+ All Categories
Home > Documents > 26 มิถุนายน2558 เมื่อเป้าหมาย...

26 มิถุนายน2558 เมื่อเป้าหมาย...

Date post: 14-Sep-2020
Category:
Upload: others
View: 4 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
2
ฉบับที190 26 มิถุนายน 2558 ติดอาวุธ “ทักษะการเรียนรูเพอการมีงานทำ” การจดการศกษาเพอตอบโจทยการใชชวตและการมงานทำ ถอ เปนโจทยสำคญของการจดการศกษาในกลุมเยาวชน (อายุระหว าง 15- 19 ป) ทรฐบาลใหความสำคญทงนโยบาย “การพฒนาคนตลอดชวง ชวต” จากการประชุมคณะรฐมนตรสงคม โดย ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ รองนายกร ฐมนตร เป นประธาน และการประชุมคณะรฐมนตรเมอวนท 3 มนาคม 2558 โดยนายกรฐมนตรไดมนโยบายดานการศกษา โดย เปาหมายสำค ญประการหน งค อการพ ฒนาน กเร ยนชน ม.4-6 ใหมความ พรอมทางทกษะอาชพทงดานการศกษาขนพนฐานและอาชวศกษา สอดคลองกบพนทจงหวด การสงเสรมใหเยาวชนไดเตรยมความพรอมดานอาชพยงเปนโจทย ในการประชุมการศกษาโลก (World Education Forum) ครงลาสุด จดโดยยูเนสโก เมอกลางเดอนพฤษภาคม ณ เมองอนชอน ประเทศ เกาหลใต ไดประกาศเปาหมายการศกษาโลกใหมททุกประเทศสมาชก ทวโลกตองบรรลุภายป 2573 โดยการสงเสรมความรูและทกษะ เพออาชพ และการพฒนาการศกษาทสอดคลองกบการพฒนาอยาง ยงยน ถอเปนสองเปาหมายของการจดการศกษาโลกทสำคญจาก จำนวนเปาหมายทงหมดเจดดาน เปาหมายของการจดการศกษาจงไมใช “เรยนเพอรวชา” อกตอไป แตตองตอบโจทย “การมอาชพ” และเปนไปเพอการพฒนาคนใหตรง กบความตองการของตลาดแรงงาน เมอเป้าหมายการศึกษาของโลกยุคใหม่ไม่ใช่แค่เรียนเพอรู้วิชา สวสดเพอนสมาชก สสค. มาตรการนำรอง เพอเตรยมความพรอมในการประกอบอาชพ สำหรบเยาวชนในพนท (1) พ ฒนาระบบการจ ดการ เป นกลไกบูรณาการ ระดบจงหวดจดประสานการทำงานรวมกนระหวาง หนวยการจดการศกษากบหนวยเศรษฐกจใน ตลาดแรงงานและภาคทเกยวของ (2) วจยสำรวจสถานการณตลาดแรงงาน เพอ เปนขอมูลในการจดหลกสูตรและการเรยนการสอน ทสอดคลองกบความตองการตลาดแรงงานระดบ จงหวด (3) การเตรยมความพรอมของนกเรยนตงแต มธยมตน เพอใหมเจตคตรกงานและรูจกวางแผน ชวตโดยเฉพาะการเลอกศกษาตอในระดบมธยม ปลายสายสามญหรอสายอาชพ (แทนการยุตการ กษา) รวมถ งการเตร ยมผู ปกครองดวย (4) การจดการศกษาทางเลอกมธยมเตรยม อาชพ ครอบคลุมการศกษาระดบมธยมปลายสาย สามญและสายอาชพทเหมาะสม เนนความรวมมอ บระหว างสถานศ กษาและสถานประกอบการ โดยม เปาหมายใหผูสำเรจการศกษาพรอมเขาสูตลาด แรงงาน มทกษะตรงตามความตองการ โดยยงม โอกาสในการศกษาตอและการสงเสรมศกยภาพการ เรยนรูดวยตนเองในระยะยาวตอเนอง งานสวนน รวมถงการพฒนาหลกสูตรและการเตรยมความ พรอมของสถานศกษาทเขารวมโครงการ (5) ว ยด านการจ ดสรรทร พยากรและงบประมาณ ทเหมาะสมเพยงพอ รวมถงการวเคราะหตนทุน และคาใชจายการจดการศกษาเพออาชพใหไดผล มประสทธภาพ
Transcript
Page 1: 26 มิถุนายน2558 เมื่อเป้าหมาย ...apps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-26062558... · 2015. 6. 26. · 190ฉบับที่ 26 มิถุนายน2558

ฉบับที่

190

26 มิถุนายน 2558

ติดอาวุธ “ทักษะการเรียนรู้

เพื่อการมีงานทำ”

การจัดการศึกษาเพื่อตอบโจทย์การใช้ชีวิตและการมีงานทำ ถือ

เป็นโจทย์สำคัญของการจัดการศึกษาในกลุ่มเยาวชน (อายรุะหว่าง 15-

19 ปี) ที่รัฐบาลให้ความสำคัญทั้งนโยบาย “การพัฒนาคนตลอดช่วง

ชีวิต” จากการประชุมคณะรัฐมนตรีสังคม โดย ศ.ดร.ยงยุทธ ยทุธวงศ์

รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่

3 มีนาคม 2558 โดยนายกรัฐมนตรีได้มีนโยบายด้านการศึกษา โดย

เป้าหมายสำคัญประการหน่ึงคือการพัฒนานักเรียนชั้น ม.4-6 ให้มีความ

พร้อมทางทักษะอาชีพทั้งด้านการศึกษาขั ้นพื ้นฐานและอาชีวศึกษา

สอดคล้องกับพื้นที่จังหวัด

การส่งเสริมให้เยาวชนได้เตรียมความพร้อมด้านอาชีพยังเป็นโจทย์

ในการประชุมการศึกษาโลก (World Education Forum) ครั้งล่าสุด

จัดโดยยูเนสโก เมื่อกลางเดือนพฤษภาคม ณ เมืองอินชอน ประเทศ

เกาหลีใต้ ได้ประกาศเป้าหมายการศึกษาโลกใหม่ที่ทุกประเทศสมาชิก

ทั ่วโลกต้องบรรลุภายปี 2573 โดยการส่งเสริมความรู ้และทักษะ

เพื่ออาชีพ และการพัฒนาการศึกษาที่สอดคล้องกับการพัฒนาอย่าง

ยั่งยืน ถือเป็นสองเป้าหมายของการจัดการศึกษาโลกที่สำคัญจาก

จำนวนเป้าหมายทั้งหมดเจ็ดด้าน

เป้าหมายของการจัดการศึกษาจึงไม่ใช่ “เรียนเพื่อรู้วิชา” อีกต่อไป

แต่ต้องตอบโจทย์ “การมีอาชีพ” และเป็นไปเพื่อการพัฒนาคนให้ตรง

กับความต้องการของตลาดแรงงาน

เมื่อเป้าหมายการศึกษาของโลกยุคใหม่ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อรู้วิชา

สวัสดีเพื่อนสมาชิก สสค. มาตรการนำร่อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการประกอบอาชีพสำหรับเยาวชนในพื้นที่

(1) พัฒนาระบบการจัดการ เป็นกลไกบรูณาการ

ระดับจังหวัดจัดประสานการทำงานร่วมกันระหว่าง

หน่วยการจัดการศึกษากับหน่วยเศรษฐกิจใน

ตลาดแรงงานและภาคีที่เกี่ยวข้อง

(2) วิจัยสำรวจสถานการณ์ตลาดแรงงาน เพื่อ

เป็นข้อมูลในการจัดหลักสูตรและการเรียนการสอน

ที่สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงานระดับ

จังหวัด

(3) การเตรียมความพร้อมของนักเรียนตั้งแต่

มัธยมต้น เพื่อให้มีเจตคติรักงานและรู้จักวางแผน

ชีวิตโดยเฉพาะการเลือกศึกษาต่อในระดับมัธยม

ปลายสายสามัญหรือสายอาชีพ (แทนการยุติการ

ศึกษา) รวมถึงการเตรียมผูป้กครองด้วย

(4) การจัดการศึกษาทางเลือกมัธยมเตรียม

อาชีพ ครอบคลุมการศึกษาระดับมัธยมปลายสาย

สามัญและสายอาชีพที่เหมาะสม เน้นความร่วมมือ

กับระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ โดยมี

เป้าหมายให้ผู ้สำเร็จการศึกษาพร้อมเข้าสู ่ตลาด

แรงงาน มีทักษะตรงตามความต้องการ โดยยังมี

โอกาสในการศึกษาต่อและการส่งเสริมศักยภาพการ

เรียนรู้ด้วยตนเองในระยะยาวต่อเนื่อง งานส่วนนี้

รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรและการเตรียมความ

พร้อมของสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ

(5) วิจัยด้านการจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณ

ที่เหมาะสมเพียงพอ รวมถึงการวิเคราะห์ต้นทุน

และค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพให้ได้ผล

มีประสิทธิภาพ

Page 2: 26 มิถุนายน2558 เมื่อเป้าหมาย ...apps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-26062558... · 2015. 6. 26. · 190ฉบับที่ 26 มิถุนายน2558

ขณะนี้ สสค. มีผู้รับจดหมายข่าวกว่า 23,000 คน

สมัครสมาชิก สสค. หรือดาวน์โหลดไฟล์จดหมายข่าวได้ที่ www.QLF.or.th

ติดตามข่าวสาร สสค. ที่ Quality Learning Foundation QLFThailand

แจ้งเปลี่ยนที่อยู่สมาชิก/สอบถาม โทร. 02-6191811

ธันว์ธิดา วงศ์ประสงค์ นักวิชาการด้านนโยบาย การศึกษาต่างประเทศ

สสค.

จากสถานการณ์ปัญหาภาพรวมด้านการศึกษาไทยที่ผ่านมา

พบ 3 ประเด็นสำคัญดังนี้

1. เยาวชนมากกว่าร้อยละ 50 เข้าสู่ตลาดแรงงานด้วยวุฒิ

มัธยมศึกษาตอนปลายหรือต่ำกว่า และการศึกษาปัจจุบันไม่ได้

เตรียมความพร้อมด้านการใช้ชีวิตและการประกอบอาชีพ

ให้แก่เยาวชน จากข้อมลูเด็กท่ีเกิดในรุน่เดียวกัน ต้ังแต่เข้าเรียน

ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ต่อเนื่องกัน 12 ปี ของ สสค.

พบว่า ในแต่ละปีมีเยาวชน “หายไป” จากระบบการศึกษาด้วย

วุฒิการศึกษา ม.6/ปวช. หรือต่ำกว่าร้อยละ 31 และด้วยวุฒิ

ม.3 ร้อยละ 21

2. เสียงสะท้อนจากนายจ้างชี้ว่าลูกจ้างขาดทักษะที่จำเป็น

ต่อการทำงานแทบทุกด้าน ผลสำรวจความคิดเห็นของนายจ้าง

โดยสถาบันเพ่ิมผลผลิตแห่งชาติ (2550) พบว่า นายจ้างเกือบ

ทั้งหมดระบุว่าลูกจ้างขาดทักษะที่จำเป็นในทุกด้าน โดยเฉพาะ

ภาษาอังกฤษ ไอที การคิดคำนวณ เป็นต้น

3. ปัญหาอัตราเรียนต่ออุดมศึกษาอยู ่ในระดับสูงแต่

สวนทางกับการพัฒนาเศรษฐกิจ อัตราการเข้าเรียนต่ออดุมศึกษา

ของไทยสูงถึงร้อยละ 51 ซึ่งเป็นอันดับ 2 ของประเทศอาเซียน

ขณะที่รายได้ประชาชาติต่อหัวของไทยอยู่ที่ 14,354 เหรียญ

สหรัฐ ซึ่งต่ำกว่ามาเลเซียถึงร้อยละ 42 ทั้งที่มาเลเซียมีอัตรา

เข้าเรียนอุดมศึกษาเพียงร้อยละ 36 สะท้อนให้เห็นว่า จำนวน

บัณฑิตไทยที่ “เกินมา” ไม่ได้มีส่วนช่วยผลักดันการพัฒนา

ประเทศ

ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมของการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ

มีทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้แก่ โครงการโรงเรียนมัธยม

แบบประสม โครงการหลักสูตรคู่ขนาน (โรงเรียนมัธยมสาย

สามัญร่วมกับสถาบันอาชีวศึกษาจัดหลักสูตร) และโครงการ

STI Career Academy ของสำนักงานคณะกรรมการ

นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

Career Academy ของสหรัฐอเมริกาและบราซิล และ

Studio Schools / หลักสูตร BTECs ของอังกฤษ และการ

จัดการศึกษาด้านอาชีพของรัฐนิวเซาท์เวลส์ ออสเตรเลีย โดยมี

รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมอาชีพในโรงเรียนมัธยมสาย

สามัญเพ่ือเป็นทางเลือกใหม่ และแก้ปัญหาเด็กออกจากโรงเรียน

กลางคัน ช่วยให้ค้นพบความถนัดของตนเอง การเตรียม

ความพร้อมการทำงานในขั้นต้น และการเรียนต่อในระดับสูง

ปัจจ ัยที ่จะทำให้การจ ัดการศึกษาเพื ่ออาชีพประสบ

ผลสำเร็จ มี 4 ปัจจัยดังนี้ 1) การจัดการศึกษาด้านอาชีพควร

ตอบโจทย์แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

(เช่น การลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐ โครงสร้างประชากร) และ

ความต้องการของตลาดแรงงานโดยเฉพาะในชุมชน 2) การ

จัดการเรียนการสอนจากเดิมที่เน้นการสอนในตำราไปสู่การ

ส่งเสริมการเรียนรู ้ด ้วยหลักสูตรและวิธ ีการเรียนรู ้ท ี ่ เน้น

ปฏิบัติงาน 3) ภาคเอกชนและท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการ

จัดการศึกษาอย่างครบวงจร และ 4) การศึกษาต้องเปิดโอกาส

ให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่องในระยะยาว ทั้งการเปิดโอกาสให้

เรียนขณะทำงาน หรือการกลับมาเรียนต่อได้หลังเข้าสู ่การ

ทำงาน

ในการติดอาวุธ “ทักษะการเรียนรู้เพื่อการมีงานทำ” สสค.

จึงร่วมกับ 10 จังหวัดนำร่อง (คาดว่าได้แก่ น่าน นครราชสีมา

ชลบุรี ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี อำนาจเจริญ ตราด สุรินทร์ อยุธยา

เชียงใหม่) เพื่อสร้างความพร้อมแก่เยาวชนกลุ่มเป้าหมายที่จบ

ม.3 และไม่ศึกษาต่อไม่ว่าจะเป็นสายสามัญหรือสายอาชีพ

ซึ่งขณะนี้ 3 จังหวัดนำร่องในปีแรก ได้แก่ เชียงใหม่ ตราดและ

ภูเก็ต กำลังขับเคลื่อนการทำงานเรื่องนี้ในพื้นที่ และในโอกาส

หน้า สสค. จะขอนำมาเล่าให้สมาชิกได้รับทราบกันต่อไป


Recommended