+ All Categories
Home > Documents > ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป...

⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป...

Date post: 16-Feb-2020
Category:
Upload: others
View: 0 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
16
⌦ ⌫ การเพาะเลี้ยงนกยูงไทยในปจจุบัน ผูเลี้ยงสวนใหญนิยมเลี้ยงเปนสัตวสวยงามยังไมมุงเนนเปนสัตว เศรษฐกิจมากนักเนื่องจากขั้นตอนการปฏิบัติ ตองใหเปนไปตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา .. 2535 ในกรงเลี้ยงนิยมฟกไขดวยตูฟก เพราะแมนกยูงไมยอมฟกไขเอง ชอบจิกกินไข ทําใหไดลูกนก ยูงจํานวนนอย หรืออาจใหแมไกบานฟกแทน แตมีขอจํากัดที่ไมสามารถฟกไขไดเปนจํานวนมาก ตูฟกไข แบบใชไฟฟาบาน เปนแบบอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ ซึ่งสะดวกในการปฏิบัติ และสามารถควบคุมหรือปรับ ความตองการตางๆ ใหเหมาะสมกับชนิดของไขได แตอยางไรก็ตาม การเลี้ยงนกยูงชนิดตางๆ ยังไมไดมีการศึกษาคนควา ทดลองกันอยางจริงจัง จึง หาขอมูลที่ใชเปนหลักเกณฑที่แนนอนไมได ขอมูลสวนมากไดมาจากการบอกเลา และจากการสังเกตของผู ที่เลี้ยง มาเปนเวลานาน เพื่อใหไดขอมูลบางประการ ที่มีมาตรฐานและแบบแผน ผูทําการศึกษาจึงไดทําการ ศึกษา การฟกไขและการเลี้ยงลูกออนสัตวปา ตระกูลสัตวปกขึ้น ที่สถานีวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวปาเพื่อการ อนุรักษปางตอง (โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ) อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ในระหวางป . .2543 – 2544 แตยังไมสามารถเก็บขอมูลตางๆ ไดสมบูรณนัก เพราะเปนเพียงระยะเริ่มตน การรายงาน ครั้งนีผูศึกษามีความประสงคที่เสนอใหผูเลี้ยงนกยูงไดพิจารณาเปรียบเทียบขอมูลที่มีอยู เพื่อหาความถูกตอง และชวยทําใหไดขอมูลที่มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ซึ่งเปนแนวทางที่ศึกษาตอเนื่องใหละเอียดในอนาคตตอไป
Transcript
Page 1: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

⌦ ⌫⌫

การเพาะเลี้ยงนกยูงไทยในปจจุบัน ผูเลี้ยงสวนใหญนิยมเลี้ยงเปนสัตวสวยงามยังไมมุงเนนเปนสตัว

เศรษฐกิจมากนักเนื่องจากขั้นตอนการปฏิบัติ ตองใหเปนไปตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 ในกรงเลี้ยงนิยมฟกไขดวยตูฟก เพราะแมนกยูงไมยอมฟกไขเอง ชอบจิกกินไข ทําใหไดลูกนกยูงจํานวนนอย หรืออาจใหแมไกบานฟกแทน แตมีขอจํากัดที่ไมสามารถฟกไขไดเปนจํานวนมาก ตูฟกไขแบบใชไฟฟาบาน เปนแบบอัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ ซึ่งสะดวกในการปฏิบัติ และสามารถควบคุมหรือปรับความตองการตางๆ ใหเหมาะสมกับชนิดของไขได

แตอยางไรก็ตาม การเลี้ยงนกยูงชนิดตางๆ ยังไมไดมีการศึกษาคนควา ทดลองกันอยางจริงจัง จึงหาขอมูลที่ใชเปนหลักเกณฑที่แนนอนไมได ขอมูลสวนมากไดมาจากการบอกเลา และจากการสังเกตของผูที่เลี้ยง มาเปนเวลานาน เพื่อใหไดขอมูลบางประการ ที่มีมาตรฐานและแบบแผน ผูทําการศึกษาจึงไดทําการศึกษา การฟกไขและการเลี้ยงลูกออนสัตวปา ตระกูลสัตวปกขึ้น ที่สถานีวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวปาเพื่อการอนุรักษปางตอง (โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ) อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ในระหวางปพ.ศ.2543 – 2544 แตยงัไมสามารถเกบ็ขอมลูตางๆ ไดสมบรูณนกั เพราะเปนเพยีงระยะเริม่ตน การรายงานครัง้นี ้ ผูศึกษามคีวามประสงคทีเ่สนอใหผูเลีย้งนกยงูไดพจิารณาเปรยีบเทยีบขอมูลทีม่อียู เพือ่หาความถกูตองและชวยทาํใหไดขอมลูทีม่คีวามสมบรูณมากยิง่ขึน้ ซึง่เปนแนวทางทีศึ่กษาตอเนือ่งใหละเอยีดในอนาคตตอไป

Page 2: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

⌫อุปกรณ

1. กรงเลี้ยง (ภาพที่ 1) เปนกรงสี่เหล่ียมขนาด กวาง x ยาว x สูง = 3x 9x 2 เมตร ดานขางลอมดวยตาขายสี่เหลี่ยม ตาขนาด 1x1 นิ้ว ขนาดลวดตาขาย เบอร 14 ภายในกรง แบงออกเปน 3 สวน คือ

สวนที่ 1 พื้นที่ดินโรยดวยทรายหยาบเปนสวนที่ไมมุงหลังคา มีตนไมแหงมีกิ่งกาน 2 –3 ตน ฝงไวเพื่อใหนกยูงใชเปนที่พักผอนและทํากิจกรรมตางๆ ปลูกตนไมที่มีลักษณะเปนพุมไวเปนที่สําหรับหลบภัยสวนที่ 2 พื้นที่ดินโรยดวยทรายหยาบมุงหลังคาดวยสังกะสี ดานขางทั้ง 3 ดาน ตีดวยไมหนา 1 เซนติเมตร กวาง 4 – 5 นิ้ว มีประตูดานหลังสําหรับเขาออก สวนที่ 3 พื้นที่ดินโรยดวยทรายหยาบ สําหรับจัดวางรังเทียม เพื่อนํารังเทียมไปวางไวที่มุมดานที่มุงหลังคาที่ไมติดกับประตูเขาออก

2. ภาชนะใสน้ําและอาหาร ภาชนะถวยเคลือบหรือพลาสติกแบบกลมขนาดเสนผาศูนยกลางโดยประมาณ 7 นิ้ว สูงประมาณ 3 นิ้ว ภาชนะใสน้ํามีลักษณะเปนกรวย มีฝาปดสูงประมาณ7-8 นิ้ว มีรู 2 ขาง ที่ฝาปดกรวย ใหน้ําไหลออกไดเวลานกยูงกินน้ํา

3. รงัเทยีม ใชไมเนือ้หนาประมาณ 2.5 นิว้ เปนวัสดทุาํเปนรปูสามเหลีย่ม ใชกระเบือ้งปดดานขางทั้ง 2 ดานไว

วิธีการศึกษา1. วิธีการใหอาหารและน้ํา

1.1 การใหอาหารและน้ํา ใหอาหารใหมทุกวัน วันละ 1 ครั้ง ในเวลาเชา ภาชนะใสน้ําเปลี่ยน น้ําทุกๆ วัน ในตอนบาย

1.2 ชนิดอาหาร ตามธรรมชาติของนกยูง กินอาหารจําพวก ผลไม เมล็ดธัญญพืช และเกลือ แร จึงใหชนิดอาหารตางๆ ดังนี้- อาหารจําพวก ผลไม ใหกลวยน้ําวาสุก- อาหารจําพวกเมล็ดธัญญพืช ใหขาวโพด ขาวเปลือก และถั่ว- เกลือแร และวิตามินละลายน้ําใหนกยูงกินแทนน้ํากอนการทดลอง ใหอาหารในปริมาณมากๆ และสังเกตปริมาณอาหารที่เหลือ เพื่อปรับปริมาณอาหารใหเหลือในปริมาณนอยที่สุด และไดนําไปใชในการใหอาหารระหวางการทดลองตอไป

2. วิธีการปองกันโรค เพื่อลดความเสี่ยงตอการเกิดโรค โดยการปฏิบัติดังนี้- อาหารที่ใหตองสด ไมเนาเสีย และไมมีกลิ่นเหม็นหืน- ทําความสะอาด เก็บกวาดมูล และเศษอาหารที่ตกหลนในพื้นกรงทุกวัน- ทําความสะอาดภาชนะที่ใสอาหาร – น้ํา นํามาผึ่งแดดทุกวัน

Page 3: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

3. ศึกษาพฤตกิรรมการสบืพนัธุของนกยงูในสภาพกรงเลีย้ง3.1 เฝาดูพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสี และจับคู พฤติกรรมการผสมพันธุ และบันทึกชวงเดือน

ที่เกิดพฤติกรรมเหลานี้ และการแสดงของพฤติกรรม3.2 ทําการบันทึกเมื่อพบการเขาโพรงวางไข มีพฤติกรรมอยางไร จํานวนไขทั้งหมดที่นก ยูงวางไขในฤดู วัดขนาดและชั่งน้ําหนักไขทุกฟอง3.3 เฝาดูพฤติกรรมการฟกไข เพื่อดูวาเพศใดทําหนาที่ฟกไข และหาระยะเวลาเฉลี่ยของ การฟกไข ตลอดจนวิธีการเลี้ยงดูลูกนก

พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสี

จากการสังเกตพฤติกรรมของนกยูงไทยในกรงเลี้ยงที่สถานีวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวปาเพื่อการอนุรักษปางตอง พบวานกยูงไทย เริ่มมีพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีกันต้ังแตเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมีนาคม

โดยเพศผูมีขนคลุมโคนหางดานบนยาวมาก ขนคลุมโคนขนหางดานลางเปนขนอุยมีขนหางยาวออกมาประมาณ 20 เสน ขนหางของเพศผูมีลายดอกดวง ปลายปกบน แข็งยาวมาก ตัวผูมีเดือย ชวงฤดูผสมพันธุเพศผูสงเสียงรองทั้งเวลากลางวันและกลางคืน ในชวงฤดูนี้ เพศผูรําแพนหาง เพื่อเรียกรองความสนใจจากเพศเมีย ขั้นตอนดังกลาวเริ่มดวยการ ยกแพนขนปดหางขึ้นพรอมกับคลี่ออกเปนรูปพัด “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางปกทั้งสองขางออกพยุงลําตัว ย่ําเทาลงกับพื้นเบาๆ แลวจึงลูแพนขนหางไปทางขางหลัง พรอมกับสั่นกานขนใหเกิดเสียงดังเปนชวงๆ สวนเพศเมียที่สนใจก็จิกขนของเพศผูตรงนั้นบางตรงนี้บาง เพศผูก็เดินกรีดเสียงแหลมยาวเขาหาตัวเมีย เพื่อผสมพันธุ

พฤติกรรมการผสมพันธุเพศผูใชวิธีจกิทีห่วัเพศเมยีแลวขึน้ทบัทนัทเีพือ่ผสมพนัธุ พฤติกรรมการเกีย้วพาราส ีและการผสมพนัธุ

เกิดขึ้น เวลา 09.00 น. - 15.00 น. เดือนพฤศจิกายน ดังตารางที่ 1เมื่อตรวจสอบจากรายงานถึงฤดูผสมพันธุของนกยูงไทยแลวปรากฏวา เดือนมีนาคม ถึงเดือน

พฤษภาคม (โอภาส, 2541) เดือนธันวาคม ถึงเดือนมีนาคม (ณรงค, 2534) ซึ่งการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ นกยูงไทยมีฤดูผสมพันธุในเดือน พฤศจิกายน ถึงเดือนมีนาคม ซึ่งใกลเคียงกับรายงานของณรงค (2534)

Page 4: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

ตารางที่ 1 แสดงชวงเวลา และระยะเวลาที่นกยูงใชในการผสมพันธุ

เวลาที่พบในการผสมพันธุ เวลาที่ใชในแตละครั้ง (นาที)

วัน/เดือน/ป 10.00–

10.59

11.00–

11.59

14.00–

14.59

15.00–

15.59

16.00–

16.59รวม

2.5 3 4 5 6

12 พ.ย. 2543 14.20 113 พ.ย. 2543 14.35 114 พ.ย. 254315 พ.ย. 254316 พ.ย. 2543 11.00 117 พ.ย. 254318 พ.ย. 2543 15.10 119 พ.ย. 254320 พ.ย. 2543 10.10 121 พ.ย. 2543 10.25 122 พ.ย. 254323 พ.ย. 2543 16.15 124 พ.ย. 2543 16.20 125 พ.ย. 254326 พ.ย. 2543 11.15 127 พ.ย. 2543 15.25 128 พ.ย. 2543 14.4029 พ.ย. 2543 16.10 1รวม (ครั้ง) 2 2 3 2 3 12 2 2 7 1

พฤติกรรมการวางไขนกยูงเพศเมียมีอาการกระวนกระวาย เวลาปวดทอง วางไข ในชวงเดือนกุมภาพันธ ถึงเดือน

เมษายน 2544 ดังตารางที่ 2

Page 5: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

ตารางที่ 2 วันที่วางไขของนกยูงและระยะหางของการวางไข

ไขฟองที่ วันที่วางไข หมายเลขคอก

ระยะหางการวางไข(วัน)

ไขมีเชื้อ ไขไมมีเชื้อ

คอก 1/51 22 กุมภาพันธ 2544 1/5 ไขฟองแรก /2 24 กุมภาพันธ 2544 1/5 2 /3 6 มีนาคม 2544 1/5 9 /4 8 มีนาคม 2544 1/5 2 /5 10 มีนาคม 2544 1/5 2 /6 18 มีนาคม 2544 1/5 8 /7 20 มีนาคม 2544 1/5 28 22 มีนาคม 2544 1/5 29 23 มีนาคม 2544 1/5 110 8 เมษายน 2544 1/5 16

คอก 1/11. 12 มีนาคม 2544 1/1 ไขฟองแรก /2. 19 มีนาคม 2544 1/1 7 /3. 20 มีนาคม 2544 1/1 1 /4. 21 มีนาคม 2544 1/1 1 / ตายโคม*5. 23 มีนาคม 2544 1/1 2 / ตายโคม*6. 27 มีนาคม 2544 1/1 5 / ตายโคม*7. 28 มีนาคม 2544 1/1 18. 11 เมษายน 2544 1/1 14

หมายเหตุ * ดําเนินการหาสาเหตุตอไปวาเพราะเหตุใดไขนกยูงจึงไมมีเชื้อ

พฤติกรรมการฟกไขพฤติกรรมการฟกไขในวันแรก พบวาเพศเมียเปนตัวฟกไข โดยใชขาเกลี่ยพื้นที่บริเวณมุมคอกที่

ทางสถานวิีจยัฯ จดัใหอยูอาศยัมลีกัษณะเปนหลมุ ไมลกึเทาทีค่วร เอาไวสาํหรบักกไขหรอืฟกไข นกยงูเพศเมยีกกไข ตลอดทั้งวันโดยไมลุกขึ้นมากินอาหารและน้ําที่จัดวางไวในคอกเลย ในวันที่ 2 ถึงวันที่ 5 พบวานกยูงเพศเมียเริ่มลุกขึ้นเดินและจิกกินอาหารและน้ําที่ทางสถานีวิจัยฯ จัดวางเอาไวบาง เมื่อเวลา 13.00 น. ประมาณ 5 นาที หลังจากนั้น นกยูงเพศเมียก็กลับไปกกไขของมันตอไป ระยะเวลาการฟกไขของนกยูงประมาณ 26 – 28 วัน

Page 6: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

หลังจากนกยูงเพศเมียฟกไขประมาณ 26 – 28 วัน แลวพบวา ไขของนกมีรอยราวเล็กนอยบริเวณสวนแหลมของไข คาดวาเปนการจิกไขของลูกนกยูงที่อยูภายใน เพื่อที่นําตัวเองออกมาจากเปลือกไขหอหุมตัวของมันอยู หลังจากนั้น 1 วัน ก็พบเห็นตัวลูกนกยูง ทางสถานีวิจัยฯ ไดนําตัวลูกนกยูงไปชั่งน้ําหนักตามตารางที่ 5

ทั้งนี้พบความผิดปรกติจากการฟกไขดังตารางที่ 3

พฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกนกลูกนกแรกเกิดลืมตาไมคอยเต็มที่ ไมมีขนปกคลุมตัว มีแตขนปกเพียงเล็กนอย ขาของลูกนกยังไม

แข็งแรง นับจากวันแรกที่ลูกนกฟกออกเปนตัว พบวาแมนกยูงกกลูกอยูในรัง โดยพอนกทําหนาที่หาอาหารปอนใหแมนก หลังจากนั้นแมนกออกจากรังมาหาอาหารกินเองบาง พอนกยังทําหนาที่หาอาหารมาปอนแมนกและลูกนกในรัง หลังจากลูกนก มีอายุได 28 วัน แมนกเริ่มออกจากรังบอยครั้งขึ้นและใชเวลาอยูนอกรงันานขึน้ เพราะชวงนีล้กูนกมพีฒันาการเคลือ่นไหวไดดขีึน้และมขีนปกคลมุรางกายมากขึน้ ทําใหรางกาย อบอุนขึ้น เมื่อลูกนกยูงอายุครบ 35 วัน ก็พบวาลูกนกมีการพัฒนาการเพิ่มขึ้น เริ่มใชขาของมันคุยเขี่ยหาอาหารกินเองได พอ แมนกยูงยังคอยดูแลอยูโดยพบเห็นการหาอาหารมาให เมื่อลูกนกอายุได 56 วัน ไมพบการดูแลลูกนกอีกเลย ลูกนกชวยตัวเองไดโดยหากินอาหารและน้ําเองได แมนกไมตองนําเอาอาหารมาปอนใหอีก ดังแสดงในตารางที่ 4

ตารางที่ 3 ความผิดปรกติตางๆ จากการฟกไขและท่ีสันนิษฐานได

ลักษณะที่พบเห็น สาเหตุไขแตกในระหวางการฟก

สองไขใส ไมมีวงเลือดหรือเสนเลือด

สองไขไมพบวงเลือด (ไขเชื้อตาย)ในระยะแรก (2 – 4 วัน)

ตัวออนตายเมื่อฟกได 2 สัปดาห

- ไขแตกอันเกิดมาจากเชื้อแบคทีเรีย- ไขสกปรก

- ไขไมมีเชื้อ- รมแกส ฆาเชื้อบนฟองไขกอนฟกมากเกินไป

- เกิดจากกรรมพันธุ- ฝูงพอ – แมพันธุมีโรครบกวน- ไขเกา- ไขฟกไดรับการกระทบกระเทือนมาก- อุณหภูมิการฟกสูงหรือตํ่าเกินไป

- พอ – แมพันธุไดรับโภชนาจากอาหารไมเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยิ่งไวตามินและแรธาตุ- ฝูง พอ - แมพันธุมีโรครบกวน

Page 7: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

ตารางที่ 3 (ตอ) ความผิดปรกติตางๆ จากการฟกไขและท่ีสันนิษฐานได

ลักษณะที่พบเห็น สาเหตุลูกนกเกิดเร็วกวาปกติ

ลูกนกเกิดชากวาปกติ

ตัวออนตายเมื่อเจริญเปนลูกนกเต็มที่แลวแตจะงอยปากไมเจาะเขาไปในชองอากาศ

ลูกนกเจาะเปลือกเร็วกวาปกติ

ลูกนกตายเมื่อเจาะเปลือกแลวตายในฟองไข

ลูกนกไมแข็งแรง

ลูกนกแหง(ดูไดจากแขงของลูกนกแหงและมีขนาดเล็ก)

ลูกนกสะดือไมเรียบรอย เปยกและมีกล่ิน

ลูกนกพิการ

ลูกนกนิ้วเทางอ

- ไขฟองเล็กเกินไป- ไขนกเล็กน้ําหนักเบา

- ไขฟองใหญเกินไป- ไขเกา

- พอ - แมพันธุรับโภชนาจากอาหารไมเพียงพอ- ความชื้นสูงเกินไป- อุณหภูมิในการฟกสูงเกินไป

- อุณหภูมิในการฟกสูงเกินไป- ความชื้นต่ําเกินไป

- พอ - แมพันธุไดรับโภชนาจากอาหารไมเพียงพอ- ยีนมรณะ- ฝูงพอ - แมพันธุมีโรครบกวน- ไขเปลือกบางเกินไป- อุณหภูมิสูงเกินไป- ความชื้นต่ําเกินไป

- การสุขาภิบาลไมดี

- ความชื้นต่ําเกินไป- ลูกนกที่เกิดแลวยังอยูดานในทองแมนานเกินไป

- เปนโรคสะดืออักเสบ- การสุขาภิบาลไมดี

- พอ - แมพันธุไดรับโภชนาจากอาหารไมเพียงพอ- อุณหภูมิในการฟกไมคงที่- ลูกไกอยูในฟองไขในตําแหนงที่ไมถูกตอง

- พอ - แมพันธุไดรับโภชนาจากอาหารไมเพียงพอ

Page 8: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

ตารางที่ 4 แสดงพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูกนกยูง

ระยะเวลาจากลูกนกออกจากไข

พฤติกรรมของพอแมนกยูง

0 – 3 วัน - แมนกกกลูกอยูในรังเทียม- พอนกนําอาหารไปปอนแมนกยูงทั้งในรังและหนารังเทียม การปอนใชระยะเวลา หางกัน

1 – 2 ชั่วโมง และใชเวลาครั้งละ 1 – 5 นาที3 – 7 วัน - แมนกยงูเริม่ออกจากรงัเทยีมกนิอาหารในชวงเชา 2 – 3 ครัง้ ในชวงบาย 3 – 4 ครัง้

- พอนกเฝาระวังอันตรายที่เกิดกับลูกนกยูง หากแมนกไมออกมากินอาหาร พอนกนําอาหารไปปอนใหแมนกที่หนารัง

7 – 14 วัน - แมนกออกมากินอาหารบอยขึ้นทั้งชวงเชาและชวงบาย สําหรับในชวงบายแมนกใชเวลาในกิจกรรมการพักผอน ซึ่งกิจกรรมนี้ใชเวลาครั้งละ 3 – 15 นาที

- พอนกนําอาหารไปปอนใหแกลูกนกยูงในรังเทียมและเฝาระวังอันตราย ในขณะที่แมนกออกจากรังเทียมมาทํากิจกรรมตางๆ

21 – 28 วัน - แมนกออกจากรังเทียมมากินอาหาร ทํากิจกรรมอื่นๆ ในชวงเชาและบายบอยครั้งมากขึ้น และในแตละครั้งใชเวลานานกวาในระยะ 7 – 14 วัน

- พอนกนําอาหารเขาไปปอนลูกนกในรังเทียมบอยครั้ง และในแตละครั้งใชเวลานานกวาในระยะ 7 – 14 วัน

28 – 56 วัน - แมนกใชเวลาออกมากินอาหาร และทํากิจกรรมอื่นบอยครั้งมากขึ้น ในแตละครั้งใชเวลา20-40 นาที

- พอนกนําอาหารไปปอนใหแกลูกนกในรังเทียม ในขณะที่แมนกออกมาทํากิจกรรมอื่น56 – 58 วัน - ลูกนกออกจากรังเทียม

- พอและแมนกยังดูแลลูกนกอยูหางๆ- บางครั้งพอนกนําอาหารไปปอนใหลูกนก และการปอนนี้ลดลงไป

109 วัน - ไมพบการดูแลลูกนกของพอ – แม

Page 9: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

ตารางที่ 5 แสดงการเจริญเติบโตและพัฒนาการของลูกนกยูงอายุ/วัน

(วัน)นํ้าหนัก(กรัม)

พัฒนาการ

1 15 - นัยนตายังไมเปด- ลําตัวยังมีขนปกคลุมไมมาก

7 53 - นัยนตาเปดเล็กนอย- ลําตัวมีขนปกคลุมไมมาก- ปกมีความยาว 7.5 เซนติเมตร

14 103 - นัยนตาเปดเต็มที่- พบรากขนสีดําที่ใตผิวหนัง- ปากมีสีดําอมน้ําตาล

21 150 - ปกมีความยาว 14 เซนติเมตร- ขนสีดําอมน้ําตาลเริ่มขึ้นบริเวณสวนลําตัวและหัว- ที่หัวมีขนยาวขึ้นประมาณ 4 – 5 เสน- ใชเทายืนบนพ้ืนได พยายามนั่งและยกตัวขึ้น

28 155 - มีปกยาว 15 เซนติเมตร- เทามีกรงเล็บแข็งแรง แหลมคม สามารถใชเทาเกาะเกี่ยวได

35 203 - มีขนเปนสีขึ้นบริเวณสวนปก แตขนยังขึ้นไมเต็มที่- สามารถกระพือปกได

42 203 - สามารถใชปาก และเทาดีขึ้น49 202 - ทุกสวนมีความหนามากขึ้น

- สามารถใชปาก นิ้วเทา และกรงเล็บ เกาะเกี่ยวไดดีย่ิงขึ้น- สามารถยกตัว โยกตัวไดดี

56 206 - สามารถใชนิ้วเทา และกรงเล็บ ในการยกตัว โยกตัวปนปายไดดี63 259 - สามารถบินไดแข็งแรง

- หาอาหารกินเองได บางครั้งพบวาพอนกนําอาหารปอนให- การอาศัยและการรวมกิจกรรมกับตัวอื่น สามารถทําไดดี

109 670 - ไมพบการปอนอาหารของพอนก182 1170 - ขนปลายหางเพิ่มงอกยาวขึ้นประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร203 1276 - ขนบริเวณปก (หัวไหล) ทั้ง 2 ขาง ลักษณะเปนแกนมีสีเขียวแกมน้ําตาลเปนแวว

- ปากมีลักษณะเปนสีน้ําตาลดํา- ขนปลายหางมีความยาวมากขึ้น และเริ่มมีสีสันเพ่ิมมากขึ้น- ขนสวนคอออกแววสีเขียวเปนดอกดวง- ขนที่หัว ยาว 4 – 6 เซนติเมตร จํานวน 5 – 8 เสน- บริเวณสวนขามีลักษณะเปนเกล็ดสีดําอมน้ําตาลเขม บริเวณนิ้วและกรงเล็บแข็งแรง สามารถใชการได และชวยเหลือตัวเองไดดี- ลักษณะโดยรวม เหมือนพอและแม

Page 10: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

การศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของลูกนกจากตารางที่ 5 ซึ่งแสดงผลการเจริญเติบโตและพัฒนาการของลูกนกดวยการชั่งน้ําหนักลูกนก ใน

ชวงอายุตางๆ กัน ต้ังแตแรกเกิดจนลูกนกสามารถบินไดหรือลูกนกอายุครบ 77 วัน นํามาแสดงความสัมพันธระหวางอายุและน้ําหนักตัวของลูกนกยูง ไดดังกราฟที่ 1 ของลูกนกเมื่ออายุ 1 วัน ลูกนกยังไมลืมตาและขาของลูกนกยังไมแข็งแรง ลําแขงสีดําอมน้ําตาล ลําตัวมีขนอุยปกคลุมเต็มตัว ขนปกทั้ง 2 ขาง มี 5 –10 เสน บริเวณปากสีดํา ขนที่หัว มี 3 – 5 เสน ในชวงนี้ลูกนกยังคงเปนสีดํา ยังไมแสดงใหเห็นสีสันที่สวยงาม เมื่อลูกนกอายุได 7 – 35 วัน การพัฒนาการดานขนและสวนอื่นๆ เปนไปอยางรวดเร็ว เมื่ออายุได 35– 49 วัน การเจริญเติบโตคงที่และเริ่มลดลง แตพัฒนาการดานขนและการใชอาหารเปนไปอยางรวดเร็วหลังจากลูกนกอายุ 56 – 63 วัน มีการพัฒนาการอยางรวดเร็ว ทั้งดานการเจริญเติบโต การงอกของขนและการใชอวัยวะ จนกระทั่งอายุ 63 วัน สามารถปนปายรังเทียม หรือบินไดและออกมานอกรังเทียมเมื่ออายุได 77 วัน มีลักษณะโดยรวมเหมือนพอ – แมนกยูงทุกประการ

นํ้าหนัก (กรัม) 300

250

200

150

100

50

กราฟ

อายุ (วัน)

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70

ที่ 1 แสดงความสัมพันธระหวางอายุ และน้ําหนักตัวของลูกนกยูง

Page 11: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

ภาพที่ 1 สภาพโดยรวมภายในคอกนกยูง

ภาพที่ 2 วัดขนาดความยาวของปกลูกนกยูง

Page 12: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

ภาพที่ 4 พอพันธุรําแพนเพื่อเรียกรองความสนใจ

ภาพที่ 3 เครื่องชั่งน้ําหนักตัวลูกนกยูง

Page 13: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

การเพาะเลี้ยงนกยูงไทยจากการศึกษาและบันทึกขอมูลในการเฝาดูพฤติกรรมตางๆ ของพอ – แมพันธุ ต้ังแตเริ่มการเกี้ยว

พาราสีที่สถานีวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวปาเพื่อการอนุรักษปางตอง อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ในชวงปพ.ศ. 2543–2544 ทําใหทราบขอมูลชวงเวลาการผสมพันธุ เวลาในการวางไข และฟกไขของนกยูง จํานวน2 คู ที่ทําการวิจัยเริ่มผสมพันธุเมื่อประมาณกลางเดือนพฤศจิกายน เปนตนไป และสิ้นสุดการผสมพันธุในปลายเดือนพฤศจิกายนโดยเริ่มผสมพันธุในชวงเวลา 14.20 – 16.10 ใชเวลาผสมพันธุครั้งละ 2.5 –4 นาที

พอ–แมพนัธุนกยงูทีไ่มสมบรูณอาจผสมพนัธุชาหรอืเรว็กวาฤดกูาล ทัง้นีอ้าจเนือ่งมาจากสิง่แวดลอม เชน อุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ กระแสลม รวมทั้งอาหารที่สมดุลย ตอการเตรียมตัวเปนพอ–แมพันธุ อยางไรก็ตามจากการศึกษาพบวา ในป พ.ศ. 2543 อากาศภายนอกเริ่มเย็นมาก ทําใหแมนกยูงผสมพันธุกับพอนกยูงเร็วขึ้น และไขเปนจํานวนนอย จากขอมูลที่ไดทําใหผูเลี้ยงไดมีเวลาเตรียมตัววางแผนจัดการพอ – แมพันธุใหถูกตอง เชน การจับคูผสมพันธุ การถายพยาธิ การบํารุงพอ – แมพันธุใหสมบูรณ ซึ่งเปนแนวทางที่บรรลุผลสําเร็จ คุมกับการรอคอยผลิตผลแตละป ซึ่งมีเพียงฤดูการวางไข ปละครั้งเทานั้น

เมื่อพอ – แมพันธุผสมพันธุเรียบรอยแลว ก็เขาสูฤดูการวางไข แมนกเตรียมตัวหาที่วางไขและเมื่อไดที่วางไขที่สมบูรณ แมนกคิดวาปลอดภัยที่สุดก็เริ่มวางไข ประมาณปลายเดือนกุมภาพันธ 2544 และหยุดไขเมื่อกลางเดือนเมษายน 2544 เมื่อหยุดไขแมนกยูงทําหนาที่เปนผูฟกไขตอไป หลังจากหยุดไขใชเวลาในการฟกไขนาน 26 – 28 วัน หลังจากนั้นนับตอไปอีก 2 – 3 วัน ลูกนกยูงก็เริ่มแตกออกมาจากไข

การเลี้ยงดูลูกนกในระยะแรกเกิดลูกนกยูงที่ออกจากไข จําเปนตองใหความอบอุนอีกประมาณ 2 -3 สัปดาห โดยยังไมแยกพอ –

แมพันธุออก ใหแมนกเปนผูกกลูกนกเอง อายุ 1 - 7 วันแรก ใหอุณหภูมิในตูฟก 100 องศาฟาเรนไฮดเมื่อลูกนกสามารถปรับตัวใหเขากับอุณหภูมิภายนอกได เราก็ดําเนินการแยกลูกนกออกจากแมนก โดยนําลูกนกไปอยูที่กรงกก ซึ่งตาขาย ขนาดกวาง 80 เซนติเมตร ยาว 120 เซนติเมตร สูง 80 เซนติเมตร ขากรงยกใหสูงจากพื้นประมาณ 50 เซนติเมตร สามารถกกลูกนกไดจํานวน 10 ตัว การใหความรอนแกลูกนกใชหลอดไฟฟาพนสีแดง ขนาด 60 วัตต การใหความรอนจากสีแดง เพื่อปองกันการจิกกินของลูกนกสัปดาหแรกใหดวงไฟสูงจากพื้นกรงประมาณ 20 - 25 เซนติเมตร พื้นกรงปูดวยทรายหยาบ ใหความรอนไดประมาณ 100 ฟาเรนไฮด ทั้งนี้สามารถปรับความรอนไดโดยการปรับดวงไฟใหสูงหรือตํ่ากวานี้นอกจากนี้ยังสังเกตุจากพฤติกรรมของลูกนกที่อยูในกรงกก ถาลูกนกสุมกันใกลหลอดไฟแสดงวาความรอนไมเพียงพอตอจํานวนลูกนก ก็ลดระยะหลอดไฟใหตํ่าลงใกลตัวลูกนก ถาลูกนกนอนอยูตามมุมกรง หรือหนีหางจากหลอดไฟแสดงวาอากาศรอนเกินไปก็ใหปรับระยะหลอดไฟขึ้น เมื่อกกลูกนกไดประมาณ 3 สัปดาหใหทดลองปดไฟ ถาปรากฏวาลูกนกไมนอนสุมกัน แสดงวาลูกนกทั้งหมดสามารถปรับตัวเขากับสภาพอากาศภายนอกได จึงเลิกกกดวยดวงไฟ ขอควรระวังสภาพของโรงเรือนที่กกลูกนกระยะแรกเกิดนี้ควรเปนหองที่ลมไมโกรกหรือฝนสาดได แตอากาศถายเทสะดวก สวนพื้นกรงกกนอกจากใชทรายหยาบอาจใชกระดาษหรือกระสอบรองพื้นหรือใหดูดซับความชื้นจากมูลสัตวและเปนการชวยปองกันการลื่น ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหขาของลูกนกพิการได ขอปฏิบัติที่ดีที่สุด ควรเปลี่ยนวัสดุรองพื้นกรงทุกวัน เพื่อปองกัน

Page 14: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

โรคติดตอและปราศจากมด แมลงรบกวนลูกนก นอกจากนี้วางถาดอาหารของนกระยะแรกเกิดซึ่งมีปริมาณโปรตีนประมาณไมนอยกวา 19% และใหน้ําผสมวิตามินรวมและแรธาตุที่เพียงพอตลอดเวลา

โดยธรรมชาติแลวลูกนกที่เกิดมา พบวาสามารถดื่มน้ําและกินอาหารไดทันที แตในสรีรวิทยาลูกนกยังมีอาหารสํารองอยูในตัว ซึ่งสามารถสํารองได 2 – 5 วัน หลังจากนั้นไดรับอาหารจากภายนอกแตในทางปฏิบัติที่สถานีวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวปาเพื่อการอนุรักษปางตอง จังหวัดแมฮองสอน ใหอาหารวันแรกที่กกลูกนก เพื่อใหลูกนกปรับตัวเขากับสิ่งของที่มีอยูในกรงกก การเอาใจใสดูแลลูกนกในระยะกกในสัปดาหแรกมีความจําเปนมาก คือ ตองเฝาสังเกตและเอาใจใส เนื่องจากเปนระยะที่พบการตายของลูกนกคอนขางสูง และลูกนกออนแอมาก ถาพบวาระยะ 2 - 3 วันแรก ลูกนกตัวไหนไมรูจักจิกกินอาหาร ใหจับฝกโดยใชงอยปากเขาสัมผัสกับน้ํากอน แลวไปสัมผัสกับอาหารในที่สุดลูกนกชินกับน้ําและอาหารเอง และหากินไดเองตามธรรมชาติ ลูกนกยูงสวนมากที่ออกมาจากไข และสามารถผานพนระยะกกแลวมีลักษณะแข็งแรงแตถาเลี้ยงในบริเวณพื้นที่มีไกบานหรือสัตวปกชนิดอื่น ควรใหวัคซีนแกลูกนกในระยะ 1 – 7 วันแรกของการกกเพื่อปองกันโรคนิวคาสเซิล (NEW CASTLE) โดยวิธีหยอดเขาจมูกหรือหยอดตา

น้ํา สําหรับลูกนกควรใหยาปฏิชีวนะและวิตามินรวมละลายน้ํา เพื่อชวยเพิ่มการปองกันโรคและเปนวิธีการกระตุนการเจริญเติบโต ภาชนะใสน้ําควรมีขนาดชองใหดื่มน้ําไมกวางนัก ในการศึกษาใชขวดน้ําพลาสติกใสน้ําได ½ ลิตร ซึ่งเปนภาชนะที่สามารถปองกันไมใหลูกนกเขาไปเลนน้ําได ขอควรระวังที่สําคัญคือน้ําที่ใหควรเปนน้ําสะอาด

อาหาร อาหารที่ใหควรเปนอาหารขนาดเล็กเม็ดไมโตนัก และไมแข็งเกินไป พรอมกับใหอาหารเสริม เชนตัวหนอน แมลงตัวออนขนาดเล็กๆ ชวยเพิ่มความแข็งแรงใหลูกนกไดเปนอยางดี

สูตรอาหารสําหรับลูกนกระยะแรกเกิด - 5 สัปดาหสูตรอาหาร

โปรตีนไมนอยกวา 19%กากไมนอยกวา 5%ไขมันไมนอยกวา 3%ความชื้นไมนอยกวา 13%

สวนผสม- ปลาปน - ไขมันสัตว- กากถั่วเหลือง - น้ํามันพืช- กากถั่วลิสง - กากน้ําตาล- กากเมล็ดทานตะวัน - ใบกระถินปน- กากมะพราว - กากเบียรไดแคลเซี่ยมเฟอรเฟต- ขาวโพดปนละเอียด - วิตามิน- ขาวฟาง - กรดอะมิโน- ปลายขาว - สารถนอมคุณภาพอาหารสัตว

Page 15: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

- มันเสน - ยาปฏิชีวนะ- รําสกัดน้ํามัน - แรธาตุ- รําละเอียด

วิตามินละลายน้ําสําหรับลูกนกแรกเกิด - 4 สัปดาห

สวนประกอบ ในสารละลาย 500 มิลลิลิตร1. ไวตามินเอ 5,000,000 ยูนิต2. ไวตามิน – ดี 3 1,000,000 ยูนิต3. ไวตามินดี 1,000 มิลลิกรัม4. ไวตามินซี 1,000 มิลลิกรัม5. ไวตามิน บี 2 2,000 มิลลิกรัม6. ไวตามิน บี 6 250 มิลลิกรัม7. ไวตามิน บี 12 10 มิลลิกรัม8. แพนโนทาเนต 1,200 มิลลิกรัม

หมายเหตุ ใชอัตราสวนผสมวิตามินขางตน 1 ซี.ซี. ตอน้ําสะอาด 1 ลิตร สําหรับลูก นกจํานวน 10 ตัว ควรใหวันตอวัน และลางภาชนะทําความสะอาดใหติดตอ

กันในระยะกกลูกนก เพื่อปองกันลูกนกเครียด จิกกัน และเรงอัตราการเจริญเติบโตไดดี

พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสี และการจับคูของนกยูง นกยูงเพศผูเขาไปเกี้ยวพาราสีตัวเมีย ดวยการ

ยกแพนขนหางขึ้น (รําแพน) พรอมกับสั่นกานขนใหเกิดเสียงและย่ําเทาอยูกับที่ และสงเสียงเพื่อเรียกความสนใจจากเพศเมีย เมื่อตัวเมียสนใจ เพศผูก็ไมบินหนี และตัวเมียก็จิกที่ขนของตัวผู หลังจากนั้นก็ผสมพันธุทันที ในชวงระยะการผสมพันธุประมาณ 30 วัน สามารถผสมพันธุไดวันละ 3 – 4 ครั้ง หรือบางวันก็ไมมีการผสมพันธุ ชวงเวลาในการผสมพันธุนั้นเปนในชวงเวลา 09.00 น. - 11.30 น. และชวงบาย 14.30 น. – 15.00 น. การผสมพันธุแตละครั้งใชเวลา 2 – 5 นาที สําหรับการวางไขนั้น นกยูงวางไขประมาณ 10 – 12 ฟอง ตอคอก แตละฟองมีระยะเวลาการวางไขหางกัน 2 – 9 วัน และไมพบการนําวัสดุใดมาวางในรังเทียม หลังจากแมนกหยุดวางไขก็ทําการฟกไขทันที โดยแมนกนั่งหมอบทับไขใหเกิดความอบอุนเกิดขึ้นภายในโดยไมลุกเดินไปไหน และในระหวางการฟกไขหรือไมก็ออกมาทํากิจกรรมนอกรังเทียมเปนเพียงระยะสั้นๆ เทานั้น ในระหวางการฟกพอนกยูงนําอาหารมาปอนใหกับแมนกยูง รวมถึงเฝาระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได แมนกใชเวลาในการฟกไข นาน 26 – 28 วัน หากมีไขฟองใดที่แมนกฟกแลวไมออกเปนตัวฟกตอไปจนครบ 30 วัน แมนกฟกตอไปอีก 7 – 8 วัน ถายังไมออกแมนกเลิกสนใจไขฟองนั้น

Page 16: ⌦ ⌫ ⌫ pdf... · 2014-06-25 · “รําแพน” (ภาพที่ 4) กางป กทั้งสองข างออกพย ุงลําตัว ย่ําเท

1. ในระหวางการฟกไข ควรนําไขออกมาตรวจดูวามีเชื้อหรือไม ถาไมมีควรคัดออกเลย เพราะ

ชวยใหไขที่เหลือไดรับความอบอุนที่เพียงพอ และทําใหลูกนกแรกเกิดมีน้ําหนักตัวสูงตามไปดวย ซึ่งมีผลโดยตรงตอลูกนกแรกเกิด ทําใหลูกนกมีความแข็งแรง อัตราการอยูรอดสูง การเจริญเติบโตรวดเร็วและแสดงถึงความสมบูรณของพอ – แมพันธุ ซึ่งเปนขอมูลอีกทางหนึ่งที่นําไปปรับปรุง พอ – แมพันธุในโอกาสตอไป 2. การเลี้ยงดูลูกนกระยะแรกเกิดจนมีอายุไดประมาณ 4 สัปดาห สิ่งที่ควรระมัดระวัง คือ

2.1 อุณหภูมิที่ใชในการกกลูกนกในระยะแรกเกิด จนมีอายุไดประมาณ 4 สัปดาห เริ่มจาก 100 องศาฟาเรนไฮด แลวคอยๆ ลดลงที่สัปดาหละ 5 องศา จนอุณหภูมิเทาภายในตัวโรงเรือน

2.2 สภาพของโรงเรือนที่กกลูกนกในระยะแรกเกิด ควรเปนหองที่ไมมีลมโกรก มีอากาศถายเทไดสะดวก ใชวัสดุที่เหมาะสม เชน ทรายหยาบรองพื้นกรงเลี้ยงลูกนก เพื่อซับความชื้น

2.3 การใหวัคซีน 1 – 7 วันแรกของการกกลูกนก เพื่อปองกันโรคนิวคาสเซิล และใหยาปฏิชีวนะ และวิตามินโดยละลายในน้ําสะอาดใหไปดวย เพื่อกระตุนการเจริญเติบโต

2.4 อาหาร อาหารสําหรับลูกนกแรกเกิด ควรเปนอาหารเม็ดเล็กๆ ไมแข็งจนเกินไปพรอมกับใหอาหารเสริมอยางอื่น เชน ตัวหนอน และแมลงตัวออนขนาดเล็กๆ เปนตน

โอภาส ขอบเขตต. 2541. นกในเมืองไทย เลม 1. สารคดี, กรุงเทพฯ.ณรงค จันทรสุคนธ . 2534 : ไกฟา. สมาคมอนุรักษไกฟาแหงชาติ , กรุงเทพฯ.


Recommended