+ All Categories
Home > Documents > EMERGENCY RESPONSE GUIDEBOOK คู มือ การระงับอุบัติภัย...

EMERGENCY RESPONSE GUIDEBOOK คู มือ การระงับอุบัติภัย...

Date post: 31-Jul-2020
Category:
Upload: others
View: 1 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
409
EMERGENCY RESPONSE GUIDEBOOK 2016 การระงับอุบัติภัยเบื้องตน จากวัตถุอันตราย สวนปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟู สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ คูมือ
Transcript
  • EMERGENCYRESPONSEGUIDEBOOK 2016

    การระงับอุบัติภัยเบื้องตนจากวัตถุอันตราย

    สวนปฏิบัติการฉุกเฉินและฟนฟูสำนักจัดการกากของเสียและสารอันตรายกรมควบคุมมลพิษ

    คูมือ

  • 1

    ค�ำน�ำ

    ประเทศไทยมกีารใช้วตัถอุนัตรายทัง้ภาคอตุสาหกรรมและเกษตรกรรมเนือ่งจากความก้าวหน้า

    ทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่เกิดอุบัติภัยจากวัตถุอันตราย

    ซึ่งแต่ละครั้งไม่ว่าจะเป็นการหกรั่วไหลการเกิดเพลิงไหม้และการระเบิดสามารถสร้าง

    ความสญูเสยีต่อชวีติทรพัย์สนิและส่งผลกระทบต่อสิง่แวดล้อมหากไม่มกีารจดัการทีเ่หมาะสม

    ตามหลักวิชาการดังนั้นจึงจ�าเป็นอย่างยิ่งในการเตรียมพร้อมข้อมูลที่จ�าเป็นส�าหรับการตอบโต ้

    ในภาวะฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติภัยจากวัตถุอันตราย

    กรมควบคุมมลพิษในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุนการด�าเนินการแก้ไขอุบัติภัยท่ีมี

    สาเหตุจากวัตถุอันตรายจงึได้สบืค้นข้อมลูจากต่างประเทศได้แก่2016EmergencyResponse

    Guidebookและการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินจาก

    วัตถอุนัตรายในประเทศไทยเพ่ือเรยีบเรยีงเป็นคูม่อื“การระงับอบุตัภิยัเบือ้งต้นจากวตัถอุนัตราย”

    โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนในการตัดสินใจตอบโต้เหตุ ส�าหรับเจ้าหน้าที ่

    หน่วยดบัเพลิงและเจ้าหน้าทีท่ีเ่กีย่วข้องเมือ่เข้าด�าเนนิการตอบโต้เหตเุป็นหน่วยแรก(FirstResponder)

    คู่มือฯประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ ที่จ�าเป็นที่เกี่ยวข้องอาทิอนัตรายทีอ่าจเกดิขึน้กรณรีบัสมัผสั

    ทางเคมีหรือวัตถุอันตรายการอพยพประชาชนการดับเพลิงการระงับการรั่วไหลและ

    การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บ

    กรมควบคมุมลพษิหวงัเป็นอย่างยิง่ว่าหนงัสอืคูม่อืฯเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการด�าเนนิการ

    ของเจ้าหน้าที่เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการระงับภัย ป้องกันและบรรเทาความเสียหาย

    ต่อเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประชาชนและสิ่งแวดล้อม

    นางสุณีปิยะพันธุ์พงศ์

    อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ

  • 2

    เอกสำรก�ำกับกำรขนส่งเอกสารก�ากบัการขนส่งสารเคม/ีวตัถอัุนตรายมลัีกษณะคล้ายกันและสามารถพบได้ดังต่อไปนี:้

    • ขนส่งบนถนน-เก็บไว้ในช่องเก็บเอกสาร

    • รถไฟ-เก็บไว้ในความครอบครองของพนักงานที่ได้รับมอบหมาย

    • การบิน-เก็บไว้ในความครอบครองของนักบิน

    • ทางทะเล-เก็บไว้ในความครอบครองของพนกังานทีไ่ด้รบัมอบหมายในห้องควบคมุเรอื

    เอกสารก�ากับการขนส่งฯมีข้อมูลที่จ�าเป็นส�าหรับการตอบโต้เหตุฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติภัย

    จากสารเคมี/อันตรายประกอบด้วย

    • เลขรหัสสหประชาชาติ4หลัก(หน้าแถบสีเหลืองของคู่มือ)

    • ชื่อที่ใช้ในการขนส่ง(หน้าแถบสีฟ้าของคู่มือ)

    • ประเภทหรือหมวดความเสี่ยงอันตรายของวัตถุอันตราย

    • ประเภทการบรรจุหีบห่อ

    • หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

    • ข้อมูลทีอ่ธิบายถงึอนัตรายของวตัถอุนัตราย(รายละเอยีดอยู่ในเอกสารหรอืแนบท้าย)

    เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน1-000-000-0000

    UN1219ไอโซโพรพานอล3Ⅱ12,000ลิตร

    ตัวอย่างป้ายสัญลักษณ์และเลขรหัสสหประชาชาติ4หลัก

    เลขรหัสสหประชาชาติ4หลักอาจจะปรากฏบนป้ายสัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดหรืออยู่บนแถบสีส้ม

    ข้างป้าย

    ตัวอย่างของเบอร์ฉุกเฉิน

    ประเภทหรือหมวด

    IDNUMBER ชื่อในการขนส่ง

    แผ่นป้ำยที่มีUN Number

    แผ่นป้ำยที่มีUN Numberในแถบสีส้ม

    SHIPPING DOCUMENTS (PAPERS)Shipping Documents (Papers) are synonymous and can be found as follows:

    • Road – kept in the cab of a motor vehicle• Rail – kept in possession of a crew member• Aviation – kept in possession of the aircraft pilot• Marine – kept in a holder on the bridge of a vessel

    Shipping Documents (Papers) provide vital information regarding the hazardous materials/dangerous goods to initiate protective actions*

    Information provided:• 4-Digit Number, UN or NA (go to Yellow Pages) **• Proper Shipping name (go to Blue Pages) • Hazard Class or Division number of material• Packing Group• Emergency Response Telephone Number• Information describing the hazards of the material (entered on or attached to

    shipping document)

    EXAMPLE OF PLACARD AND PANEL WITH ID NUMBERThe 4-digit ID Number may be shown on the diamond-shaped placard or on an adjacent orange panel displayed on the ends and sides of a cargo tank, vehicle or rail car.

    * For the purposes of this guidebook, the terms hazardous materials/dangerous goods are synonymous.** After January 1, 2013 in the United States, the number must appear in the basic description. For example, “UN2744, Cyclobutyl chloroformate, 6.1, (3, 8), PG II”. This is currently optional in Canada.

    A Numbered Placard OR

    A Placardand an

    Orange Panel

    EMERGENCY CONTACT1-000-000-0000

    NO. & TYPEOF PACKAGES

    1 TANKTRUCK UN1219 ISOPROPANOL 12 000 LITERS

    QUANTITY

    3 II

    HAZARD CLASSOR DIVISION NO.

    EXAMPLE OF EMERGENCYCONTACT TELEPHONE NUMBER

    ID NUMBER SHIPPING NAME PACKING GROUP

    SHIPPING DOCUMENTS (PAPERS)Shipping Documents (Papers) are synonymous and can be found as follows:

    • Road – kept in the cab of a motor vehicle• Rail – kept in possession of a crew member• Aviation – kept in possession of the aircraft pilot• Marine – kept in a holder on the bridge of a vessel

    Shipping Documents (Papers) provide vital information regarding the hazardous materials/dangerous goods to initiate protective actions*

    Information provided:• 4-Digit Number, UN or NA (go to Yellow Pages) **• Proper Shipping name (go to Blue Pages) • Hazard Class or Division number of material• Packing Group• Emergency Response Telephone Number• Information describing the hazards of the material (entered on or attached to

    shipping document)

    EXAMPLE OF PLACARD AND PANEL WITH ID NUMBERThe 4-digit ID Number may be shown on the diamond-shaped placard or on an adjacent orange panel displayed on the ends and sides of a cargo tank, vehicle or rail car.

    * For the purposes of this guidebook, the terms hazardous materials/dangerous goods are synonymous.** After January 1, 2013 in the United States, the number must appear in the basic description. For example, “UN2744, Cyclobutyl chloroformate, 6.1, (3, 8), PG II”. This is currently optional in Canada.

    A Numbered Placard OR

    A Placardand an

    Orange Panel

    EMERGENCY CONTACT1-000-000-0000

    NO. & TYPEOF PACKAGES

    1 TANKTRUCK UN1219 ISOPROPANOL 12 000 LITERS

    QUANTITY

    3 II

    HAZARD CLASSOR DIVISION NO.

    EXAMPLE OF EMERGENCYCONTACT TELEPHONE NUMBER

    ID NUMBER SHIPPING NAME PACKING GROUP

    SHIPPING DOCUMENTS (PAPERS)Shipping Documents (Papers) are synonymous and can be found as follows:

    • Road – kept in the cab of a motor vehicle• Rail – kept in possession of a crew member• Aviation – kept in possession of the aircraft pilot• Marine – kept in a holder on the bridge of a vessel

    Shipping Documents (Papers) provide vital information regarding the hazardous materials/dangerous goods to initiate protective actions*

    Information provided:• 4-Digit Number, UN or NA (go to Yellow Pages) **• Proper Shipping name (go to Blue Pages) • Hazard Class or Division number of material• Packing Group• Emergency Response Telephone Number• Information describing the hazards of the material (entered on or attached to

    shipping document)

    EXAMPLE OF PLACARD AND PANEL WITH ID NUMBERThe 4-digit ID Number may be shown on the diamond-shaped placard or on an adjacent orange panel displayed on the ends and sides of a cargo tank, vehicle or rail car.

    * For the purposes of this guidebook, the terms hazardous materials/dangerous goods are synonymous.** After January 1, 2013 in the United States, the number must appear in the basic description. For example, “UN2744, Cyclobutyl chloroformate, 6.1, (3, 8), PG II”. This is currently optional in Canada.

    A Numbered Placard OR

    A Placardand an

    Orange Panel

    EMERGENCY CONTACT1-000-000-0000

    NO. & TYPEOF PACKAGES

    1 TANKTRUCK UN1219 ISOPROPANOL 12 000 LITERS

    QUANTITY

    3 II

    HAZARD CLASSOR DIVISION NO.

    EXAMPLE OF EMERGENCYCONTACT TELEPHONE NUMBER

    ID NUMBER SHIPPING NAME PACKING GROUP

    ประเภทการบรรจุหีบห่อ

    ปริมาณ จ�านวนและชนิดของภาชนะบรรจุ

    1ถังรถบรรทุก

  • 3

    วิธีกำรใช้คู่มืออย่าผลีผลาม

    เข้าตอบโต้เหตุจากทิศทางเหนือลมที่สูงหรือเหนือน�า้จากจุดเกิดเหตุ

    อยู่ห่างจากจุดที่สารหกรั่วไหลกลุ่มควันฟูมและอันตรายที่อาจเกิดขึ้น

    ค�ำเตือน:ไม่สามารถใช้แผนภาพนี้ได้หากมีวัตถุอันตรายมากกว่า1ชนิดให้แจ้งหน่วยงานรับผิดชอบ

    ที่เหมาะสมตามหมายเลขโทรศัพท์ที่ปรากฏในปกหลังด้านในของคู่มือ

    พบเห็น

    ปายสัญลักษณการระเบิด หรือไม

    ทราบเลขรหัส

    สหประชาชาติ

    หรือไม

    คนหาเลขรหัส

    สหประชาชาติ

    ในหนาแถบสีเหลือง

    หากในหมวดคำแนะนำมีตัวอักษร “P”ตอทายแสดงวาวัตถุอันตรายนั้นอาจเกิดปฏิกิริยา

    โพลิเมอรไรเซชั่นอยางรุนแรง

    คนหาชื่อ

    วัตถุอันตราย

    ในหนาแถบสีฟา

    วัตถุอันตราย

    มีแถบแรงเงา

    สีเขียวหรือไม

    ทราบชื่อ

    วัตถุอันตราย

    หรือไม

    พบเห็น

    ปายสัญลักษณ

    หรือไม

    ดูที่หนา12-13

    ระบุหมายเลขหมวดคำแนะนำ

    เกิดเพลิงไหมวัตถุอันตรายหรือไม

    ใชหมวดคำแนะนำ(ในหนาแถบสีสม) ที่เหมาะสม

    หากสารถูกระบุ “เมื่อสัมผัสกับน้ำ” ให

    คนหาขอมูลกาซที่เกิดขึ้นจากตารางที่ 2 และหามใชน้ำดับเพลิง

    กอนเกิดเหตุฉุกเฉิน ศึกษาการใชคูมือเลมนี้ใหคลอง !เจาหนาที่หนวยตอบโตเหตุฉุกเฉินตองอบรมการใชคูมือนี้

    ใชหมวดคำแนะนำ(ในหนาแถบสีสม) ที่เหมาะสม สำหรับระยะ

    การอพยพ และ

    ใชตารางที่ 1 สำหรับระยะกั้นเขตเบื้องตนและ

    ระยะปองกันสาธารณชน และ

    ปกปองประชาชนที่อยูทายลมจากวัตถุอันตรายที่เหลือจากเพลิงไหม

    ตามระยะในตารางที่ 1

    คนหาขอมูลในหมวดคำแนะนำ(ในหนาแถบสีสม)ที่เหมาะสม

    ทบทวนอีกครั้งดวยชื่อวัตถุอันตราย หรือเลขรหัสสหประชาชาติ

    ดูที่หนา 14-17

    พบเห็นรถขนสง

    หรือรถไฟขนสง

    หรือไม

    ใชหมวด

    คำแนะนำ

    111

    สำหรับหมวด 1.1, 1.2, 1.3 หรือ 1.5 ใชหมวดคำแนะนำ 112สำหรับหมวด 1.4 หรือ 1.6 ใชหมวดคำแนะนำ 114

    ใช

    ใช

    ใช ใช

    ใช

    ใช

    ใช ใช

    ไมใช

    ไมใช ไมใช

    ไมใช

    ไมใช

    ไมใช ไมใช

  • 4

    หมายเลขโทรศัพทฉุกเฉินในพื้นที่โปรดกรอกขอมูลหมายเลขโทรศัพทฉุกเฉินสำหรับการชวยเหลือในพื้นที่

    บริษัทดานการจัดการเหตุฉุกเฉินวัตถุอันตราย

    หนวยงานภาครัฐ สวนกลาง สวนภูมิภาค และทองถิ่น

    บริษัทขนสงทางรถไฟ

    อื่นๆ

  • 5

    สำรบัญเอกสารก�ากับการขนส่งวิธีการใช้คู่มือหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินในพื้นที่ข้อควรระวังด้านความปลอดภัยการแจ้งและขอรายละเอียดข้อมูลทางเทคนิคระบบการจ�าแนกประเภทความเป็นอันตรายข้อแนะน�าเกี่ยวกับตารางแสดงป้ายสัญลักษณ์และเครื่องหมายตารางแสดงป้ายสญัลักษณ์/เคร่ืองหมายและหมวดค�าแนะน�าท่ีใช้ตอบโต้เหตเุบือ้งต้นณจุดเกิดเหตุการบ่งชี้วัตถุอันตรายจากลักษณะภาชนะบรรจุของรถไฟขนส่งการบ่งชี้วัตถุอันตรายจากลักษณะของรถขนส่งระบบการจ�าแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก(GHS)รหสับ่งชีค้วามเป็นอันตรายทีแ่สดงบนภาชนะบรรจทุีใ่ช้ขนส่งวัตถอุนัตรายหลายรปูแบบ เช่นทางรถทางรถไฟทางเรือ(IntermodalContainers)การขนส่งทางระบบท่อดัชนีเลขสหประชาชาติดัชนีชื่อวัตถุอันตรายหมวดค�าแนะน�าค�าแนะน�าส�าหรับการใช้ตารางแสดงระยะกั้นเขตเบื้องต้นและระยะปกป้องสาธารณชนปัจจัยประกอบการพิจารณาตัดสินใจปกป้องสาธารณชนมาตรการปกป้องสาธารณชนที่มาของตารางที่1ระยะกั้นเขตเบื้องต้นและระยะปกป้องสาธารณชนตารางที่1–ก�าหนดระยะกั้นเขตเบื้องต้นและระยะปกป้องสาธารณชนตารางที่2–วัตถุอันตรายที่ท�าปฏิกิริยากับน�้าและให้ก๊าซพิษตารางที่3–ระยะกั้นเขตเบื้องต้นและระยะปกป้องสาธารณชนส�าหรับการรั่วไหลของก๊าซพิษร้ายแรงทางการหายใจในปริมาณมากจ�านวน6ชนิด

    234789

    1112

    14161820

    2937103169298

    301302304306346354

  • 6

    การใช้คู่มือการระงับอุบัติภัยจากวัตถุอันตราย2016เนื้อหาของคู่มือ สารเคมี/วัตถุอันตรายที่เป็นพิษร้ายแรงทางการหายใจ(TIHหรือPIH)ระยะกั้นเขตเบื้องต้นและระยะอพยพชุดป้องกันสารเคมีการควบคุมเพลิงไหม้และสารเคมีรั่วไหลBLEVE–ข้อควรระวังความปลอดภัยการใช้สารเคมีสารชวีภาพวตัถกุมัมนัตรงัสใีนทางอาชญากรรม/ก่อการร้ายระยะห่างที่ปลอดภัยจากระเบิดแสวงเครื่อง(IED)อภิธานศัพท์เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน

    359361364365368370373376383384407

  • 7

    ข้อควรระวังด้ำนควำมปลอดภัย

    อย่ำผลีผลำมเข้ำพื้นที่

    เข้ำพื้นที่อย่ำงระมัดระวังจำกทิศทำงเหนือลม ที่สูง หรือเหนือน�้ำ:

    • อยู่ห่างจากไอระเหยฟูมควันและสารที่นองพื้น

    • จอดรถไว้ระยะห่างที่ปลอดภัยจากจุดเกิดเหตุ

    รักษำควำมปลอดภัย ณ จุดเกิดเหตุ:

    • กั้นแยกพื้นที่อันตรายป้องกันตัวเองและคนอื่น

    บ่งชี้ควำมเป็นอันตรำยโดยใช้ข้อมูลจำกแหล่งข้อมูลเหลำ่นี้:

    • ป้ายสัญลักษณ์

    • ฉลากบนภาชนะ

    • เอกสารก�ากับการขนส่ง

    • ลักษณะรถบรรทุกหรือรถไฟขนส่ง

    • เอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี(MSDS)

    • สอบถามผู้อยู่ในเหตุการณ์

    • ศึกษาข้อมูลในหมวดค�าแนะน�า

    ประเมินสถำนกำรณ์:

    • มีไฟไหม้หกนองพื้นหรือการรั่วไหลหรือไม่

    • สภาพอากาศเป็นอย่างไร

    • ภูมิประเทศเป็นอย่างไร

    • ใคร/อะไรที่ตกอยู่ในความเสี่ยง:ประชาชนทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม

    • สิ่งที่กระท�าจะต้องด�าเนินการ–การอพยพหลบภัยในอาคารหรือสร้างคันกั้น

    • ทรัพยากร(คน/อุปกรณ์)ที่จ�าเป็น

    • สิ่งที่สามารถท�าได้ทันที

    กำรขอรับควำมช่วยเหลือ:

    • ขอค�าแนะน�าจากหน่วยต้นสังกัดว่าหน่วยงานใดที่รับผิดชอบและโทรศัพท์ขอความช่วยเหลือจาก

    บุคลากรที่มีเหมาะสม

    กำรตอบโต้เหตุ:

    • เข้าพื้นที่เกิดเหตุเมื่อสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสมแล้วเท่านั้น

    • การพยายามช่วยชวิีตและการปกป้องทรพัย์สนิต้องน�ามาชัง่น�า้หนกัในการจดัล�าดบัการแก้ปัญหา

    • จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์และระบบการสื่อสาร

  • 8

    • ประเมินสถานการณ์อย่างต่อเนื่องและปรับวิธีการตอบโต้เหตุตามผลการประเมิน

    • พิจารณาความปลอดภัยของประชาชนในบริเวณจุดเกิดเหตุเป็นอันดับแรกและตัวเจ้าหน้าที่เอง

    เหนืออื่นใด: อย่าคาดเดาว่าก๊าซหรือไอระเหยสารเคมีที่ไร้กลิ่นจะไม่มีอันตราย- ก๊าซหรือไอระเหยสารเคมีที่

    ไร้กลิ่นอาจมีอันตราย ปฏิบัติตามค�าเตือนเมื่อต้องถ่ายเทถังบรรจุสารเปล่า เพราะถังบรรจุอาจมีความเสี่ยง

    อันตรายอยู่จนกว่าจะถูกล้างท�าความสะอาดหรือเป่าไล่ก๊าซตกค้างด้วยก๊าซเฉื่อย(Purge)

    กำรแจ้งและขอรำยละเอียดข้อมูลทำงเทคนิค

    ปฏบิตัติามขัน้ตอนมาตรฐานการปฏบิตังิานของหน่วยงานของท่าน และ/หรอืแผนการตอบโต้เหตุของหน่วยงาน

    ท้องถิ่นเพือ่ขอรบัความช่วยเหลอื โดยทัว่ไปล�าดบัการแจ้งเหตแุละรายละเอยีดข้อมลูทางเทคนคิท่ีนอกเหนือจาก

    ที่มีให้ในคู่มือนี้ควรด�าเนินการตามขั้นตอนดังนี้:

    1. กำรแจ้งหน่วยงำนต้นสังกัด

    • ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้รับซึ่งจะเป็นตัวก�าหนดล�าดับเหตุการณ์การแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้น

    • การด�าเนินการอาจเริ่มจากการส่งบุคลากรที่ผ่านการฝึกไปเพิ่มณจุดเกิดเหตุเพื่อเริ่ม

    ปฏิบัติการตามแผนตอบโต้เหตุของหน่วยงานท้องถิ่น

    • ต้องแน่ใจว่าได้แจ้งหน่วยดับเพลิงและสถานีต�ารวจในพื้นที่ทราบเหตุด้วย

    2. โทรแจ้งตำมหมำยเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินที่ปรำกฏในเอกสำรก�ำกับกำรขนส่ง

    • หากหาเอกสารก�ากับการขนส่งไม่ได้ให้ปฏิบัติตามค�าแนะน�าตามหมวด

    กำรขอควำมช่วยเหลือจำกส่วนกลำง

    3. กำรขอควำมช่วยเหลือจำกส่วนกลำง

    • ติดต่อหน่วยงานตอบโต้เหตุฉุกเฉินที่เหมาะสมที่ปรากฏในปกหลังด้านในของคู่มือ

    • ให้ข้อมูลมากที่สุดเท่าที่มีเกี่ยวกับวัตถุอันตรายและลักษณะเหตุการณ์

    • หน่วยงานจะให้ค�าแนะน�าเร่งด่วนในการจัดการเหตุการณ์ในระยะเริ่มต้น

    • หน่วยงานจะติดต่อผู้ขนส่งหรือผู้ผลิตสารดังกล่าวเพื่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมหากจ�าเป็น

    • หน่วยงานอาจขอความช่วยเหลือณจุดเกิดเหตุเมื่อจ�าเป็น

    4. ให้ข้อมูลเหล่ำนี้เท่ำที่จะท�ำได้:

    • ชื่อผู้แจ้งหมายเลขโทรศัพท์เพื่อโทรกลับหมายเลขโทรสาร

    • สถานที่และลักษณะปัญหา(หกรดเพลิงไหม้เป็นต้น)

    • ชื่อและเลขรหัสสหประชาชาติของวัตถุอันตรายที่เกี่ยวข้อง

    • ผู้ขนส่ง/ผู้รับ/จุดที่เริ่มขนส่ง

    • ชื่อผู้ขนส่งเลขทะเบียนรถบรรทุกหรือรถไฟขนส่ง

  • 9

    • ชนิดและขนาดภาชนะบรรจุ

    • ปริมาณการขนส่ง/รั่วไหล

    • สภาพพื้นที่(ภูมิอากาศภูมิประเทศ)

    • ระยะห่างจากโรงเรียนโรงพยาบาลเส้นทางน�า้ฯลฯ

    • ผู้บาดเจ็บและผู้รับสัมผัสสาร

    • หน่วยงานฉุกเฉินของท้องถิ่นที่ได้แจ้งเหตุแล้ว

    ระบบกำรจ�ำแนกประเภทควำมเป็นอันตรำย

    ประเภทความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายจะถูกก�าหนดด้วยหมายเลขประเภท(หรือหมวด)หรือชื่อสาร

    ป้ายสัญลกัษณ์อนัตรายใช้เพือ่จ�าแนกประเภทหรอืหมวดของวตัถุหมายเลขประเภทหรอืหมวดความเป็นอันตราย

    จะปรากฏที่มุมด้านล่างของป้ายสัญลักษณ์และบังคับให้ต้องมีไว้ทั้งประเภทและหมวดความเป็นอันตรายหลัก

    และเสริม(หากมี)ยกเว้นป้ายแสดงความเป็นอันตรายประเภทที่7นั้น ไม่จ�าเป็นต้องมีข้อความแสดงความ

    เป็นอันตราย(เช่น“CORROSIVE”)ข้อความจะแสดงเฉพาะในสหรัฐอเมริกา

    หมายเลขประเภทหรือหมวดความเป็นอันตราย และหมายเลขประเภทหรือหมวดความเป็นอันตรายเสริม

    จะระบุอยู่ในวงเล็บ(ตามความเหมาะสม) ต้องปรากฏในเอกสารก�ากับการขนส่งต่อท้ายชื่อวัตถุอันตรายที่ใช้

    ในการขนส่ง

    ประเภท (Class) 1 – วัตถุระเบิด

    หมวด(Division)1.1ระเบิดท�าลายล้างสูง

    หมวด(Division)1.2ระเบิดและมีสะเก็ดระเบิดแต่ไม่ได้มีการท�าลายล้างสูง

    หมวด(Division)1.3ระเบิดและมีเพลิงไหม้พร้อมทั้งมีแรงอัดอากาศเล็กน้อยหรือมีสะเก็ดระเบิดบ้าง

    หรือทั้ง2อย่างแต่ไม่ได้มีการท�าลายล้างสูง

    หมวด(Division)1.4ระเบิดได้แต่ไม่รุนแรง

    หมวด(Division)1.5วัตถุที่ไม่ไวต่อการระเบิดแต่หากเกิดการระเบิดจะมีการท�าลายล้างสูง

    หมวด(Division)1.6เฉื่อยต่อการระเบิดและไม่ได้มีการท�าลายล้างสูง

    ประเภท (Class) 2 – กำ๊ซ

    หมวด(Division)2.1ก๊าซไวไฟ

    หมวด(Division)2.2ก๊าซไม่ไวไฟไม่เป็นพิษ

    หมวด(Division)2.3ก๊าซพิษ

    ประเภท (Class) 3 – ของเหลวไวไฟ (รวมถึงของเหลวติดไฟได้)

    ประเภท (Class) 4 – ของแข็งไวไฟ วัตถุที่ลุกติดไฟได้เอง และวัตถุที่สัมผัสกับน�้ำและปลดปล่อยกำ๊ซไวไฟ

    หมวด(Division)4.1ของแข็งไวไฟ

  • 10

    หมวด(Division)4.2วัตถุที่ลุกติดไฟได้เอง

    หมวด(Division)4.3วัตถุที่สัมผัสกับน�า้แล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ

    ประเภท (Class) 5 – สำรออกซิไดส์และสำรออแกนิคเปอร์ออกไซด์

    หมวด(Division)5.1สารออกซิไดส์

    หมวด(Division)5.2สารออแกนิคเปอร์ออกไซด์

    ประเภท (Class) 6 – สำรพิษและสำรติดเชื้อ

    หมวด(Division)6.1สารพิษ

    หมวด(Division)6.2สารติดเชื้อ

    ประเภท (Class) 7 – วัตถุกัมมันตรังสี

    ประเภท (Class) 8 – สำรกัดกร่อน

    ประเภท (Class) 9 – วัตถุอื่น ๆ ที่เป็นอันตรำย

  • 11

    ข้อแนะน�ำเกี่ยวกับตำรำงแสดงปำ้ยสัญลักษณ์และเครื่องหมำย

    ใช้ตารางแสดงป้ายสัญลักษณ์เมื่อไม่สามารถบ่งชี้เลขรหัสสหประชาชาติหรือชื่อวัตถุอันตรายที่ขนส่งได้

    ข้อมูลใน2หน้าถัดไปแสดงป้ายสัญลักษณ์ที่ใช้โดยพาหนะขนส่งวัตถุอันตรายพร้อมกับระบุหมวดค�าแนะน�า

    (Guide)อ้างอิง(ตัวเลขอยู่ในวงกลม)โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้:

    1.เข้าพื้นที่เกิดเหตุจากทิศทางเหนือลมที่สูงหรือเหนือน�า้จากจุดเกิดเหตุณระยะห่างที่ปลอดภัยเพื่อ

    บ่งชี้และ/หรืออ่านป้ายสัญลักษณ์และ/หรือแถบสีส้มใช้กล้องส่องทางไกล(ถ้ามี)

    2.เทียบป้ายสัญลักษณ์บนพาหนะขนส่งกับป้ายสัญลักษณ์ในหน้าถัดไป

    3. เปิดคู่มือตามหมายเลข หมวดค�าแนะน�า ในวงกลม ที่เกี่ยวข้องกับป้ายสัญลักษณ์ และใช้ข้อมูลจาก

    หมวดค�าแนะน�าไปก่อน

    ตัวอย่างเช่น:

    • ใช้หมวดค�าแนะน�า127ส�าหรับป้ายสัญลักษณ์ของเหลวไวไฟ(ประเภทที่3)

    • ใช้หมวดค�าแนะน�า153ส�าหรับป้ายสัญลักษณ์สารกัดกร่อน(ประเภทที่8)

    • ใช้หมวดค�าแนะน�า111เมื่อในป้ายสัญลักษณ์ระบุค�าว่าDANGER/DANGEROUSหรือยังไม่ทราบ

    ลักษณะของการหกรด รั่วไหล หรือเพลิงไหม้ที่ชัดเจน และใช้หมวดค�าแนะน�านี้ หากสงสัยว่าจะมีวัตถุ

    อันตรายเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์แต่ยังมองไม่เห็นป้ายสัญลักษณ์ หากมีป้ายสัญลักษณ์หลายแผ่นและระบุไว้

    หลายหมวดค�าแนะน�าให้เลือกปฏิบัติตามหมวดค�าแนะน�าที่จะเกิดความปลอดภัยมากที่สุด(เช่นหมวดค�า

    แนะน�าที่ต้องใช้ระดับการปกป้องสาธารณชนมากที่สุด)

    4.หมวดค�าแนะน�าต่างๆที่สัมพันธ์กับป้ายสัญลักษณ์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและ/หรือความเป็น

    อันตรายส�าคัญ

    5. หากข้อมูลจ�าเพาะ เช่น เลขรหัสสหประชาชาติ(IDnumber) หรือชื่อสารที่ขนส่ง สามารถสืบหาได้

    ต้องใช้ข้อมูลจากหมวดค�าแนะน�าที่จ�าเพาะกับวัตถุอันตรายนั้น

    6. เครื่องหมายดอกจันทร์ (*) บนป้ายสัญลักษณ์สีส้ม แสดงถึงวัตถุระเบิด “กลุ่มที่เข้ากันได้” ระบุตัว

    อักษร;อ้างอิงตามหมวดอภิธานศัพท์(หน้า376)

    7.เครื่องหมายดอกจันทร์คู่(**)บนป้ายสัญลักษณ์สีส้มแสดงถึงหมวด(Division)ของวัตถุระเบิด

    เครื่องหมายดอกจันทร์คู่ต้องแทนที่ด้วยหมายเลขหมวดที่เหมาะสม

    Page 5

    INTRODUCTION TO THE TABLE OF PLACARDS

    USE THE TABLE OF PLACARDS ONLY WHEN THE ID NUMBER OR PROPER SHIPPING NAME IS NOT AVAILABLE.

    The next two pages display the placards used on transport vehicles carrying dangerous goods with the applicable reference GUIDE circled. Follow these steps:

    1. Approach scene from upwind, uphill or upstream at a safe distance to safely identify and/or read the placard or orange panel. Use binoculars if available.

    2. Match the vehicle placard(s) with one of the placards displayed on the next two pages.

    3. Consult the circled guide number associated with the placard. Use that guide information for now. For example:

    • Use GUIDE for a FLAMMABLE (Class 3) placard

    • Use GUIDE for a CORROSIVE (Class 8) placard

    • Use GUIDE when the DANGER/DANGEROUS placard is displayed or the nature of the spilled, leaking or burning material is not known. Also use this GUIDE when the presence of dangerous goods is suspected but no placards can be seen.

    If multiple placards point to more than one guide, initially use the most conservative guide (i.e., the guide requiring the greatest degree of protective actions).

    4. Guides associated with the placards provide the most significant risk and/or hazard information.

    5. When specific information, such as ID number or proper shipping name, becomes available, the more specific Guide recommended for that material must be consulted.

    6. Asterisks (*) on orange placards represent explosives “Compatibility Group” letters; refer to the Glossary (page 375).

    7. Double asterisks (**) on orange placards represent the division of the explosive.

  • 12

    134 136 139

    143 148 153

    158

    153

    163 171

    111

    112

    114 118

    อากาศเ

    ทานั้น

    อื่นๆ ท

    ั้งหมด

    121

    123

    122

    127

    125 128

    สำหรับหมวด 1.1, 1.2,1.3 และ 1.5 สามารถใสหมายเลขหมวด(**) และตัวอักษรกลุมที่เขากันได (*)กำกับได

    สำหรับหมวด 1.4, 1.6 สามารถใสตัวอักษรกลุมที่เขากันได (*)กำกับได

    ตำรำงแสดงป้ำยสัญลักษณ์/เครื่องหมำยและใช้ตำรำงนี้ในเบื้องต้นเมื่อไม่สำมำรถบ่งชี้ชนิดของวัตถุอันตรำยได้เทำ่นั้น

  • 13

    134 136 139

    143 148 153

    158

    153

    163 171

    หมวดค�ำแนะน�ำที่ใช้ตอบโต้เหตุเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุให้ใช้จำกเอกสำรก�ำกับกำรขนส่ง ป้ำยแสดงเลขรหัส หรือเลขรหัสในแถบสีส้ม

  • 14

    117 Pressure tank car

    131 General service tank car (low pressure)

    128 Low pressure tank car ( TC117, DOT117)

    • •

    • •

    สำหรับขนสงกาซไวไฟ กาซไมไวไฟกาซพิษ และ/หรือ กาซอัดเหลว

    สำหรับขนสงของเหลวไวไฟเชน น้ำมันดิบปโตรเลียม และเอทานอล เปนตนฝาครอบวาลวแยกออกจากชองทางซอมบำรุง (Man way)

    สำหรับขนสงวัตถุอันตรายและไมอันตราย

    มีขอตอและวาลวบริเวณดานบนของถัง

    บางคันอาจมีวาลวทอออกบริเวณดานลาง

    แรงดันต่ำกวา 25 psi

    แรงดันต่ำกวา 25 psiมีวาลวทอออกบริเวณดานลาง

    มีฝาครอบวาลว ดานบน (Protecttive Housing)

    ไมมีอุปกรณตอทอดานลางแรงดันมากกวา 40 psi

    รูปจากบร�ษัท กร�นไบรเออร จำกัด

    กำรบ่งชี้วัตถุอันตรำยจำกลักษณะภำชนะบรรจุของรถไฟขนส่ง *

  • 15

    กำรบ่งชี้วัตถุอันตรำยจำกลักษณะภำชนะบรรจุของรถไฟขนส่ง

    •ส�าหรับขนส่งสินค้าในบรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่ (BulkPackages)หรือบรรจุภัณฑ์ขนาดเล็ก (Non-bulkpackages)•อาจใช้ขนส่งวัตถุอันตรายที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ขนาดเล็กหรือกล่อง(Tutebin)•มีประตูเลื่อนด้านเดียวหรือสองด้าน

    •ส�าหรับขนส่งสินค้าเทกองเช่นถ่านหินแร่ซีเมนต์ เป็นต้นรวมทัง้วตัถทุีเ่ป็นเมด็(Solidgranular)•ท�าการถ่ายสินค้าด้วยแรงโน้มถ่วงผ่านช่อง (hopper)ด้านล่าง

    ข้อควรระวัง ผู้ด�าเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะต้องทราบถึงชนิดของรถไฟขนส่งว่ามีการสร้าง อย่างไรใช้เพื่อจุดประสงค์อย่างไรรถขนส่งนี้อาจใช้ในการขนส่งของแข็งของเหลวหรือก๊าซ สินค้าที่บรรทุกอาจอยู่ภายใต้ความดัน จึงจ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบว่าสินค้าที่บรรทุกนั้น เป็นอะไร โดยสามารถดูได้จากเอกสารก�ากับการขนส่ง หรือแบบการด�าเนินการเมื่อเกิด เหตุฉุกเฉินหรือศูนย์ขนส่งก่อนที่เข้าไปด�าเนินการรายละเอียดต่างๆที่ติดอยู่ด้านข้างหรือด้าน ท้ายของรถขนส่งดังแสดงด้านบนอาจใช้ประโยชน์ในการจ�าแนกสินค้าได้เช่น ก.ชื่อสินค้าที่ปรากฏอยู่หรือ ข.รายละเอียดอื่นๆ ที่ปรากฏ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อความที่ปรากฏและหมายเลขรถ ซึ่งสามารถใช้สอบถามไปยังศูนย์ขนส่งเพื่อขอทราบถึงชนิดของสินค้าได้ * ควรใช้วิธีกำรดูลักษณะรถไฟขนส่งเป็นวิธีสุดท้ำย เมื่อไม่สำมำรถใช้วิธีอื่นได้

  • 16

    137 DOT412, TC412, SCT312, MC312, TC312

    117 Compressed Gas/Tube Trailer 111 Mixed Cargo

    134 Dry Bulk Cargo Trailer 117 Intermodal Tank

    137 Vacuum Tanker

    117 MC331, TC331, SCT331

    117 MC338, TC338, SCT338, TC341, CGA341

    131 DOT406, TC406, SCT306, MC306, TC306

    112 TC423

    137 DOT407, TC407, SCT307, MC307, TC307

    กำรบ่งชี้วัตถุอันตรำยจำกลักษณะของรถขนส่ง*

    • ส�าหรับก๊าซอัดเหลวเช่นLPGและแอมโมเนียเป็นต้น• ส่วนหัวของถังมีลักษณะโค้งมน• ความดันที่ออกแบบให้ทนได้อยู่ระหว่าง100-500psi**

    • ส�าหรับก๊าซอัดเหลวเย็นจัด(Refrigeratedliquefiedgasหรือcryogenicliquids)• ลักษณะคล้ายกระติกน�้าร้อนขนาดใหญ่“GiantThermobottle”• ช่องใส่ข้อต่อท่ออยู่ในตู้ด้านหลังของถัง• ความดันสูงสุดที่ถังสามารถทนได้(MAWP)อยู่ระหว่าง25-500psi**

    • ส�าหรบัขนส่งของเหลวไวไฟเช่นน�ามนัเบนซนิ และน�า้มนัดีเซลเป็นต้น• ภาพตัดขวางของถังมีลักษณะเป็นรูปวงรี• มีอุปกรณ์ป้องกันการพลิกคว�่าอยู่บริเวณด้านบน• มีวาล์วออกบริเวณด้านล่าง• ความดันสูงสุดที่ถังสามารถทนได้(MAWP)อยู่ระหว่าง3-15psi**

    • ส�าหรบัขนส่งวัตถรุะเบิดในรปูemulsionและwatergel • ลักษณะถังเป็นแบบกรวย(hopper)• มีอุปกรณ์ป้องกันการพลิกคว�า่อยู่บริเวณด้านบน• ความดันสูงสุดที่ถังสามารถทนได้(MAWP)อยู่ระหว่าง5-15psi**

    • ส�าหรบัขนส่งสารพิษสารกดักร่อนและของเหลวไวไฟ • ภาพตัดขวางของถังมีลักษณะเป็นวงกลม• อาจมีสายรัดเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของถัง(Externalring)• ความดันสูงสุดที่ถังสามารถทนได้(MAWP)อยู่ระหว่าง25psi**

    ค�ำเตือน : รถขนส่งวัตถุอันตรายอาจถูกห่อหุ้มท�าให้เมื่อพิจารณาภาพตัดขวางอาจดูแตกต่าง จากในรปูและมองไม่เหน็สายรัดส�าหรับเสริมสร้างความแข็งแรงของถงั(Externalring)หมำยเหต ุ:วาล์วฉุกเฉินจะอยูบ่ริเวณด้านหน้าของถงัใกล้ประตูคนขบั

  • 17

    137 DOT412, TC412, SCT312, MC312, TC312

    117 Compressed Gas/Tube Trailer 111 Mixed Cargo

    134 Dry Bulk Cargo Trailer 117 Intermodal Tank

    137 Vacuum Tanker

    กำรบ่งชี้วัตถุอันตรำยจำกลักษณะรถขนส่ง*

    • ส�าหรับขนส่งสารกัดกร่อน• ภาพตัดขวางของถังมีลักษณะเป็นวงกลม• มีสายรัดเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของถัง(Externalring)• เส้นผ่านศูนย์กลางของถังค่อนข้างเล็ก• ความดันสูงสุดที่ถังสามารถทนได้(MAWP)อย่างน้อย15psi**

    ข้อควรระวัง ภาพข้างบนนี้แสดงให้เห็นถึงรูปร่างทั่วๆไปของรถขนส่งวัตถุอันตรายเจ้าหน้าที่ ตอบโต้เหตุฉุกเฉินจะต้องทราบถึงชนิดของรถพ่วงอ่ืนที่มิได้แสดงไว้ข้างบนซึ่งใช้ในการขนส่ง วัตถอุนัตรายข้อปฏบิตัต่ิางๆทีใ่ห้ไว้สามารถใช้ได้กบัสนิค้าอนัตรายส่วนมากทีม่กีารขนส่งด้วยรถพ่วง * ควรใช้วิธีกำรดูลักษณะรถขนส่งเป็นวิธีสุดท้ำย เมื่อไม่สำมำรถใช้วิธีอื่นได้ ** MAWP ควำมดนัสูงสดุทีถั่งสำมำรถทนได้ (Maximum Allowable Working Pressure)

  • 18

    ระบบกำรจ�ำแนกประเภทและกำรติดฉลำกสำรเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก(อำจพบได้บนภำชนะบรรจุที่ใช้ในกำรขนส่ง)

    ระบบการจ�าแนกประเภทและการตดิฉลากสารเคมทีีเ่ป็นระบบเดียวกนัทัว่โลก(GHS)เป็นแนวทาง ในระดับสากลซึง่ได้รบัการเผยแพร่โดยสหประชาชาติ เพือ่ให้ทกุภาคส่วนทีเ่กีย่วข้องกับสารเคมี มีระบบการจ�าแนกและติดฉลากเป็นไปในทิศทางเดียวกันตลอดทั้งวงจรชีวิตของสารเคมีนั้นๆ (การผลิตการจัดเก็บการขนส่งการใช้งานในสถานประกอบการการใช้งานของผู้บริโภคและการมีอยู่ในสิ่งแวดล้อม) GHSมสีญัลกัษณ์9ประเภททีแ่สดงให้เห็นถงึลกัษณะเฉพาะของข้อมลูความเป็นอนัตราย ทางด้านกายภาพ สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ซ่ึงสัญลักษณ์เหล่านี้มีทั้งแผนภาพรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดและรวมถึงสัญลักษณ์ที่มีลักษณะสีด�าบนพื้นสีขาวกรอบแดงโดยในแผนภาพซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบการจ�าแนกประเภทจะมีการแสดงข้อมูลดังนี้ •ค�าสัญญาณ(Signalword) •ข้อความแสดงความเป็นอันตราย(Hazardstatements) •ค�าเตือน(Precautionarystatements) •การระบุตัวผลิตภัณฑ์(Productidentifier) •การระบุผู้ขายสินค้า(Supplieridentification)

    ฉลากGHSมีรูปแบบคล้ายป้ายสัญลักษณ์แต่ป้ายสัญลักษณ์จะมีสีของพื้นหลังแตกต่างกัน

    ระบบGHSซ่ึงประกอบไปด้วยค�าสญัญาณ(Signalword)และข้อความแสดงความเป็นอันตราย (Hazardstatements)ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อน�าไปใช้ในภาคการขนส่งส�าหรับสารเคมีและสารเคมีผสมที่อยู่ภายใต้ข้อแนะน�าของ UN ว่าด้วยการขนส่งสินค้าอันตรายให้ใช้ ข้อบังคับ และฉลากก�ากับการขนส่งที่แสดงความเป็นอันตรายทางกายภาพเป็นหลักโดยในการขนส่งสาร ที่มีความเป็นอันตรายเดียวกัน(หรือน้อยกว่า)จะแสดงเพียงป้ายสัญลักษณ์(placard)โดยไม่แสดงฉลากGHSแต่ฉลากGHSจะแสดงอยู่ที่หีบห่อภายใน

    ตัวอยำ่งฉลำก GHS

    บรรจุภัณฑ์ด้ำนนอก : กล่องติดปำ้ยสัญลักษณ์ของเหลวไวไฟ

    บรรจุภัณฑ์ด้ำนใน : ขวดพลำสติกติดฉลำก GHS

    บรรจุภัณฑ์ชิ้นเดียว : ถัง 200 ลิตร ติดป้ำยสัญลักษณ์ของเหลวไวไฟคู่กับฉลำก GHS

  • 19

    ในบางกรณี เช่นถังหรือบรรจุภัณฑ์ชนิดIBCs(Internationalbulkcontainers)ต้องระบุ

    ข้อมูลทุกส่วน โดยนอกจากป้ายสัญลักษณ์ และอาจจะติดฉลากGHS ด้วย ซึ่งทั้ง2 ชนิด

    (ฉลากGHS และ ป้ายสัญลักษณ์) จะมีความแตกต่างกันเพื่อให้ง่ายต่อการบ่งชี้อันตรายใน

    ระหว่างการเกิดเหตุฉุกเฉิน

    แผนภำพ GHS(GHS Pictograms)

    แผนภำพ GHS(GHS Pictograms)

    ควำมเป็นอันตรำยทำงกำยภำพ(Physical hazards)

    •ระเบิดได้•เกิดปฏิกิริยาได้เอง•เป็นสารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์

    •ออกซิไดซ์

    •ก๊าซอัดความดัน •เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน�า้

    •กัดกร่อนโลหะ •เป็นพิษเฉียบพลัน (เสียชีวิตหรือเป็นพิษ)

    •กัดกร่อนผิวหนัง•ท�าลายดวงตาอย่างรุนแรง

    •ไวไฟ•ลุกติดไฟได้เองเมื่อสัมผัสอากาศ•เกิดปฏิกิริยาได้เอง•เป็นสารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์•เกิดความร้อนได้เอง•ให้ก๊าซไวไฟเมื่อสัมผัสกับน�า้

    •เป็นพษิเฉยีบพลนั(อันตราย)•ท�าให้เกิดการแพ้ที่ผิวหนัง•ระคายเคอืง(ผวิหนงัและดวงตา)•ท�าให้มีอาการง่วงซึม•ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ•อนัตรายต่อช้ันโอโซน(สิง่แวดล้อม)

    •ท�าให้เกดิอาการแพ้ต่อระบบทาง เดนิหายใจหรือหอบหืดหรือ หายใจล�าบาก•ก่อให้เกิดการกลายพันธุ์•ก่อมะเรง็•เป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์•เป็นพิษต่ออวัยวะเป้าหมาย•อันตรายจากการส�าลัก

    ควำมเป็นอันตรำยต่อสุขภำพและสิ่่งแวดล้อม

    (Health and Environmental hazards)

  • 20

    331203

    รหัสบ่งชี้ควำมเป็นอันตรำยที่แสดงบนภำชนะบรรจุที่ใช้ขนส่งวัตถุอันตรำยหลำยรูปแบบ

    เช่น ทำงรถ ทำงรถไฟ ทำงเรือ (Intermodal Containers)

    รหัสบ่งชี้ความเป็นอันตรายที่เรียกว่า “Hazard Identification Numbers” ตามกฏระเบียบของกลุ่ม

    ประเทศสหภาพยุโรปและบางประเทศในทวีปอเมริกาใต้ อาจพบได้ที่ครึ่งบนของแผ่นป้ายสีส้มภาชนะบรรจุที่

    ใช้ขนส่งสินค้าปริมาณมากในหลายรูปแบบของการขนส่ง(IntermodalBulkContainers)และตัวเลขสี่หลักที่

    ครึ่งล่างของแผ่นป้ายสีส้มเป็นหมายเลขUN(UNNumber)หรือหมายเลขNA(NorthAmaricaNumber)

    รหัสบ่งชี้ความเป็นอันตรายที่อยู่ครึ่งของแผ่นป้ายสีส้มประกอบด้วยตัวเลข 2-3 หลัก โดยทั่วไป

    แล้วตัวเลขดังกล่าวแสดงถึงความเป็นอันตรายดังนี้

    2–การปล่อยก๊าซเนื่องจากความดันหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี

    3–ความไวไฟของของเหลว(ไอระเหย)และก๊าซหรอืของเหลวท่ีเกดิความร้อนได้เอง

    4–ความไวไฟของของแข็งหรือของแข็งที่เกิดความร้อนได้เอง

    5–ผลกระทบของการเกิดออกซิไดซ์

    6–ความเป็นพิษหรือเสี่ยงต่อการติดเชื้อ

    7–กัมมันตรังสี

    8–การกัดกร่อน

    9–ความเสี่ยงต่อการเกิดปฏิกิริยาได้เองอย่างรุนแรง

    หมายเหตุ:ความเสี่ยงของการเกิดปฏิกิริยาได้เองอย่างรุนแรงของหมายเลข 9 ที่อาจเป็นไปได้นั้น

    เกิดจากลักษณะของสารได้แก่ความเสี่ยงต่อการเกิดการระเบิดการสลายตัวและการเกิด

    ปฏิกิรยิาโพลเีมอร์ไรเซชัน่ตามด้วยการปล่อยความร้อนหรอืก๊าซไวไฟและ/หรือก๊าซพษิ

    • การแสดงหมายเลขซ�้ากันสองครั้งแสดงถึงความเป็นอันตรายดังกล่าวรุนแรงขึ้นเช่น336688

    เป็นต้น

    • หากความเป็นอันตรายของสารสามารถระบุได้ด้วยตัวเลขหลักเดียวก็เพียงพอตัวเลขหลักที่

    สองใช้ศูนย์เช่น304050เป็นต้น

    • รหัสบ่งชี้ความเป็นอันตรายที่มีตัวอักษร “X” น�าหน้า แสดงว่าสารนั้นสามารถเกิดปฏิกิริยา

    อย่างรุนแรงกับน�้าเช่นX88

  • 21

    331203

    รหัสบ่งชี้ควำมอันตรำย

    ที่แสดงบนภำชนะบรรจุที่ใช้ขนส่งวัตถุอันตรำยหลำยรูปแบบ

    เช่น ทำงรถ ทำงรถไฟ ทำงเรือ (Intermodal Containers)

    รหัสบ่งชี้ควำมเป็นอันตรำย มีควำมหมำยดังนี้

    20 ก๊าซที่ท�าให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนหรือก๊าซที่ไม่มีความเสี่ยงรอง(Asphyxiantgas orgaswithnosubsidiaryrisk)

    22 ก๊าซเหลวเยน็จัดและท�าให้เกดิภาวะขาดออกซเิจน(Refrigeratedliquefiedgas,asphyxiant)

    223 ก๊าซเหลวเยน็จดัและไวไฟ(Refrigeratedliquefiedgas,flammable)

    225 ก๊าซเหลวเย็นจัดและท�าให้เกดิการออกซไิดซ์(โหมไฟให้แรงขึน้)(Refrigeratedliquefied gas,oxidizing(fire-intensifying))

    23 ก๊าซไวไฟ(Flammablegas)

    238 ก๊าซไวไฟและกัดกร่อน(Gas,flammablecorrosive)

    239 ก๊าซไวไฟซึง่สามารถเกดิปฏิกริยิาอย่างรนุแรงได้ด้วยตวัเอง(Flammablegaswhich canspontaneouslyleadtoviolentreaction)

    25 ก๊าซท่ีท�าให้เกดิการออกซไิดซ์(โหมไฟให้แรงขึน้)(Oxidizing(fire-intensifying)gas)

    26 ก๊าซพิษ(Toxicgas)

    263 ก๊าซพิษและไวไฟ(Toxicgas,flammable)

    265 ก๊าซพิษและก่อให้เกิดการออกซิไดซ์ (โหมไฟให้แรงขึ้น) (Toxic gas, oxidizing (fire-intensifying))

    268 ก๊าซพิษและกัดกร่อน(Toxicgas,corrosive)

    28 ก๊าซกัดกร่อน(Gas,corrosive)

    30 ของเหลวไวไฟ (จุดวาบไฟในช่วง 23 �C ถึง 60 �C) หรือของเหลวไวไฟ หรือ ของแข็งหลอมเหลวที่มีจุดวาบไฟมากกว่า60�Cและได้รับความร้อนในอุณหภูมิ

    เท่ากับหรือมากกว่าจุดวาบไฟหรือเกิดความร้อนได้เอง (Flammable liquid

  • 22

    (flash-pointbetween23 �Cand60 �C)orflammableliquidorsolidin

    themoltenstatewithaflashpointabove60�C,heatedtoatemperature

    equaltooraboveitsflashpoint,orself-heatingliquid)

    323 ของเหลวไวไฟที่ท�าปฏิกิริยากับน�้าแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ (Flammable liquid

    whichreactswithwater,emittingflammablegases)

    X323 ของเหลวไวไฟทีท่�าปฏิกริยิากบัน�า้อย่างรุนแรงแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Flammable

    liquidwhichreactsdangerouslywithwater,emittingflammablegases)

    33 ของเหลวไวไฟสงู(จดุวาบไฟต�า่กว่า23 �C)(Highlyflammableliquid(flash-point

    below23�C))

    333 ของเหลวที่ลุกติดไฟได้เองณอุณหภูมิปกติ(Pyrophoricliquid)

    X333 ของเหลวที่ลุกติดไฟได้เอง ณ อุณหภูมิปกติ ซึ่งท�าปฏิกิริยากับน�้าอย่างรุนแรง

    (Pyrophoricliquidwhichreactsdangerouslywithwater)

    336 ของเหลวไวไฟสูงและเป็นพิษ(Highlyflammableliquid,toxic)

    338 ของเหลวไวไฟสูงและกัดกร่อน(Highlyflammableliquid,corrosive)

    X338 ของเหลวไวไฟสูงกดักร่อนและท�าปฏกิริยิากบัน�า้อย่างรนุแรง(Highlyflammableliquid,

    corrosive,whichreactsdangerouslywithwater)

    339 ของเหลวไวไฟสงูซึง่สามารถเกดิปฏกิริิยาอย่างรุนแรงได้ด้วยตวัเอง(Highlyflammable

    liquidwhichcanspontaneouslyleadtoviolentreaction)

    36 ของเหลวไวไฟ (จุดวาบไฟในช่วง 23 �C -60 �C) และเป็นพิษเล็กน้อย หรือ

    ของเหลวทีเ่กดิความร้อนได้ด้วยตวัเองและเป็นพิษ(Flammableliquid(flash-point

    between23�Cand60�C),slightlytoxic,orself-heatingliquid,toxic)

    362 ของเหลวไวไฟและเป็นพษิซึง่ท�าปฏกิริยิากบัน�า้แล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Flammable

    liquid,toxic,whichreactswithwater,emittingflammablegas)

    X362 ของเหลวไวไฟและเป็นพษิ ซึง่ท�าปฏกิริยิากบัน�า้อย่างรนุแรงแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ

    (Flammableliquid,toxic,whichreactsdangerouslywithwater,emitting

    flammablegases)

  • 23

    368 ของเหลวไวไฟเป็นพิษและกัดกร่อน(Flammableliquid,toxic,corrosive)

    38 ของเหลวไวไฟ(จุดวาบไฟในช่วง23 �C-60 �C) และกัดกร่อนเล็กน้อยหรือ

    ของเหลวทีเ่กดิความร้อนได้ด้วยตวัเองและกดักร่อน(Flammableliquid(flash-point

    between23�Cand60�C),slightlycorrosiveorself-heatingliquid,corrosive)

    382 ของเหลวไวไฟและกดักร่อนซึง่ท�าปฏกิริิยากบัน�า้และปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Flammable

    liquid,corrosive,whichreactswithwater,emittingflammablegases)

    X382 ของเหลวไวไฟและกดักร่อน ซ่ึงท�าปฏกิริิยากบัน�า้อย่างรุนแรงแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ

    (Flammableliquid,corrosive,whichreactsdangerouslywithwater,emitting

    flammablegases)

    39 ของเหลวไวไฟซึง่สามารถเกดิปฏกิริยิาอย่างรนุแรงได้ด้วยตัวเอง(Flammableliquid,

    whichcanspontaneouslyleadtoviolentreaction)

    40 ของแข็งไวไฟหรือวัสดุที่เกิดปฏิกิริยาได้ด้วยตัวเองหรือวัสดุที่เกิดความร้อนได้ด้วย

    ตวัเอง(Flammablesolid,orself-reactivesubstance,orself-heatingsubstance)

    423 ของแข็งซึ่งท�าปฏิกิริยากับน�้าแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟหรือของแข็งไวไฟซึ่งท�า

    ปฏิกิริยากับน�้าแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟหรือวัสดุที่เกิดความร้อนได้ด้วยตัวเองซึ่ง

    ท�าปฏิกิริยากับน�้าแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ (Solid which reacts with water,

    emittingflammablegases,orflammablesolidwhichreactswithwater,

    emittingflammablegases,orself-heatingsolidwhichreactswithwater,

    emittingflammablegases)

    X423 ของแขง็ซึง่ท�าปฏกิริยิากบัน�า้อย่างรนุแรงแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ หรอืของแขง็ไวไฟ

    ซึ่งท�าปฏิกิริยากับน�้าอย่างรุนแรงแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ หรอืวสัดทุีเ่กดิความร้อน

    ได้ด้วยตัวเองซึง่ท�าปฏกิริยิากบัน�า้อย่างรนุแรงแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Solidwhich

    reactsdangerouslywithwater,emittingflammablegases,orflammable

    solidwhichreactsdangerouslywithwater,emittingflammablegases,or

    self-heatingsolidwhichreactsdangerouslywithwater,emittingflammablegases)

  • 24

    43 ของแขง็ไวไฟท่ีลกุไหม้ได้ด้วยตวัเองณอณุหภมูปิกติ(Spontaneouslyflammable

    (pyrophoric)solid)

    X432 ของแข็งไวไฟทีลุ่กไหม้ได้ด้วยตวัเองณอณุหภมูปิกติซึง่ท�าปฏกิริยิากบัน�า้อย่างรนุแรง

    แล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Spontaneouslyflammable(pyrophoric)solidwhichreacts

    dangerouslywithwater,emittingflammablegases)

    44 ของแข็งไวไฟที่อยู่ในสถานะหลอมเหลวที่อุณหภูมิสูง(Flammablesolid, inthe

    moltenstateatanelevatedtemperature)

    446 ของแขง็ไวไฟและเป็นพษิทีอ่ยูใ่นสถานะหลอมเหลวทีอ่ณุหภมูสิงู(Flammablesolid,

    toxic,inthemoltenstateatanelevatedtemperature)

    46 ของแข็งไวไฟและเป็นพิษหรือวัสดุที่เกิดความร้อนได้ด้วยตัวเองและเป็นพิษ

    (Flammableorself-heatingsolid,toxic)

    462 ของแข็งเป็นพิษซึ่งท�าปฏิกิริยากับน�้าแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Toxicsolidwhich

    reactswithwater,emittingflammablegases)

    X462 ของแข็งซ่ึงท�าปฏกิริิยากบัน�า้อย่างรุนแรงแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Solidwhichreacts

    dangerouslywithwater,emittingtoxicgases)

    48 ของแข็งไวไฟและกัดกร่อนหรือของแข็งที่เกิดความร้อนได้ด้วยตัวเองและกัดกร่อน

    (Flammableorself-heatingsolid,corrosive)

    482 ของแข็งที่มีฤทธิ์กัดกร่อนซึ่งท�าปฏิกิริยากับน�้าแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Corrosive

    solidwhichreactswithwater,emittingflammablegases)

    X482 ของแข็งซึง่ท�าปฏกิริยิากบัน�า้อย่างรนุแรงแล้วปลดปล่อยก๊าซทีมี่ฤทธิก์ดักร่อน(Solidwhich

    reactsdangerouslywithwater,emittingcorrosivegases)

    50 สารออกซิไดซ์(โหมไฟให้แรงขึ้น)(Oxidizing(fire-intensifying)substance)

    539 สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ไวไฟ(Flammableorganicperoxide)

    55 สารออกซไิดซ์อย่างรนุแรง(โหมไฟให้แรงขึน้)(Stronglyoxidizing(fire-intensifying)

    substance)

  • 25

    556 สารออกซิไดซ์อย่างรุนแรง (โหมไฟให้แรงขึ้น) และเป็นพิษ (Strongly oxidizing

    (fire-intensifying)substance,toxic)

    558 สารออกซิไดซ์อย่างรุนแรง(โหมไฟให้แรงขึ้น) และกัดกร่อน(Stronglyoxidizing

    (fire-intensifying)substance,corrosive)

    559 สารออกซิไดซ์อย่างรุนแรง(โหมไฟให้แรงขึ้น)ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรง

    ได้ด้วยตัวเอง (Stronglyoxidizing(fire-intensifying) substancewhichcan

    spontaneouslyleadtoviolentreaction)

    56 สารออกซิไดซ์ (โหมไฟให้แรงขึ้น) และเป็นพิษ (Oxidizing substance (fire-

    intensifying),toxic)

    568 สารออกซิไดซ์ (โหมไฟให้แรงขึ้น) เป็นพิษและกัดกร่อน (Oxidizing substance

    (fire-intensifying),toxic,corrosive)

    58 สารออกซิไดซ์ (โหมไฟให้แรงขึ้น) และกัดกร่อน (Oxidizing substance (fire-

    intensifying),corrosive)

    59 สารออกซไิดซ์ (โหมไฟให้แรงขึน้) ซึง่สามารถเกดิปฏิกริยิาอย่างรนุแรงได้ด้วยตวัเอง

    (Oxidizingsubstance(fire-intensifying)whichcanspontaneouslyleadto

    violentreaction)

    60 สารพิษหรือสารที่มีความเป็นพิษเล็กน้อย(Toxicorslightlytoxicsubstance)

    606 สารติดเชื้อ(Infectioussubstance)

    623 ของเหลวเป็นพษิซ่ึงท�าปฏกิริยิากบัน�า้แล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Toxicliquid,which

    reactswithwater,emittingflammablegases)

    63 สารพิษและไวไฟ(จดุวาบไฟในช่วง23�C-60�C)(Toxicsubstance,flammable

    (flash-pointbetween23�Cand60�C)

    638 สารพิษและไวไฟ(จดุวาบไฟในช่วง23�C-60�C)และกดักร่อน(Toxicsubstance,

    flammable,(flash-pointbetween23�Cand60�C),corrosive)

  • 26

    639 สารพิษและไวไฟ (จุดวาบไฟไม่เกิน 60 �C) ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรง

    ได้ด้วยตัวเอง(Toxicsubstance,flammable,(flash-pointnotabove60 �C)

    whichcanspontaneouslyleadtoviolentreaction)

    64 ของแข็งเป็นพษิและไวไฟหรือท�าให้เกดิความร้อนได้ด้วยตวัเอง(Toxicsolid,flammable

    orself-heating)

    642 ของแข็งเป็นพิษซึ่งท�าปฏิกิริยากับน�้าแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Toxicsolidwhich

    reactswithwater,emittingflammablegases)

    65 สารพิษที่สามารถออกซิไดซ์(โหมไฟให้แรงข้ึน)(Toxicsubstance,oxidizing

    (fire-intensifying))

    66 สารที่มีความเป็นพิษสูง(Highlytoxicsubstance)

    663 สารท่ีมคีวามเป็นพิษสงูและไวไฟ(จดุวาบไฟไม่เกิน60�C)(Highlytoxicsubstance,

    flammable(flash-pointnotabove60�C))

    664 ของแข็งท่ีมีความเป็นพิษสูงไวไฟหรือท�าให้เกิดความร้อนได้ด้วยตัวเอง(Highly

    toxicsolid,flammableorself-heating)

    665 สารที่มีความเป็นพิษสูงที่สามารถออกซิไดซ์(โหมไฟให้แรงขึ้น)(Highlytoxic

    substance,oxidizing(fire-intensifying))

    668 สารที่มีความเป็นพิษสูงและกัดกร่อน(Highlytoxicsubstance,corrosive)

    X668 สารท่ีมคีวามเป็นพิษสงูและกดักร่อนซ่ึงท�าปฏกิริยิากับน�า้อย่างรนุแรง(Highlytoxic

    substance,corrosive,whichreactsdangerouslywithwater)

    669 สารที่มีความเป็นพิษสูงซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรงได้ด้วยตนเอง(Highly

    toxicsubstancewhichcanspontaneouslyleadtoviolentreaction)

    68 สารพิษและกัดกร่อน(Toxicsubstance,corrosive)

    69 สารพิษหรือสารที่มีความเป็นพิษเล็กน้อย ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรงได ้

    ด้วยตัวเอง(Toxicorslightlytoxicsubstancewhichcanspontaneouslylead

    toviolentreaction)

    70 วัตถุกัมมันตรังสี(Radioactivematerial)

  • 27

    78 วัตถุกัมมันตรังสีและกัดกร่อน(Radioactivematerial,corrosive)

    80 สารกัดกร่อนหรือกัดกร่อนเล็กน้อย(Corrosiveorslightlycorrosivesubstance)

    X80 สารกัดกร่อนหรอืกดักร่อนเลก็น้อยทีท่�าปฏกิริิยากบัน�า้อย่างรุนแรง(Corrosiveorslightly

    corrosivesubstancewhichreactsdangerouslywithwater)

    823 ของเหลวกัดกร่อนที่ท�าปฏิกิริยากับน�้าแล้วปลดปล่อยก๊าซไวไฟ(Corrosive liquid

    whichreactswithwater,emittingflammablegases)

    83 สารกัดกร่อนหรือกัดกร่อนเล็กน้อย และไวไฟ(จุดวาบไฟในช่วง23 �C-60 �C)

    (Corrosiveorslightlycorrosivesubstance,flammable(flash-pointbetween

    23�Cand60�C))

    X83 สารกัดกร่อนหรือกัดกร่อนเล็กน้อย และไวไฟ(จุดวาบไฟในช่วง23 �C-60 �C)

    ทีท่�าปฏกิริยิากับน�า้อย่างรุนแรง(Corrosiveorslightlycorrosivesubstance,flammable

    (flash-pointbetween23�Cand60�C),whichreactsdangerouslywithwater)

    839 สารกดักร่อนหรอืกดักร่อนเล็กน้อย และไวไฟ (จดุวาบไฟในช่วง 23 �C - 60 �C)

    ทีท่�าปฏกิริยิาอย่างรนุแรงได้ด้วยตวัเอง(Corrosiveorslightlycorrosivesubstance,

    flammable(flash-pointbetween23�Cand60�C),whichcanspontaneously

    leadtoviolentreaction)

    X839 สารกัดกร่อนหรือกัดกร่อนเล็กน้อย และไวไฟ(จุดวาบไฟในช่วง23 �C-60 �C)

    ทีส่ามารถเกดิปฏกิิรยิาอย่างรุนแรงได้ด้วยตวัเอง และเกดิปฏกิริยิากับน�า้อย่างรนุแรง

    (Corrosiveorslightlycorrosivesubstance,flammable(flash-pointbetween

    23�Cand60�C),whichcanspontaneouslyleadtoviolentreactionand

    whichreactsdangerouslywithwater)

    84 ของแข็งกัดกร่อนและไวไฟหรือท�าให้เกิดความร้อนได้ด้วยตัวเอง(Corrosivesolid,

    flammableorself-heating)

    842 ของแข�


Recommended