+ All Categories
Home > Documents > โครงการบริหารจัดการพื้นที่...

โครงการบริหารจัดการพื้นที่...

Date post: 03-Aug-2020
Category:
Upload: others
View: 2 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
17
กรมพัฒนาที่ดิน 22 กุมภาพันธ์ 2560 โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)
Transcript
Page 1: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

กรมพัฒนาที่ดิน 22 กุมภาพันธ์ 2560

โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)

Page 2: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์

ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การสร้างความสามารถในการแข่งขัน

คัดเลือกพื้นที่ท าการผลิต ไม่เหมาะสม (N) 14.52 ล้านไร่

แผนทางเลือกที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยน (แผน 20 ปี 2560-2579)

เป้าหมาย 6 ล้านไร่

แผนทางเลือกที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยน (แผน 5 ปี 2560-2564)

เป้าหมาย 1.5 ล้านไร่

ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตรช์าติ 20 ปี ยุทธศาสตร์กระทรวงฯ และโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

แผนบูรณาการการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร

เป้าหมายที่ 2 : ลดต้นทุนการผลิตและยกระดบัมาตรฐานสนิคา้เกษตรเพ่ือเพ่ิมโอกาส ในการแข่งขันและการพัฒนาที่ยั่งยืน

แผนขับเคลื่อนโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) ระยะ 20 ปี (2560-2579) เป้าหมายการปรับเปลี่ยนกิจกรรมในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) เป้าหมาย 6 ล้านไร่

1. ข้าว 8.54 ล้านไร่ 2. ปาล์มน้ ามัน 0.87 ล้านไร่ 3. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 0.517 ล้านไร่ 4. มันส าปะหลัง 0.409 ล้านไร่ 5. มะพร้าว 0.267 ล้านไร่ 6. เงาะ มังคุด ทุเรียน 0.145 ล้านไร่ 7. อ้อยโรงงาน 0.144 ล้านไร่ 9. ล าไย 0.126 ล้านไร่ 9. สับปะรด 0.08 ล้านไร่ 10 กาแฟ 0.062 ล้านไร่ 11.ยางพารา 3.84 ล้านไร่

แผนปรับเปลี่ยนพ้ืนที่ปลูกข้าว 4.8 ล้านไร่ จากเป้าหมาย 6 ล้านไร่

(คิดเป็นร้อยละ 80)

แผนปรับเปลี่ยนพ้ืนที่ ปลูกพืชชนิดอื่น 1.2 ล้านไร่

จากเป้าหมาย 6 ล้านไร่ (คิดเป็นร้อยละ 20)

2

แผนปรับเปลี่ยนพ้ืนที่ปลูกข้าว ไปปลูกพืชเศรษฐกิจและเกษตรผสมผสาน

ประมง ปศุสัตว์ 1.2 ล้านไร่ เป้าหมาย 1.5 ล้านไร่ (คิดเป็นร้อยละ 80)

แผนปรับเปลี่ยนพ้ืนที่ปลูกพืชชนิดอื่นไปปลูกพืชเศรษฐกิจและเกษตรผสมผสาน

ประมง ปศุสัตว์ 0.3 ล้านไร่ เป้าหมาย 1.5 ล้านไร่

(คิดเป็นร้อยละ 20)

แผนทางเลือกที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยน (แผน 1 ปี 2560)

เป้าหมาย 0.3 ล้านไร่

แผนปรับเปลี่ยนพ้ืนที่ปลูกข้าว ไปปลูกพืชเศรษฐกิจและเกษตรผสมผสาน

ประมง ปศุสัตว์ 0.24 ล้านไร่ เป้าหมาย 0.3 ล้านไร่ (คิดเป็นร้อยละ 80)

แผนปรับเปลี่ยนพ้ืนทีป่ลูกพืชชนิดอื่นไปปลูกพืชเศรษฐกิจและเกษตรผสมผสาน

ประมง ปศุสัตว์ 0.06 ล้านไร่ เป้าหมาย 0.3 ล้านไร่

(คิดเป็นร้อยละ 20)

Page 3: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

แผนการด าเนินงาน

จาก Agri-Map มี N ท้ังประเทศ 14.52 ล้านไร่ / 13 ชนิดพืช

แผนปี 2560 (68 จังหวัด)

10 จังหวัด ต้นแบบ ชัยภูมิ บุรีรัมย์ อุทัยธานี สุรินทร์ กาฬสินธุ์ อุตรดิตถ์ พิจิตร กาญจนบุรี ราชบุรี พัทลุง

ส่วนใหญ่เป็น N ของ ข้าว ปาล์มน ้ามัน ข้าวโพดเลี ยงสัตว์ มันส้าปะหลัง

ข้าว เป็น พืชเศรษฐกิจอื่น 108,000 ไร่

ข้าว+พืชไร่ เป็น เกษตรผสมผสาน 149,000 ไร่ ข้าว เป็น ประมง 3,000 ไร่ ข้าว+พืชไร่ เป็น ปศุสัตว์ 40,000 ไร ่

หน่วยงานรับผิดชอบ ( 8 กรมฯ )

กวก. ส.ป.ก. มม. กปม. กสก. พด. กสส. ปศ.

300,000 ไร่

ตัวอย่างผลตอบแทน (ก าไร) (บาท/ไร)่ ข้าว อ้อย : ปลูกข้าว 761 : ปลูกอ้อย 2,700 ข้าว ปลานิล : ปลูกข้าว 761 : ปลานิล 5,592 ข้าว พืชอาหารสัตว์ : ปลูกข้าว 761 : เนเปียร์ 3,567

ตัวอย่างความส าเร็จท่ีมีอยู่แล้ว

ปศุสัตว์

การเปลี่ยนแปลงสู่ Smart Agriculture

การบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)

พื้นท่ีเหมาะสม S1 + S2

พื้นท่ีไม่เหมาะสม S3 + N

เพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุน

ส่งเสริม, จูงใจ, สนับสนุน ให้มีการปรับเปลี่ยน

สอดคล้องกับตลาดในจังหวัด แปลงใหญ่ สหกรณ์ พืชอื่น

เกษตรผสมผสาน ประมง

เกษตรอินทรีย ์

2560 ปีแห่งการยกระดับมาตรฐาน การเกษตรสู่ความยั่งยืน

ปศุสัตว์

Agri-Map Online

Page 4: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

Road Map การปรบัเปลีย่นกิจกรรมการผลิตในพืน้ที่ไม่เหมาะสม (N)

เป้าหมาย - ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม 1.5 ล้านไร่ ในระยะเวลา 5 ปี

1.ก าหนดพื้นที่ไม่เหมาะสม(N) โดยAgri-Map

2. คัดเลือก เกษตรกร

3. อบรมและชี้แจง ความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมปรับเปลีย่น

4. ด าเนินการ ปรับเปลี่ยนการผลิต ในพื้นที่

หน่วยปฏิบัติงานในพื้นที่ - ชี้แจงแผนงานและสร้างความเข้าใจกับเกษตรกร - ด าเนินการในพื้นที่ร่วมกับเกษตรกร - รายงานผลงานทุก 2 สัปดาห์ ต่อ Single Command

การบูรณาการระดับจังหวัด - ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ติดต่อประสานงานด้านการตลาดร่วมกับภาคเอกชน - ให้ค าแนะน าแก่เกษตรกรที่ปรบัเปลี่ยนการผลิตดว้ยตนเอง

- ประชุมและวางแผนการปรบัเปลี่ยนในระดับพื้นที่ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจในแนวทางการปฏบิัติงาน - บูรณาการกับจังหวัด - ติดตามและรายงานผลทุก 2 สัปดาห์ ต่อคณะท างาน

คณะท างาน - ก าหนดเป้าหมายและแผนงานการปรบัเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตในพ้ืนที่ N - ขับเคลื่อน ช่วยเหลือ ก ากับ และติดตามการปฏิบัติงาน - บูรณาการแผนงาน/งบประมาณ/บุคลากร

Single command

เป้าหมายตัวชี้วัด เชิงปริมาณ: จ านวนพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมได้รับการพัฒนาให้สามารถใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (1.5 ล้านไร่) เชิงคุณภาพ: เกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพการผลิตทางการเกษตร และมีรายได้เพิ่มขึ้น

5. ติดตาม และประเมินผล

6. รายงานสรุปผล

Page 5: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

10 จังหวัดต้นแบบ

พื้นที่ N 2,438,363 ไร ่ เป้าหมายปรับเปลี่ยน ปี 2560 - พืชเศรษฐกิจอื่น 40,670 ไร ่ - ประมง 707 ไร ่ - ปศุสัตว์ 13,124 ไร ่ - เกษตรผสมผสาน 37,117 ไร ่

58 จังหวัดขยายผล

พื้นท่ี N 11,965,262 ไร ่ เป้าหมายปรับเปลี่ยน ปี 2560

- พืชเศรษฐกิจอื่น 89,830 ไร ่ - ประมง 2,293 ไร ่ - ปศุสัตว์ 26,876 ไร ่ - เกษตรผสมผสาน 89,383 ไร ่

9 จังหวัดที่ ไม่มีพื้นท่ีปรับเปลี่ยน

ปี 2560 เป้าหมาย 300,000 ไร ่

Page 6: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

ข้าวโพด (N)

เกษตรผสมผสาน 7,151 ไร่

ไม้ผล 22 ไร่

ประมง 3 ไร่

ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 646 ไร่

มันส าปะหลัง (N)

เกษตรผสมผสาน 6,138 ไร่

ประมง 3 ไร่

พืชผักปลอดสารพิษ 3 ไร่

หม่อนไหม 750 ไร่

ปาล์มน้ ามัน (N)

เกษตรผสมผสาน 6,138 ไร่

ยางพารา (N)

เกษตรผสมผสาน/

พืชเศรษฐกิจ

20,297 ไร่

ไม้ผล 2,329 ไร่

ประมง 7 ไร่

ปาล์มน้ ามัน 61 ไร่

พืชผักปลอดสารพิษ 34 ไร่

อ้อยโรงงาน (N)

ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว 253 ไร่

พืชผักปลอดสารพิษ 60 ไร่

เกษตรผสมผสาน (N)

ประมง 1,083 ไร่

ข้าว (N)

เกษตรผสมผสาน/

พืชศรษฐกิจ

182,987 ไร่

ข้าวโพด 129 ไร่

มันส าปะหลัง 3,056 ไร่

อ้อยโรงงาน 1,100 ไร่

ไม้ผล 712 ไร่

ประมง 1,903 ไร่

ปศสุัตว ์ 51,500 ไร่

เกษตรอินทรีย์ 569ไร่

หม่อนไหม 750 ไร่

ถั่วลิสง 12,800 ไร่

แผนการปรับเปลี่ยนข้าว (N) เป้าหมาย 240,000 ไร่

แผนการปรับเปลี่ยนพืชอื่น (N) เป้าหมาย 60,000 ไร่

ผลการด าเนินการปรับเปลี่ยนข้าว (N) เป็นการผลิตอื่น 255,506 ไร ่

ผลการด าเนินการปรับเปลี่ยนเป็นพืชชนิดอืน่ (N) เป็นการผลิตอื่น 44,841 ไร่

ปี 2560 เป้าหมายพืน้ที่ปรับเปลี่ยน 300,000 ไร ่

6

Page 7: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

แผนการด าเนินงาน ปีงบประมาณ 2560

หน่วยงาน กิจกรรม เป้าหมาย

(ไร)่ งบประมาณ (ล้านบาท)

กรมวิชาการเกษตร ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์/ออ้ย/ถั่วลิสง 14,000 18.4775

ส.ป.ก. เกษตรผสมผสาน/พืชเศรษฐกิจ 15,000 4.8020

กรมหม่อนไหม หม่อนไหม 1,500 2.0850

กรมประมง ประมง 3,000 4.2720

กรมพัฒนาที่ดิน เกษตรผสมผสาน 100,000 365.5000

กรมส่งเสริมการเกษตร เกษตรผสมผสาน/พืชเศรษฐกิจ 115,000 2.5750

กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปศุสัตว์/หญ้าอาหารสัตว์ (สินเชื่อ) 11,500 1.9240

กรมปศุสัตว์ ปศุสัตว์/หญ้าอาหารสัตว์ 40,000 164.7

รวมทั้งสิ้น 300,000 564.33

Page 8: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

ปี 2560 ด าเนินการ 10 จังหวัด (แปลงต้นแบบ) เป้าหมาย 79,395 ไร่

จังหวัด เป้าหมาย กิจกรรมปรับเปลี่ยนการผลิต (ไร)่

หน่วยงาน ไร ่ พืชเศรษฐกิจ เกษตรผสมผสาน ปศุสัตว์ ประมง

1. ชัยภูมิ* 14,059 3,970

6,600

3,481 8 กวก./กสก./ส.ป.ก./ พด./ปศ./กปม./มม.

2. บุรีรัมย*์ 13,981 5,100 5,450 3,372 59 กวก./กสก./ส.ป.ก./ พด./กสส./ปศ./กปม./มม.

3. อุทัยธานี* 4,317 2,300 850 1,125 42 กวก./ส.ป.ก./มม./กปม./กสก./กสส./ปศ.

4. สุรินทร์ 11,770 4,510 4,000 3,260 - กวก./กสก./มม./พด./ปศ. 5. กาฬสินธุ์ 10,659 4,640 5,700 287 32 กวก./กสก./มม./พด./

ปศ./กปม. 6. พิจิตร 3,354 2,649 500 180 25 กวก./ส.ป.ก./กปม./กสก./ปศ.

7. อุตรดิตถ์ 10,191 2,280 7,400 500 11 กวก./มม./กปม./พด./ กสก./กสส./ปศ.

8. กาญจนบุรี 4,680 2,400 1,500 780 - กวก./ส.ป.ก./มม./ กปม./พด./กสก./ปศ.

9. ราชบุรี 2,642.50 1550 500 585 7.5 กวก./กปม./กสก./ปศ. 10. พัทลุง 3,741.50 746 500 2480 15.5 กวก./กปม./กสก./ปศ.

รวม 79,395 30,145 33,000 16,050 200

Page 9: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

การด าเนินการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) จ.ชัยภูม ิ

ก าหนดพื้นที ่ก าหนดทางเลือก/โอกาส

ปรับเปลี่ยน ขับเคลื่อน

การปรับเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนพื้นที่

Agri-Map online

1. มีโรงงานอ้อยในรัศมี 100 กม . จ านวน 2 โ ร ง และต้ อ ง ก า ร เ พ่ิ ม ผ ล ผ ลิ ต อี ก 1,580,000 ตัน

ตาม Agri-Map มีศักยภาพ ท าอะไรได้บ้าง N ข้าว อ้อย หม่อน หญ้าอาหารสัตว์ ประมง N มันส าปะหลัง หญ้าอาหารสัตว์ N ยางพารา เกษตรผสมผสาน

Action plan •ประชุมท าประชาคม •คัดเลือกเกษตรกร •จัดท าแปลงสาธิต •ก าหนดกิจกรรม

ปรับเปลี่ยน

หน่วยงาน กษ. / ร่วมบูรณาการผ่าน ศพก. ปรับจากข้าว พืชอ่ืน

• อ้อย 600 ไร่ (กวก.) 3,300 ไร่ (กสก.) •หม่อน 70 ไร่ (มม.) ปรับจากข้าว ปศุสัตว์ •ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ 3,481 ไร่ (ปศ.)

ปรับจากข้าว ประมง • เลี้ยงปลาน้ าจืด 8 ไร่ (กปม.)

ปรับจากข้าว เกษตรผสมผสาน • เกษตรผสมผสาน 4,600 ไร่ (พด.) 2,000 ไร่ (กสก.)

Single Command ประชุมคณะท างาน

สถานีพัฒนาที่ดิน

มีพื้นที่ท าการเกษตร 4,273,018 ไร่ ท าเกษตรในพืน้ที่ N 850,700 ไร่ ข้าว 777,161 ไร่ (เนื่องจาก ดินตื้น ดินขาดขาดความอุดมสมบูรณ์) มันส าปะหลัง 62,778 ไร่ (เนื่องจาก ดินตื้น) ยางพารา 10,761 ไร่ (เนื่องจาก ความลาดชันสูงมากกว่า 35%)

รวมพื้นที่ปรับเปลี่ยนทั้งหมด 14,059 ไร่

Page 10: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

การด าเนินการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) จ.กาฬสินธุ์

ก าหนดพื้นที ่ก าหนดทางเลือก/โอกาส

ปรับเปลี่ยน ขับเคลื่อน

การปรับเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนพื้นที่

Agri-Map online

1. มีโรงงานอ้อยในรัศมี 100 กม . จ านวน 2 โ ร ง และต้องการเพ่ิมผลผลิตอีก ___ ตัน

มีพื้นที่ท าการเกษตร 3,191,860 ไร่ ท าเกษตรในพ้ืนที่ N 309,989 ไร่ ข้าว 302,288 ไร่ (เนื่องจาก ขาดน้ า ดินตื้น) อ้อย 746 ไร่ (เนื่องจาก ดินขาดความอุดมสมบูรณ์) ยางพารา 6,955 ไร่ (เนื่องจาก ดินตื้น)

ตาม Agri-Map มีศักยภาพ ท าอะไรได้บ้าง N ข้าว อ้อย มันส าปะหลัง หม่อน หญ้าอาหารสัตว์ ประมง N อ้อย หญ้าอาหารสัตว์ N ยางพารา เกษตรผสมผสาน

Action plan •ประชุมท าประชาคม •คัดเลือกเกษตรกร •จัดท าแปลงสาธิต •ก าหนดกิจกรรม

ปรับเปลี่ยน

หน่วยงาน กษ. / ร่วมบูรณาการผ่าน ศพก. ปรับจากข้าว พืชอ่ืน

• อ้อย 1,200 ไร่ (กวก.) 3,400 (กสก.) •หม่อน 40 ไร่ (มม.)

ปรับจากข้าว ปศุสัตว์ •ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ 287 ไร่ (ปศ.)

ปรับจากข้าว ประมง • เลี้ยงปลาน้ าจืด 32 ไร่ (กปม.)

ปรับจากข้าว เกษตรผสมผสาน • เกษตรผสมผสาน 3,700 ไร่ (พด.) 2,000 ไร่ (กสก.)

Single Command ประชุมคณะท างาน

สถานีพัฒนาที่ดิน

รวมพื้นที่ปรับเปลี่ยนทั้งหมด 10,659 ไร่

Page 11: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

การด าเนินการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) จ.พิจิตร

ก าหนดพื้นที ่ก าหนดทางเลือก/โอกาส

ปรับเปลี่ยน ขับเคลื่อน

การปรับเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนพื้นที่

Agri-Map online

1. มีส้มโอพันธ์ท่าข่อย เป็นพืช GI ซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เนื้อ แน่น รสชาติหวาน เป็นที่นิยม

มีพื้นที่ท าการเกษตร 2,351,334ไร ่ท าเกษตรในพ้ืนที่ N 94,900 ไร่ ข้าว 93,203 ไร่ (เนื่องจาก ขาดน้ า ดินตื้น) มันส าปะหลัง 483 ไร่ (เนื่องจาก ขาดน้ า) ข้าวโพด 1,214 ไร่ (เนื่องจาก ความลาดชันสูงมากกว่า 35%)

ตาม Agri-Map มีศักยภาพ ท าอะไรได้บ้าง N ข้าว อ้อย เมล็ดพันธ์ุข้าว หญ้าอาหารสัตว์ ประมง N มันส าปะหลัง หญ้าอาหารสัตว์ N ข้าวโพด เกษตรผสมผสาน

Action plan •ประชุมท าประชาคม •คัดเลือกเกษตรกร •จัดท าแปลงสาธิต •ก าหนดกิจกรรม

ปรับเปลี่ยน

หน่วยงาน กษ. / ร่วมบูรณาการผ่าน ศพก.

ปรับจากข้าว พืชอื่น • อ้อย 750 ไร่ (กวก.) 1,000 ไร่ (กสก.) • เมล็ดพันธุ์ข้าว 646 ไร่ (สปก.)

ปรับจากข้าว ปศุสัตว์ •ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ 180 ไร่ (ปศ.)

ปรับจากข้าว ประมง • เลี้ยงปลาน้ าจืด 25 ไร่ (กปม.)

ปรับจากข้าว เกษตรผสมผสาน • เกษตรผสมผสาน 500 ไร่ (กสก.)

Single Command ประชุมคณะท างาน

สถานีพัฒนาที่ดิน ปรับจากอ้อย พืชอ่ืน • เมล็ดพันธุ์ข้าว 253 ไร่ (สปก.)

รวมพื้นที่ปรับเปลี่ยนทั้งหมด 3,354 ไร่

Page 12: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

การด าเนินการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) จ.อุตรดิตถ์

ก าหนดพื้นที ่ก าหนดทางเลือก/โอกาส

ปรับเปลี่ยน ขับเคลื่อน

การปรับเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนพื้นที่

Agri-Map online

1. มีโรงงานอ้อยในรัศมี 100 กม . จ านวน 1 โ ร ง และต้องการเพ่ิมผลผลิตอีก ___ ตัน

2. เป็นแหล่งปลูกพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ เช่น ทุเรียน ลางสาด ลองกอง เป็นต้น

มีพื้นที่ท าการเกษตร 1,639,202ไร ่ท าเกษตรในพื้นที ่N 153,667 ไร่ ข้าว 152,046 ไร่ (เน่ืองจาก ดินตื้น) มันส าปะหลัง 1,223 ไร่ (เน่ืองจาก ขาดน้ า ดินตื้น) ยางพารา 398 ไร่ (เน่ืองจาก ดินตื้น ความลาดชันสงูมากกว่า 35%)

ตาม Agri-Map มีศักยภาพ ท าอะไรได้บ้าง N ข้าว อ้อย ข้าวโพด หญ้าอาหารสัตว์ ประมง N มันส าปะหลัง หญ้าอาหารสัตว์ N ยางพารา เกษตรผสมผสาน

Action plan •ประชุมท าประชาคม •คัดเลือกเกษตรกร •จัดท าแปลงสาธิต •ก าหนดกิจกรรม

ปรับเปลี่ยน

หน่วยงาน กษ. / ร่วมบูรณาการผ่าน ศพก.

Single Command ประชุมคณะท างาน

สถานีพัฒนาที่ดิน

ปรับจากข้าว พืชอ่ืน • อ้อย 400 ไร่ (กวก.) 1,600 (กสก.) ปรับจากข้าว ปศุสัตว์ •ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ 500 ไร่ (ปศ.)

ปรับจากข้าว ประมง • เลี้ยงปลาน้ าจืด 11 ไร่ (กปม.)

ปรับจากข้าว เกษตรผสมผสาน • เกษตรผสมผสาน 5,900 ไร่ (พด.) 1,000 ไร่ (กสก.) 500 ไร่ (กสส.)

ปรับจากมันส าปะหลัง หม่อน •หม่อน 280 ไร่ (มม.)

รวมพื้นที่ปรับเปลี่ยนทั้งหมด 10,191 ไร่

Page 13: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

ความก้าวหน้าผลการด าเนินงาน

ส ารวจพื้นที่ (N)

300,000 ไร่

คัดเลือกเกษตรกร

และอบรมชี้แจง

21,661 ราย

ด าเนินการแล้ว

เสร็จ ร้อยละ 100

(ธ.ค. 59)

ความก้าวหน้าผลการด าเนินงาน Zoning by Agri-Map ปี 2560 เป้าหมาย 300,000 ไร่ ข้อมูล ณ วันที่ 14 ก.พ. 60

กิจกรรมปรับเปลี่ยน

กรมวิชาการเกษตร

สร้างแปลงต้นแบบเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตพืช

กรมประมง

ถ่ายทอดให้ความรู้และสนับสนุนปัจจัยการผลิตด้านการเพาะเลี้ยง

สัตว์น้ า

กรมพัฒนาที่ดิน

ปรับโครงสร้างของดินเพื่อรองรับการท าเกษตรผสมผสาน

/ พืชเศรษฐกิจ

ส านักปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม

ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนภายใต้การขับเคลื่อนชุมชน

เศรษฐกิจพอเพียงในเขตปฏิรูปที่ดิน

กรมส่งเสริมการเกษตร

การปรับเปลี่ยนการปลูกพืชทางเลือกชนิด

กรมส่งเสริมสหกรณ์

จัดเตรียมแหล่งเงินกู้เพ่ือและสนับสนุนให้สินเชื่อแก่สมาชิก

จากเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์

กรมปศุสัตว์

ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอาหารสัตว์

กรมหม่อนไหม

สนับสนุนการผลิตหม่อนไหม

ปรับโครงสร้างของดิน ในพื้นที่ขุดสระเพื่อท าเกษตรผสมผสาน

16,000 ไร่ ด าเนินการในเดือน ก.พ. 60 และจะด าเนินการ

ปรับเปลี่ยน 84,000 ไร่ ในเดือน มี.ค.-ก.ค.60

จะด าเนินการสร้างแปลงต้นแบบและเกษตรต้นแบบ 14,000 ไร่

ในเดือน มี.ค – ก.ค. 60

จะด าเนินการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสม 5 ชนิดพืช

15,000 ไร่ เดือน พ.ค. – ส.ค. 60

จะด าเนินการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกหม่อน 10,500

ในเดือน พ.ค. – มิ.ย. 60

จะด าเนินการอบรมเกษตรกรในการผลิตสัตว์น้ า 3,000 ไร่ ใน

เดือน พ.ค. – ก.ค. 60

จะด าเนินการจัดเตรียมแหล่งเงินกู้และสนับสนุนให้สินเชื่อแก่

สมาชิก 11,500 ไร่ ในเดือน เม.ย – ก.ค. 60

จะด าเนินการปลูกพืชอาหารสัตว์ 40,000 ไร่

ในเดือน พ.ค. – ส.ค. 60

จะด าเนินการปรับเปลี่ยนการปลูกพืชทางเลือก 115,000 ไร่ ใน

เดือน พ.ค. – ส.ค. 60

ก าหนดพื้นที่

Page 14: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

ไร ่

Page 15: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

แผนการด าเนินงาน ปีงบประมาณ 2561

หน่วยงาน กิจกรรม เป้าหมาย (ไร)่

งบประมาณ (ล้านบาท)

1. กรมวิชาการเกษตร ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์/อ้อย/ถั่วลิสง 13,000 51.0

2. ส.ป.ก. เกษตรผสมผสาน/พืชเศรษฐกิจ 20,000 20.0

3. กรมหม่อนไหม หม่อนไหม 2,000 3.0

4. กรมประมง ประมง 5,000 25.6795

5. กรมพัฒนาที่ดิน เกษตรผสมผสาน 90,000 103.5

6. กรมส่งเสริมการเกษตร เกษตรผสมผสาน/พืชเศรษฐกิจ 90,000 527.4398

7. กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปศุสัตว/์หญ้าอาหารสัตว(์สินเชื่อ) 10,000 27.410

8. กรมปศุสัตว์ ปศุสัตว์/หญ้าอาหารสัตว ์ 50,000 139.631

9. กรมชลประทาน พื้นที่ส่งน้ าแก่พืชเศรษฐกิจ 20,000 -

10. กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ อบรมให้ความรู้ด้านบัญชี 3,000 ราย 5.63468

11. การยางแห่งประเทศไทย ไม้ยืนต้น/พืชเศรษฐกิจ (100,000 ) -

รวมท้ังสิ้น (ไม่รวมเป้าหมายการยางแห่งประเทศไทย) 300,000 903.79498

Page 16: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

ขอบคุณครับ

Page 17: โครงการบริหารจัดการพื้นที่ ...sql.ldd.go.th/DOC/Agenda/ZONING/Zoning_220260.pdf10 จ งหว ดต นแบบ พ นท N

Road Map ความก้าวหน้า (30,000 ไร)่ ความก้าวหน้า (70,000 ไร)่

ม.ีค.– เม.ย. 60

เม.ย. – พ.ค. 60

เม.ย. – มิ.ย. 60

ก.พ. – ก.ย. 60

1. คัดเลือกเกษตรกรที่ได้รับการ ขุดแหล่งน้ าฯ ปี 2560 แล้วและ อยู่ในพื้นที่ N เพื่อเข้าร่วม โครงการการปรับเปล่ียน

ม.ค. – ก.พ. 60 10,000 ราย (30,000 ไร่)

ม.ค - ก.พ. 60 70,000 ไร่

3. วางแผนการปรับเปล่ียนการผลิต หลังจากทีไ่ด้ด าเนนิการปรับพืน้ทีใ่ห ้เหมาะสมในแต่ละกิจกรรมแล้ว

4. สนับสนุนปัจจัยการผลิตเพือ่ ส่งเสริมการผลิตทีป่รับเปล่ียน

มี.ค. 60 – เม.ย. 60

เม.ย. – พ.ค. 60

1. คัดเลือกพืน้ที่ทีอ่ยูใ่น N ของพืช ต่าง ๆ และปรับพื้นที่ให้เหมาะสม (ตามกิจกรรมของกรมฯ) และแจง้ จ านวนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ

5. ประสานหนว่ยงานทีเ่ก่ียวขอ้ง เพื่อสนับสนนุปัจจัยการผลิตตาม ความต้องการปรับเปล่ียนของ เกษตรกร

6. ติดตามความก้าวหน้าการ ด าเนินงาน

ก.พ. – ก.ย. 60

5. ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อสนับสนนุปัจจัยการผลิตตาม ความต้องการปรับเปล่ียนของ เกษตรกร

6. ติดตามความก้าวหน้า การด าเนินงาน

2. อบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยกีาร พัฒนาที่ดนิให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการ

3.วางแผนการเพาะปลูกโดยก าหนด ชนิดพืช/สัตว์ ในลักษณะผสมผสาน

4. สนับสนุนปัจจัยการผลิตเพือ่ ส่งเสริมการผลิตทีป่รับเปล่ียนตาม แผนที่ก าหนด

มี.ค. 60

เม.ย. – มิ.ย. 60

มี.ค. 60 2. อบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยกีาร พัฒนาที่ดนิให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วม โครงการ

รายงานผลการด าเนนิงาน (กรมพัฒนาที่ดนิ) โครงการปรบัเปลี่ยนพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) เป็นเกษตรผสมผสาน ปงีบประมาณ 2560


Recommended