+ All Categories
Home > Documents > บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03...

บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03...

Date post: 25-Aug-2020
Category:
Upload: others
View: 2 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
52
บทที3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอี่ยมกุลวัฒน 2557, บทที3 ชัยรัตน เอี่ยมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307
Transcript
Page 1: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

บทที่ 3 สินคาสาธารณะ

ชัยรัตน เอี่ยมกุลวัฒน 2557, บทที่ 3

ชัยรัตน เอี่ยมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 2: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.1 ความหมายของสินคาสาธารณะ

3.2 การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาคเอกชน

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

3.5 การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาครัฐ

3.6 การให้ภาคเอกชนดําเนินการแทนภาครัฐ

โครงรางการนําเสนอ

2บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 29433079/12/2017

Page 3: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

คุณสมบัติอยูสองประการ

1) สินคาไมเปนปรปกษตอการบริโภค (nonrival)

additional resource cost (ตนทุนทรัพยากรสวนเพ่ิม) of another person consuming the good is zero

2) สินคาไมสามารถกีดกันผูอ่ืน (nonexclusion)

การกีดกันมีตนทุนสูงมากหรือเปนไปไมได

• สินคาที่มีคุณสมบัติสองประการน้ีแบบสมบูรณ เราเรียกวาสินคาจําพวกน้ีวา สินคาสาธารณะบริสทุธิ์ (pure public good)

3.1 ความหมายของสินคาสาธารณะ

ความหมายของสินคาสาธารณะ

3บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 29433079/12/2017

Page 4: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Marginal Costs of Consuming a Pure

Public Good

Graph AThe marginal cost of allowing an additional person to consume a given quantity of a pure public good falls to zero after it is made available to any one person.

Graph B The marginal cost of producing the good is always positive. In this case, the marginal cost of each extra unit of the goodis $200.

Page 5: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• สินคาที่จัดสรรโดยภาครัฐและภาคเอกชนอาจแบงเปน 4 ประเภท สินคาประเภทที่ 1 คือสินคามี

ลักษณะเปนปรปกษตอการบริโภคและสามารถกีดกันได (rival and exclusion) (ดูตารางที่ 3.1) ตารางท่ี 3.1 ลักษณะของสินคาและบริการ

3.1 ความหมายของสินคาสาธารณะ

9/12/2017 5

ความหมายของสินคาสาธารณะ

ลักษณะการบริโภค กีดกันได ไมสามารถกีดกันได

ปรปกษในการบริโภค 1 4

ไมเปนปรปกษในการบริโภค 3 2

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

1. Pure Private Goods2. Pure Public Goods3. Price-Excludable Public Goods 4. Congestible Public Goods

Page 6: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• 2 Pure Public Goods สินคาประเภทที่ 2 คือสินคาที่ไมเปนปรปกษตอ

การบริโภคและไมสามารถกีดกันได (nonrival and nonexclusion)

• 3. Price-Excludable Public Goods สินคาประเภทที่ 3 คือสินคามี

ลักษณะไมเปนปรปกษในการบริโภค แตสามารถกีดกันได (nonrival and

exclusion)

• 4. Congestible Public Goods สินคาประเภทที่ 4 สินคาที่มีลักษณะ

เปนปรปกษตอการบริโภคและไมสามารถกีดได (rival and

nonexclusion)

3.1 ความหมายของสินคาสาธารณะ

9/12/2017 6

ความหมายของสินคาสาธารณะ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 7: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Congestible Public Goods

7

The marginal cost of allowing additional users to consume the congestible publicgood falls to zero after the good is made available to any one user

but then rises above zero after N* users are accommodated per hour.

3.1 ความหมายของสินคาสาธารณะ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 29433079/12/2017

Page 8: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• Goods with benefits that can be priced- Membership rights to private clubs- Schools, hospitals

• Can be individually consumed and are subject to exclusion, but their production and consumption can be nonrival.

8

Price-excludable Public Goods3.1 ความหมายของสินคาสาธารณะ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 29433079/12/2017

Page 9: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

ระดับปรปกษในการ

บริโภค

2. สปอตสคลับ

• ทางดวนกรุงเทพ

• โรงภาพยนตร

4. การปองกันประเทศ

• พยากรณอากาศ

• ขอมูลขาวสาร

2. บริการดับเพลิง

• การศึกษา

ระดับกีดกันได

0% 100%

100%

0%

1. ไอศกรีม

• ไฟฟา นํ้าประปา

3. ถนนจราจรติดขัดในเมือง

rival

nonrival

exclusionnonexclusion

9/12/2017 9

3.1 ความหมายของสินคาสาธารณะ

• ตัวอยางสินคาและบริการจัดสรรโดยภาคเอกชนและภาครัฐ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 10: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Alternative Means

10บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 29433079/12/2017

Page 11: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• สินคาเอกชนมีลักษณะตรงกันขามกับสินคาสาธารณะ น้ันคือ สินคาเอกชน

เปนสินคาที่เปนปรปกษตอการบริโภคและสามารถกีดกันผูอ่ืนไมใหมา

บริโภคได (rival and exclusive consumption)

• สมมุติวาในระบบเศรษฐกิจมีคนอยูสองคน ตาอินและตานา

• ปริมาณขาวที่ตาอินและตานาจะซื้อถูกกําหนดโดยระดับของราคาขาว โดย

แตละคนจะแสดงความพึงพอใจหรือความตองการซึ่งเกิดขึ้นโดยความ

สมัครใจ (voluntary revelation of preferences) และไมตองปกปด

• เพราะขาวเปนสินคาเอกชนที่ไมสามารถบริโภครวมกันได ในขณะที่ระบบ

เศรษฐกิจมีเพียงตาอินกับตานา ในรูปที่ 3.1

3.2 การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาคเอกชน

9/12/2017 11

การจัดสรร

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 12: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• รูปที่ 3.1 เสนอุปสงครวมของสินคาเอกชน

3.2 การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาคเอกชน

9/12/2017 12

การจัดสรร

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 13: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.2 การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาคเอกชน

9/12/2017 13

การจัดสรร

• อัตราสวนเพ่ิมการทดแทนกันในการบริโภคเทากับราคาสัมพัทธหรือ

อัตราสวนราคาปลาตอราคาขาว คือ MRSRF = PR/PF

• เมื่อตลาดมีการแขงขันกันกันแบบสมบูรณและมีตลาดรองรับทุกสินคา

ทฤษฎีเศรษฐศาสตรสวัสดิการขั้นพ้ืนฐานบอกเราวาเง่ือนไขน้ีเปนจริง

• และในรูปที่ 3.1 คือจุดที่ตัดกันระหวางเสนอุปสงครวม DR(อิน)+DR(นา)

กับ เสน SR ในราคา PR* และปริมาณ I*R + N

*R

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 14: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 14

สินคาสาธารณะบริสุทธิ์• สาธารณะท่ีบริสทุธ์ิคือสินค้าท่ีไม่เป็นปรปักษ์ตอ่การบริโภค (nonrival) และท่ีไม่สามารถกีด

กนัไม่ให้ผู้ อ่ืนบริโภคได้ (nonexclusion) • ราคาท่ีแตล่ะคนยินดีจ่ายตอ่จํานวนสาธารณะท่ีบริสทุธ์ิ (ไฟถนน) จะไม่ใช่ตวักําหนดปริมาณ

สินค้าสาธารณะตลาดต้องการทัง้หมดเหมือนสินค้าเอกชน

• เพ่ือความเข้าใจเส้นอปุสงค์รวมของสินค้าสาธารณะ สมมติุวา่แตล่ะคนแสดงความต้องการท่ี

แท้จริง (true revelation of preferences)• การจดัสรรไฟถนนให้มีประสิทธิภาพเกิดขึน้ท่ีผลประโยชน์สว่นเพ่ิมทัง้หมดท่ีตาอินและตานา

ยินดีจ่ายร่วมกนัเท่ากบัต้นทนุการผลิตสว่นเพ่ิมของไฟถนน ซึง่แสดงในรูปท่ี 3.2

• เป็นจดุดลุยภาพเกิดขึน้ตรงท่ีเส้นอปุสงค์รวม DL(อิน)+(นา) ตดักบัเส้นอปุทานของไฟถนน

SL • ดงันัน้ การมีประสิทธิภาพในการจดัสรรเกิดท่ีจํานวนผลิต L* และราคา

I*LP + N

*LP

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 15: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 15

สินคาสาธารณะบริสุทธิ์• รูปท่ี 3.2 เส้นอปุสงค์รวมของสินค้าสาธารณะ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 16: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 16

สินคาสาธารณะบริสุทธิ์

• MRTLF =PL* จุดดุลยภาพจึงเกิดขึ้นที่จุด a ในรูปที่ 3.2 ซึ่งหมายความ

วา PL*I + PL*

N = PL* หรือการมีประสิทธิภาพในการจัดสรรสินคา

สาธารณะจําเปนตอง

MRSLF(อิน) + MRSLF(นา) = MRTLF

• แนวคิดน้ีเสนอโดยแซมมิวซั่น (Samuelson 1955) ดังน้ันเง่ือนไขใน

สมการน้ีจึงเรียกวา เง่ือนไขแซมมิวซั่น (Samuelson’s Condition)

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 17: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 17

ปญหาการปดความรับผิดชอบ• เปนไปหรือไมที่ผูบริโภคจะเปดเผยความจริง ในขณะที่ตาอินเปนผูปดความ

รับผิดชอบ (free rider)

• ในรูปที่ 3.3 เมื่อตาอินและตานาเปดเผยความจริง

• สมมุติวาเสนอุปทาน S มีลักษณะตนทุนสวนเพิ่มคงที่ ปริมาณและราคาที่มี

ประสิทธิภาพสูงสุดเกิดขึ้นที่ L* และ P*

• โดยเสนอุปสงครวม DL(อิน)+(นา) ตัดกับเสนอุปทาน S

• ผลประโยชนสุทธิของตาอินเทากับ ncPN* เมื่อเปรียบเทียบกับผลประโยชนจาก

การไมรับผิดชอบที่ปริมาณ LN* เทากับ 0naLN ตาอินจะยินยอมเปดเผยความ

จริงตอเมื่อ ncPN* นั้นมากกวา 0naLN หรือ abc นั้นมากกวา 0PN*bLN

เนื่องจากพื้นที่ nabPN นั้นเปนพื้นที่ซอนกัน

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 18: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 18

ปญหาการปดความรับผิดชอบ• รูปที่ 3.3 ปญหาผูชอบบริโภคของสวนรวมฟรี (free rider)

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 19: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 19

ปญหาการปดความรับผิดชอบ

• การจัดสรรสินคานอยเกินไปเกิดจากปญหาผูปดความรับผิดชอบรายจาย ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่

ภาครัฐอาจจําเปนตองเขามามีบทบาทในการจัดสรรสินคาสาธารณะเพ่ือแกไขปญหาความลมเหลว

ของกลไกตลาด

• การจัดเก็บรายไดเพ่ือมาใชจายในกิจกรรมสาธารณะของรัฐ ควรจัดเก็บภาษีแตละคนเทากับ

ประโยชนที่แตละคนไดรับจากสินคาสาธารณะ

• ถาตาอินและตานาเปดเผยความตองการจริงโดยไมปกปด ปริมาณการผลิตสินคาสาธารณะจะเปน

ปริมาณที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุด

• แตปญหาก็ยังมีเชนเดิมคือ ในขณะตาอินไมรูวาความตองการจริงของตานาเทาไร และตานาก็ไมมี

ความรูเชนกัน

• ประเด็นสําคัญที่ภาครัฐควรเขามาจัดสรรสินคาสาธารณะ เพราะสินคาสาธารณะที่ไมสามารถกีดกัน

การบริโภครวมกันได ตนทุนสวนเพ่ิมที่เกิดจากการบริโภคจากผูบริโภคสวนเพ่ิมเทากับศูนย

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 20: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

a. Derive the demand curve for rock concerts assuming that it is a pure public good.

ANSWER

The demand curve shows how the sum of the marginal benefits of all consumers varies with the number of concerts.

7. The following table shows how the marginal benefit enjoyed by John, Mary, Loren, and all other consumers of outdoor rock concerts varies with the number made available by a city government per summer.

Marginal Benefit of Number of RockConcerts per Consumer (in Dollars)

CONSUMERS NUMBER OF CONCERTS1 2 3 4

John 150 125 100 75Mary 125 100 75 50Loren 100 75 50 25

All Others 600 400 200 100

CONSUMERS NUMBER OF CONCERTS1 2 3 4

975 700 425 250

Page 21: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

b. If the marginal cost of producing rock concerts is $1,000 no matter how many are produced, then what is the efficient number of concerts to have each summer? What would be the efficient number of concerts to produce if the marginal cost of production were $425 instead of $1,000?

ANSWER

At a marginal cost of $1,000, it is efficient not to hold any outdoor rock concerts at all. At a marginal cost of $425, the efficient number of concerts per summer is three.

7. The following table shows how the marginal benefit enjoyed by John, Mary, Loren, and all other consumers of outdoor rock concerts varies with the number made available by a city government per summer.

Marginal Benefit of Number of RockConcerts per Consumer (in Dollars)

CONSUMERS NUMBER OF CONCERTS1 2 3 4

John 150 125 100 75Mary 125 100 75 50Loren 100 75 50 25

All Others 600 400 200 100

CONSUMERS NUMBER OF CONCERTS1 2 3 4

975 700 425 250MC=1000 1,000 1,000 1,000 1,000MC=425 425 425 425 425

4. Efficient Output of a Pure Public Good

Page 22: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

1000

900

800

700

600

500

400

300

200

100

0

1 2 3 4

CONSUMERSNUMBER OF CONCERTS

1 2 3 4John 150 125 100 75Mary 125 100 75 50Loren 100 75 50 25

All Others 600 400 200 100Demand for Public Good 975 700 425 250

Page 23: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 23

• ถากลไกตลาดทํางานอยางสมบูรณ ทฤษฎีเศรษฐศาสตรสวสัดิการขั้นพืน้ฐานจะ

เปนจริง

• ภาคเอกชนสามารถจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจไดเองอยางมี

ประสิทธิภาพ โดยไมตองพึ่งภาครัฐ ประสิทธิภาพเปนเลิศพาเรโต (Pareto

efficiency)

• แตในโลกแหงความจริง ราคาของสินคาสาธารณะไมเทากับผลประโยชนหนวย

สุดทาย

• และขอมูลไมมีการเปดเผยอยางโปรงใส ดังนั้นสินคาสาธารณะจึงเปนตัวอยาง

ของความลมเหลวของกลไกตลาด ในรูปที่ 3.4

ดุลภาพทั่วไปและประสิทธิภาพในการจัดสรรสินคาสาธารณะ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 24: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 24

ดุลภาพทั่วไปและประสิทธิภาพในการจัดสรรสินคาสาธารณะ• รูปที่ 3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 25: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 25

• เสนความพอใจเทากันของตานาและเสนความเปนไปไดในการบริโภคของตานา ซ่ึงสามารถเขียน

เปนเงื่อนไขคณิตศาสตร MRSLF (นา) = MRTLF - MRSLF(อิน)

• และสามารถจัดสมการเปน MRTLF= MRSLF(อิน)+ MRSLF (นา) หรือเงื่อนไขท่ีทําใหเกิดการ

จัดสรรท่ีมีประสิทธิภาพสําหรับสินคาสาธารณะ

• แบบจําลองน้ีเสนอโดยแซมมิวซ่ัน ดังน้ันเงื่อนไขน้ีจึงเรียกวา เงื่อนไขแซมมิวซ่ัน (Samuelson’s

Condition)

• จุดวิเศษสุดในการจดัสรรสนิคาสาธารณะและสนิคาเอกชนอยูท่ีจดุ z เพื่อใหไดจดุ z ภาครัฐอาจมี

ความจําเปนตองจดัสรรสินคาสาธารณะและสินคาเอกชนและอาจจาํเปนตองกระจายรายไดของ

ตาอินและตานาเพื่อใหไดจุดท่ีเกิดประสทิธิภาพในการจดัสรรสงูสดุของระบบเศรษฐกจิ

ดุลภาพทั่วไปและประสิทธิภาพในการจัดสรรสินคาสาธารณะ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 26: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.3 การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

9/12/2017 26

• รูปท่ี 3.5 เสนเปนไปไดของอรรถประโยชนของสังคมและจุดวิเศษสุดในการจัดสรร

ดุลภาพทั่วไปและประสิทธิภาพในการจัดสรรสินคาสาธารณะ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 27: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

9/12/2017 27

สินคาสาธารณะท่ีไมบริสุทธิ์

• การวิเคราะหการจัดสรรสินคาสาธารณะที่ไมบริสุทธ์ิจะแบงออกเปนสองกรณี

สินคา

– สินคาสาธารณะที่สามารถกีดกันไดอยางสมบูรณ (excludable public

good) (กรณี 2 ในตารางที่ 3.2)

– สินคาสาธารณะที่มีตนทุนแออัด (congestible public good) (กรณี 3 ใน

ตารางที่ 3.2)

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 28: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• A club good is a congestible public good for which exclusion is possible. สินคาสาธารณะที่มีตนทุนแออัดที่สามารถกีดกันได

• The Theory of Clubs – Buchanan (1965) – g Noble Price Laureate in 1986 – Public Choice Theory]

• Two concerns:1) Optimal output of club good (optimal size) - เกิดขึ้นเม่ือผลบวกของ

ผลประโยชนสวนเพ่ิมของสมาชิกท้ังหมดเทากับตนทุนสวนเพ่ิมของอุปทานหนวยสุดทาย (Samuelson Condition)

2) Optimal number of users or members

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

สินคาสาธารณะท่ีไมบริสุทธิ์

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 29433079/12/2017

Page 29: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

9/12/2017 29

สินคาสาธารณะท่ีสามารถกีดกันได

• ในกรณีท่ีสินคาหรือบริการท่ีสามารถบริโภครวมกันแตสามารถกีดกันได (excludable public

good) สินคาชนิดน้ีสามารถจัดสรรโดยภาคเอกชน เชน สปอรตคลับและสระวายนํ้า

• ขนาดท่ีเหมาะสมสามารถกําหนดโดยเงื่อนไขแซมมิวซ่ัน (Samuelson’s Condition) กลาวคือ

ณ ปริมาณหน่ึง ผลบวกของประโยชนสวนเพิ่มของแตละคนเทากับตนทุนสวนเพิ่มของสินคา

• ทฤษฎีท่ีกลาวถึงการจัดสรรอยางมีประสิทธิภาพของสินคาท่ีบริโภครวมกันไดแตสามารถกีดกันได

เรียกวาทฤษฎีคลับ (theory of the clubs)

• เงื่อนไขถาการกีดกันทําไดอยางสมบูรณและตนทุนการผลิตคงท่ี กลไกตลาดสามารถจัดสรร

บริการของสโมสรอยางมีประสิทธิภาพได โดยมีขนาดของสโมสรและจํานวนสมาชิกในอัตราท่ี

เหมาะสม

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 30: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Assumptions:

1) All individuals have identical preferences.

2) They all contribute equally to the financing of the public goods.

3) Size of facility G is fixed.

• Reduction in Benefits: เสน TB

สินคาสาธารณะมีลักษณะของการบริโภครวมกัน ถึงแมผูบริโภคแตละคนบริโภคจํานวนเทากัน

แตเมื่อจํานวนผูบริโภคเพ่ิมขึ้น ผลประโยชนของทุกคนลดลงจากการบริโภคสินคาสาธารณะนั้น

สภาพการณนี้เรียกวาความแออัด (congestion)

• Reduction in Costs: เสน TC

การประหยัดจากขนาดในการบริโภค (economies of scale in consumption) การที่ตนทุนถูก

ลงเนื่องจากมีจํานวนผูบริโภคเพ่ิมขึ้นที่จะมาแชรตนทุน

3.4

9/12/2017 30

การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธิ์

สินคาสาธารณะที่สามารถกีดกันได

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 31: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

9/12/2017 31

สินคาสาธารณะท่ีสามารถกีดกันได

• รูปท่ี 3.6 จํานวนสมาชิกท่ีเหมาะสมกรณีสินคาท่ีไมเปนปรปกษตอการบริโภคแตสามารถกีดกนัได

เง่ือนไขประสิทธิภาพ: 1) ผลตา่งสงูสดุระหวา่ง

ผลประโยชน์ตอ่สมาชิก TBกบัต้นทนุตอ่สมาชิก TC

2) MC = MR

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

TB, TC

TC

N*

MC

0

TB

MB

Page 32: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• TB: total benefit

– MB = ∆𝑇𝑇𝑇𝑇∆𝑁𝑁

• TC =𝐶𝐶𝑁𝑁

– MC = -𝐶𝐶𝑁𝑁2

• MB = MC

– - N*MB = 𝐶𝐶𝑁𝑁

จํานวนสมาชิก

TB, TC

TC

N*

MC

0

TB

MB

Equilibrium condition: -N*MB = C/N

marginal congestion cost = per person tax price

9/12/2017 32

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธิ์

สินคาสาธารณะท่ีสามารถกีดกันได

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 33: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• ในกรณีสินคาหรือบริการท่ีไมสามารถกีดกันไมได หรือการกีดกันมีตนทุนธุรกรรม

(transaction cost) สูงมาก แตมีคุณสมบัติบริโภครวมกันไดแตอาจไมสมบูรณ สินคา

นี้เรียกวาสินคาสาธารณะท่ีมีตนทุนแออัด (congestible public good)

• Examples: parks and recreation facilities, bridges, and roads.

• Two scenarios:

1) Zero Congestion Cost

2) Congestion Cost

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

สินคาสาธารณะท่ีมีตนทุนแออัด

9/12/2017 33บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 34: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

9/12/2017 34

สินคาสาธารณะท่ีมีตนทุนแออัด• รูปท่ี 3.7 ปริมาณท่ีเหมาะสมในกรณีสินคาท่ีเปนปรปกษตอการบริโภคแตไมสามารถกีดกันได

และไมมีตนทุนแออัด

• Optimal Use of Services: X0

where MB=MC=0

• Optimal size of the facility

– ผลประโยชนสุทธิ (Net Benefit

Analysis NB>0 เมื่อ TB>TC

หรือ0dX0>0abX0

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 35: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

9/12/2017 35

สินคาสาธารณะท่ีมีตนทุนแออัด• รูปท่ี 3.8 ปริมาณท่ีเหมาะสมในกรณีสินคาท่ีสาธารณะไมมีตนทุนอัด

D – อุปสงครวมสําหรับการใชบริการ

ถนน (จํานวนการใชถนน)

C – ตนทุนสวนเพ่ิมของความแออัด

b

X0

D'

P0

a

0

Pd

D

C'

C

c

X0'

e

f

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 36: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

• Optimal use of the facility:It occurs when the marginal benefit from the additional use equals the marginal

congestion cost involved.

• Optimal size of the facility– It requires that marginal cost of expanding the facility with the marginal

benefits to all users from the expansion.

– ผลประโยชนสวนเพ่ิมของผูใชทุกคนจากการขยายถนน = ตนทุนสวนเพ่ิมจากการขยายผิว

ถนน

– ผลประโยชนสวนเพ่ิมจากการขยายถนน = (1) ประโยชนสวนเพ่ิมจากการขยายผิวถนนบวก

ดวย (2) ตนทุนแออัดที่ลดลง

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

สินคาสาธารณะท่ีมีตนทุนแออัด

9/12/2017 36บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 37: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

การสรางถนนผังเมืองรวมบริเวณอุตสาหกรรมอําเภอบางละมุงและศรีราชา

• ตัวอยาง: สุพจน เตชวรสินสกุล และคณะ (2554)

• ผลประโยชนสวนเพ่ิมของผูใชทุกคนจากการขยายถนน = ตนทุนสวนเพ่ิมจากการ

ขยายผิวถนน

– ผลประโยชนทางตรง ไดแก มูลคาการประหยัดเวลาในเวลาเดินทาง รวมเปน 7,068 ลานบาท

– ตนทุนแออัดรวมที่ลดลง คิดเปน 215 ลานบาท

– มูลคาการประหยัดในการใชยานพาหนะลดลงหรือผลประโยชนจากการขยายผิวถนนคิดเปน

6,853 ลานบาท (NB = 6,853)

3.4 การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธิ์

9/12/2017 37

สินคาสาธารณะท่ีมีตนทุนแออัด

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 38: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.5 การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาครัฐ

9/12/2017 38

• ภาครัฐหลายประเทศผลิตและจัดสรรสินคาเอกชนเอง เชน การไฟฟา การรถไฟ และการ

ประปา สวนหนึ่งอาจจากเหตุผลทางความม่ันคง และตองการแกปญหาตลาดผูกขาด อีก

ท้ังสินคาบางประเภทตองใชเงินลงทุนจํานวนมาก

• เม่ือมีเอกชนรายหนึ่งผลิตสินคานี้แลว อาจจะไมมีสิ่งจูงใจใหรายอ่ืนเขามาแขงขันเพราะไม

ตองการเสี่ยงกับการขาดทุน ลักษณะนี้เรียกวา การผูกขาดโดยธรรมชาติ (natural

monopoly)

• สินคาจําพวกนี้สวนใหญมีตนทุนสวนเพ่ิมการผลิตลดลง (decreasing marginal cost)

หรือ ผลตอบแทนจากการขยายการผลิตเปนแบบเพ่ิมขึ้น (increasing returns to scale)

การผูกขาดโดยธรรมชาติ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 39: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

การกําหนดราคามีอยูสามวิธี

1. ราคาแบบอุดมคติ

(marginal cost

pricing)

2. ราคาแบบยุติธรรม

(average cost

pricing)

3. profit-maximization

pricing)

ราคา

ปริมาณ

Pm

PAC

P*

AC

MC

QmQAC Q*0

MR

c

e d

b

a

D

รูปที่ 3.9 ราคาและปริมาณในตลาดผูกขาดโดยธรรมชาติ

3.5 การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาครัฐ

9/12/2017 39บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 40: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.5 การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาครัฐ

9/12/2017 40

• การกําหนดราคามีอยูสามวิธี วิธีแรก ถาภาครัฐตั้งราคาแบบอุดมคติ (marginal cost

pricing) คือวาต้ังราคาเทากับราคาท่ีเกิดขึ้นเม่ือมีการแขงขันแบบสมบูรณ

• วีธีท่ีสอง ภาครัฐต้ังราคาแบบคุมทุนหรือกําหนดราคาแบบยุติธรรม (average cost

pricing) คือการต้ังราคาท่ี PAC หรือกําหนดราคาตรงท่ีไมมีการขาดทุนหรือกําไร หรือตรง

เสน D ตัดกับ เสน AC

• วิธีท่ีสาม ภาครัฐปฏิบัติตัวเหมือนบุคคลท่ีมีพฤติกรรมเหมือนผูผูกขาดท่ัวไป คือต้ังราคา

โดยการแสวงหากําไรสูงสุด (profit-maximization pricing) หรือ กําหนดราคาท่ี Pm

และปริมาณ Qm ซ่ึงเกิดข้ึนตรงรายไดสวนเพ่ิมเทากับตนทุนสวนเพ่ิม หรือเสน MR ตัดกับ

เสน MC

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 41: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

3.5c

การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาครัฐ

9/12/2017 41

สัดสวนประเภทรายไดที่ไมใชภาษีอากร ป 2531-54

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 42: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Privatization Debate• การแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นองค์กรเอกชน/การให้ภาคเอกชนดําเนินการแทน

ภาครัฐ (privatization) หมายถงึ สนิค้าหรือบริการท่ีผลติและจดัสรรโดย

ภาครัฐ ให้ภาคเอกชนผลติและจดัสรรแทน

• Privatization – taking services supplied by government and turning them over to the private sector– Examples with competing public/private provision include

telephone, mail, electricity, and police.

42

3.6 การใหภาคเอกชนดําเนินการแทนภาครัฐ

9/12/2017 บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 43: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Private Production• Even if there is agreement that the public sector should

provide a good, it is not clear whether the public sector should produce it.

• Public sector managers may not have a strong incentive to control costs because of the lack of profit motive.

43

3.6 การใหภาคเอกชนดําเนินการแทนภาครัฐ

9/12/2017 บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 44: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Private Provision• Public v Private Provision: What is the right mix?

• Mix of private and public provision depends on:– Relative wage and materials costs: Which sector is less

expensive?– Administrative costs: Can these fixed costs be spread

over a large group of people?– Diversity of tastes. Private provision is more efficient

with diverse tastes because people can tailor their consumption to their own tastes.

– Distributional issues. Notions of fairness may require that some commodities are available to everyone – such as education or health care.

44

3.6 การใหภาคเอกชนดําเนินการแทนภาครัฐ

9/12/2017 บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307

Page 45: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Distributional Issues

• Commodity egalitarianism – notion that some commodities ought to be made available to everyone

3.6 การใหภาคเอกชนดําเนินการแทนภาครัฐ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 29433079/12/2017

Page 46: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

Public versus Private Production

• Efficiency of private production• Problems in comparing cost differences• Incomplete contracts• Competition to supply good or service• Reputation building• Market Environment

3.6 การใหภาคเอกชนดําเนินการแทนภาครัฐ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 29433079/12/2017

Page 47: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson
Page 48: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

สนช และ คนร.

• สภานิตบิญัญีตแิห่งชาต ิ(สนช.) ลงมตรัิบร่าง พ.ร.บ.การพฒันาการ

กํากบัดแูลและบริหารรัฐวิสาหกิจ

• วนัท่ี 1 กนัยายน 2560 สนช.รับหลกัการร่างกฎหมายตัง้ซเูปอร์บอร์ด

และบรรษัทรัฐวสิาหกิจ โดยจะมีการนํารัฐวิสาหกิจจํานวน 11 แห่งท่ีมี

สภาพเป็นบริษัททัง้ท่ีเข้าตลาดหลกัทรัพย์ไปแล้ว เช่น ปตท., การบนิ

ไทย, อสมท.เป็นต้น และรัฐวิสาหกิจท่ี ก.คลงัยงัถือหุ้น 100% (ยงัไมเ่ข้า

ตลาดหลกัทรัพย์) เช่น TOT,CAT,ไปรษณีย์ไทย เป็นต้น

Page 49: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

รัฐวสิาหกิจ กบัหน้ีสาธารณะ

ปตท กฟผ กฟภ รวม %Public Debtราคาพาร์ 10ทุนจดทะเบียนชําระแล้ว 28,572,457,250จํานวนหุ้น 2,857,245,725ราคาตลาด 7 September 2017 406

มูลค่าตลาด 1,160,041,764,350

ล้านล้านบาทมูลค่าตลาด 1,160,042สินทรัพย์รวม 2,174,461 956,547 378,309 3,509,317 57%รายได้รวม (2016) 1,737,145 496,883 456,795 2,690,823 44%

หนี�สาธารณะ (ม.ิย. 2017) 6,185,431

Page 50: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson
Page 51: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson
Page 52: บทที่ 3 สินค าสาธารณะpioneer.netserv.chula.ac.th/~achairat/PubE03 2017 Public...• แนวค ดน เสนอโดยแซมม วซ น(Samuelson

สรุปสาระควรรูในบทน้ี

9/12/2017 52

• ความหมายของสินคาสาธารณะ

• การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาคเอกชน

• การจัดสรรสินคาสาธารณะบริสุทธ์ิโดยภาครัฐ

• การจัดสรรสินคาสาธารณะไมบริสุทธ์ิ

• การจัดสรรสินคาเอกชนโดยภาครัฐ

• การให้ภาคเอกชนดําเนินการแทนภาครัฐ

บทท่ี 3 สินคาสาธารณะ ชัยรัตน เอ่ียมกุลวัฒน เศรษฐศาสตรสาธารณะ Econ 2943307


Recommended