดูแลบํารุงรักษาพืชพรรณไมนั้นๆ เพ่ือใหมีอายุใชงานไดนานขึ้น

Page 84: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

74

บรรณานุกรม

กรมปาไม. ม.ป.ป.. ส่ิงที่ควรควรรู รอบร้ัวเมืองกรุง. คนวันท่ี 12 กรกฎาคม 2554 จาก http://www.forest.go.th/index.php กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน. 2553. รายงานไฟฟาของประเทศไทย 2553. คน วันท่ี 5 ตุลาคม 2554 จาก www.dede.go.th กรมอุตุนิยมวิทยา. 2551. แนวโนมรังสีดวงอาทิตย. คนวันท่ี 5 ตุลาคม 2554 จาก http://ozone.tmd.go.th/annual_solar.htm กฤษณพงศ กีรติกร. ม.ป.ป.. การแผรังสีดวงอาทิตย. เอกสารประกอบการสอนคณะพลังงานวัสดุ และส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กองกานดา ชยามฤต. 2548. ลักษณะประจําวงศพรรณไม. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จํากัด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ม.ป.ป.. ไมดอกไมประดับ. คนวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2554 จาก http://clgc.rdi.ku.ac.th/ คํารพ สิริเฉลิมลาภ. 2546. การใชพืชพรรณในการลดความรอนใหกับสภาพแวดลอมรอบอาคาร บานพักอาศัย. วิทยานิพนธปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง จงจิตร หิรัญลาภ. 2547. กระบวนการพลังงานแสงอาทิตยในรูปความรอน. กรุงเทพฯ: ดวงกมล ชํานาญ บุญญาพุทธิพงศ. 2548. ความรอนภายในอาคาร. คนวันท่ี 10 กรกฎาคม 2554 จาก http://home.kku.ac.th/bchum/energyhouse.html เดชา บุณค้ํา. 2543. ตนไมใหญในการกอสรางและพัฒนาเมือง. กรุงเทพฯ สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ธงชัย ศิริประยุกต. 2524. การวัดและวิเคราะหขอมูลการแผรังสีดวงอาทิตย. วิทยานิพนธปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตธนบุรี ธนาวุฒิ ขุนทอง . 2553. การจัดการสภาพแวดลอมโดยใชประโยชนจากพรรณไมเพ่ือปรุงแตง สภาพแวดลอมใหเขาสูสภาวะสบาย. การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่องประเทศ ไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งท่ี 1

Page 85: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

75

ธนิต จินดาวณิค. 2537. การออกแบบเพ่ือประหยัดพลังงาน. กรุงเทพฯ: วารสารวิชาการคณะ สถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นพดล ศรีสิงห. ม.ป.ป. การปลูกตนไมเพ่ือการอนุรักษพลังงานใหกับอาคาร. คนวันท่ี 22 กรกฎาคม 2554 จาก http://www.postengineer.com/new/article/d4.htm นักสิทธ คูวัฒนาชัย. 2533. การถายเทความรอน. กรุงเทพฯ: ฟสิกสเซ็นเตอร ประทีป มาลากุล, มล. 2542. ประวัติสถาปตยกรรมสมัยใหม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ปรีชญา รังสิรักษ. ม.ป.ป.. แนวความคดิในเร่ืองสภาวะความสบาย . กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง พาสิน ีสุนากร . 2553. การใชพืชพรรณประกอบอาคาร เพ่ือมนุษยและสภาพแวดลอม. กรุงเทพฯ: วารสารธนาคารอาคารสงเคราะห ฉ.60 พาสินี สุนากร และ ชนิกานต ยิ้มประยูร. 2551. การปองกันความรอนของแผงกันแดดไมเลื้อยใน เขตรอนชื้น. กรุงเทพฯ: วารสารพลังงาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พาสิน ีสุนากร และ พูนพิภพ เกษมทรัพย . 2554. สมรรถนะการดูดซับคารบอนไดออกไซดของ ผนังไมเลื้อย. กรุงเทพฯ: วารสารพลังงาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มานพ สุภาพ่ึง. 2542. แนวความคิดการเลือกพืชพรรณแตงสวน. Landscape&Home มานิจ ทองประเสริฐ และสมศรี จงรุงเรือง . 2524. ทฤษฏีการใชประโยชนทางความรอน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มาลินี ศรีสุวรรณ. 2543. The study of air flow patterns in relation to building wall openings for the tropical climate of Thailand. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร ไมประดับ. ม.ป.ป.. ไมมงคล. คนวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2554. จาก http://www.maipradabonline.com วชิรพงศ หวลบุตตา. 2542. ไมตนประดับ. กรุงเทพฯ: บานและสวน วรวรรณ เนตรพระ. 2552. ประสิทธิผลของไมเลื้อยที่มีผลตอการลดการถายเทความรอนเขาสู ผนังอาคาร. วิทยานิพนธสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 86: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

76

วิชัย เหลาพาณิชยกุล และ อวิรุทธ ศรีสุธาพรรณ. 2550. ประสิทธิภาพของผนังไมเลื้อยในการลด การถายเทความรอนผานผนังอาคาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธาน.ี ม.ป.ป.. สวนพฤษศาสตรโรงเรียน คนวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2554 จาก http://www.udvc.ac.th สมยศ แมนสงวน. ม.ป.ป.. ดวงอาทิตย. คนวันท่ี 30 กันยายน 2554 จาก http://www.wt.ac.th/~somyos/earth4011.html สหพรหม วงศชีวะ. 2551. การศึกษาแผงกันแดดไมเลื้อยเพ่ือลดการถายเทความรอน ผานชองเปด เขาสูอาคาร. วิทยานิพนธปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สุดสวาท ศรีสถาปตย. 2545. การออกแบบวัสดุพืชพันธุและการประหยัดพลังงาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สุนทร บุญญาธิการ. 2541. การปรุงแตงสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวยตอการประหยัดพลังงาน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพลังงานจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สุพัฒน ราชณรงค. 2533. ระบบพลังงานแสงอาทิตย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัย รามคําแหง สุมนา โรจนวิภาต . 2550. แผนปลูกพืชบนดาษฟาอาคารเพ่ือชวยลดความรอน. วิทยานิพนธ ปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร องคการสวนพฤกษศาสตร. 2547. คนวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2554 จาก. http://www.udvc.ac.th อชิตพล ศศิธรานุวัฒน. 2548. วิทยาศาสตรพลังงาน. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ อนุตร จําลองกุล. ม.ป.ป.. การแผรังสีจากดวงอาทิตย. คนวันท่ี 12 ตุลาคม 2554 จาก http://thailandindustry.com อรรถกร ทองเพ็ชร. 2550. ผนงัตนไมเพ่ือปรับปรุงสภาวะทางอุณหภาพของอาคาร. วิทยานิพนธ ปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อัศวิน ไทรสาคร. 2545. การศึกษาใชพืชพรรณไมประกอบอาคารเพ่ือลดความรอนที่เขาสูอาคาร. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เอ้ือมพร วีสมหมาย และคณะ. 2539. พรรณไมในงานภูมิสถาปตยกรรม. ภาควิชาพืชสวนคณะ เกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 87: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

77

108 พรรณไมไทย. ม.ป.ป.. ไมดัดที่วัดโพธ. คนวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2554 จาก http://www.panmai.com

Page 88: 01) 23&4)**!0#0/!5!&!67$83library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19689.pdfABSTRACT Title of Research Paper The plants shading for energy saving in buil ding Author SM3.Phanarat Ritdemgerngdech

ประวัติผูเขียน

ชื่อ นามสกุล จาสิบตรีพณรัฐ ฤทธ์ิดําเกิงเดช ประวัติการศึกษา อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปท่ีสําเร็จการศึกษา พ.ศ.2541

ตําแหนงและสถานที่ทํางาน ตําแหนงวิศวกรฝายเทคนิค บริษัท เอส.เอ.เจ.ไอ.(ประเทศไทย) จํากัด


Recommended