+ All Categories
Home > Documents > Let 3-2554 e1 - Sklonline.com · 2016. 10. 5. ·...

Let 3-2554 e1 - Sklonline.com · 2016. 10. 5. ·...

Date post: 10-Oct-2020
Category:
Upload: others
View: 0 times
Download: 0 times
Share this document with a friend
4
สมัครสมาชิกติดต่อ: สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง 1/19 ม.3 ถ.เก้าแสน ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา (90000) โทร : 074-311895, 312036 ปท่ 7 ฉบับท่ 3/54 เดอนมนาคม 2554 .www.sklonline.com .www.nicaonline.com บรรณาธการ : คมน์ ศลปาจารย์, สายันต์ เอ่ยมรอด, ผูช่วยบรรณาธการ : ยงยุทธ ปรดาลัมพะบุตร, สนั่น ลมววัฒน์กุล, ภรัณยู ถมพลกรัง กองบรรณาธการ : ภรัณยู ถมพลกรัง, นคม ละอองศรวงศ์, อรัญญา อัศวอารย์, ประมัยพร ทองคณารักษ์, บุญยา คงคาลหมน, จำนง ถราวุฒ ออกแบบ&งานศลป์ : ภรัณยู ถมพลกรัง ฟนฟูทรัพยากรประมง...ฟนฟูเศรษฐกจ...ฟนฟูสังคม ท่ กษ. 0512.5/ ว.307 ชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดอน ใบอนุญาตท่ 7/2526 ไปรษณย์เกาเสง โครงการฟื้นฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลา เมื่อเดือนที่แล้วได้มีโอกาสไปประชุมชาว ประมงพื้นบ้านในเขตตำบลคลองรี ที่อบต.คลองรได้รับ ทั้งความคิดเห็นของชาวประมงเกี่ยวกับความต้อง การร่วมพัฒนา ธนาคารกุ้งก้ามกรามกับสภาบันวิจัย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ซึ่งแนวความคิด เป็นอย่างนี้ครับ ในช่วงที่ชาวประมงจับกุ้งก้ามกราม ไข่ติดหน้าท้องก็จะนำไปขังไว้ในกรงให้ไข่ที่ติดอยู่หน้าท้อง หลุดฟักออกเป็นตัวบริเวณทะเลสาบหลังจากนั้นจึงนำพ่อ แม่ออกไปขายทำให้แม่กุ้งได้มีโอกาสแพร่พันธุ์ก่อนที่ จะได้นำ ไปใชประโยชน์ แนวความคิดดีแบบนี้ ขอชื้นชมครับสถาบันเราก็ ขอสนับสนุนเต็มที่เช่นเดียวกับนายกอบต.คลองรีที่เตรียม จัดหางบประมาณมาสนับสนุน ถ้าเราช่วยกันแบบนี้ ปีนีชาวประมงคงจะยิ้มได้มีกุ้งก้ามกรามจับกันพอสมควรแน่ ไม้ต้องพึ่งพาการปล่อยพันธุ์กุ้งก้ามกรามจากโครง การฟาร์มทะเล โดยชุมชนเพียง กิจกรรมเดียว ยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร บรรณาธิการ
Transcript
Page 1: Let 3-2554 e1 - Sklonline.com · 2016. 10. 5. · สมัครสมาชิกติดต่อ: สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

สมัครสมาชิกติดต่อ: สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง 1/19 ม.3 ถ.เก้าแสน ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา (90000) โทร : 074-311895, 312036

ปีที่ 7 ฉบับที่ 3/54 เดือนมีนาคม 2554

.www.sklonline.com.www.nicaonline.com

บรรณาธิการ : คมน์ ศิลปาจารย์, สายันต์ เอี่ยมรอด, ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร, สนั่น ลิ้มวิวัฒน์กุล, ภรัณยู ถมพลกรังกองบรรณาธิการ : ภรัณยู ถมพลกรัง, นิคม ละอองศิริวงศ์, อรัญญา อัศวอารีย์, ประมัยพร ทองคณารักษ์, บุญยา คงคาลิหมีน, จำนง ถีราวุฒิออกแบบ&งานศิลป์ : ภรัณยู ถมพลกรัง

ฟื้นฟูทรัพยากรประมง...ฟื้นฟูเศรษฐกิจ...ฟื้นฟูสังคม

ที่ กษ. 0512.5/ ว.307 ชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือนใบอนุญาตที่ 7/2526 ไปรษณีย์เก้าเส้ง

โครงการฟ้ืนฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลา

เม ื ่ อ เด ือนท ี ่ แล ้ว ได ้ม ี โอกาสไปประช ุมชาว

ประมงพื้นบ้านในเขตตำบลคลองรี ที่อบต.คลองร ี ได้รับ

ทั ้งความค ิดเห ็นของชาวประมงเก ี ่ยวก ับความต ้อง

การร่วมพัฒนา ธนาคารกุ้งก้ามกรามกับสภาบันวิจัย

การเพาะเล ี ้ยงส ัตว ์น ้ ำชายฝ ั ่ ง ซ ึ ่ งแนวความค ิด

เป็นอย่างนี ้ครับ ในช่วงที ่ชาวประมงจับกุ ้งก้ามกราม

ไข่ติดหน้าท้องก็จะนำไปขังไว้ในกรงให้ไข่ที่ติดอยู่หน้าท้อง

หลุดฟักออกเป็นตัวบริเวณทะเลสาบหลังจากนั้นจึงนำพ่อ

แม่ออกไปขายทำให้แม่กุ ้งได้มีโอกาสแพร่พันธุ ์ก่อนที ่

จะได้นำ ไปใช ้ ประโยชน์

แนวความคิดดีแบบนี้ ขอชื้นชมครับสถาบันเราก็

ขอสนับสนุนเต็มที่เช่นเดียวกับนายกอบต.คลองรีที่เตรียม

จัดหางบประมาณมาสนับสนุน ถ้าเราช่วยกันแบบนี้ ปีนี้

ชาวประมงคงจะยิ้มได้มีกุ้งก้ามกรามจับกันพอสมควรแน่

ไม ้ต ้องพึ ่งพาการปล่อยพันธุ ์ก ุ ้งก ้ามกรามจากโครง

การฟาร์มทะเล โดยชุมชนเพียง กิจกรรมเดียว

ยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร

บรรณาธิการ

Page 2: Let 3-2554 e1 - Sklonline.com · 2016. 10. 5. · สมัครสมาชิกติดต่อ: สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

50-100 กก. และปลาช่อนจับได้วันละ 10-20 กก. เท่านั้น

...เรื่องสัตว์น้ำไม่ค่อยน่าห่วงสักเท่าไหร่ แต่ที่น่าห่วงคือ พวกที่คอยจะขโมยของเพื่อนนั่นแหล่ะ เดี๋ยวนี้จะมีพวกใหม่ขึ้นมาอีกคือจะไม่ขโมย อวนเแล้ว แต่จะขโมยกู้อวนแทนเอาเฉพาะกุ้งแล้วก็จะวางต่อพอเจ้าของอวนมา กู้แล้วจะเหลือเหรอ แต่ก็ยังดีนิดหนึ่งตรง เหลือแต่อวนนี่แหล่ะ แหม่...ทำไปได้ สัตว์น้ำเดือนนี้ก็มีปลาช่อนจับได้วันละ 50-100 กก. กุ้งก้ามกรามจับได้วันละ 40-50 กก. ปลาโสดจับได้วันละ 30-50 กก. ปลาดุกทะเลจับได้วันละ 30-50 กก. และกุ้งก้ามกรามจับได้วันละ 5-10 กก. เท่านั้น

...แม่ค้าพอจะมีกุ้งขายบ้างแล้วน่ะ หลังจากหยุดมาตั้ง 3-4 เดือน แต่ก็มีไม่ทุกคนอีกนั่นแหล่ะ เพราะบางคนยังหาทุนให้ลูกเรือต่ออีกรอบสอง ทั้ง ๆ ที่รอบแรกยังเคลียร์ไม่หมดเลย รอบใหม่จำเป็นต้องให้อีก แต่ขอวงเล็บด้วยน่ะว่า เฉพาะลูกเรือที่ตรงต่อเวลาในการใช้คืนเท่านั้น ส่วนสัตว์น้ำที่จับก็มีกุ้งหัว แข็งเล็กจับ ได้วันละ 300-400 กก. กุ้งหัวแข็งใหญ่จับได้วันละ 30-50 กก. ปลากดขี้ลิงจับได้วันละ 10-20 กก. ปลาดุกทะเลจับได้วันละ 3-5 กก. และปูดำจับได้วันละ 2-3 กก. เท่านั้น

ทะเลสาบตอนใน

ทะเลสาบตอนนอก

ช ่ ว งท ี ่ ผ ่ า นม าทะ เ ลส าบขอ ง เร าน ี ่ เ จ อแต ่กระแสลมแรงมาตลอดเลยน่ะจะหยุดบ้างก็หยุดเพียง ไม ่ก ี ่ว ันก ็พ ัดมาอ ีกแล ้วและชาวบ้านส ่วนใหญ่ก ็จะ รอจังหวะนี้ แหล่ะพอลมสงบเสร็จเราว่างั้นเถอะช่วงที่ เสร็จเรานี่แหล่ะได้กัน ค่อนข้างจะเยอะใช้ได้เลยทีเดียวจะ มาแจกแจงรายละเอียดให้นะครับว่าแต่ละชนิดได้ปริมาณ เท่าไหร่ กุ้งหัวแข็งเล็กจับได้วันละ 300-400 กก. ปลาช่อน

จับได ้ วันละ 200-300 กก. ปลาสลาดจับได้วันละ 200-300 กก. กุ้งก้ามกรามจับได้ วันละ 100-150 กก. ปลาโสดจับได้วันละ 100-150 กก. ปลาดุกทะเลจับได้วันละ 30-50 กก. กุ้งหัวแข็งใหญ่จับได้วันละ 30-50 กก. และ กุ้งกุลาดำจับได้วันละ 5-10 กก. เท่านั้น

...ก็ตั้งแต่ได้ปลาตะเพียนขาวมาทำปลาส้มแทนปลาโสดนี้ดูอะไร อะไรหลาย ๆ อย่างเริ่มดีขึ้นเยอะเลยที่เห็นได้ชัดเลยก็คือแม่ ค้าจะรับซื้อหมดเลย จากเมื่อก่อน แม่ค้าบางคนหยุดซื้อเลยก็ว่าได้เพราะมากเกินไม่รู้จะเอาไปไหนและบาง คนก็ซื ้อจำกัดมากเกินก็ไม่ได้แต่ เดี ๋ยวนี ้สบายแล้วส่วนสัตว์น้ำที ่จับได้ก็มีปลา ช่อนจับได้วันละ 200-250 กก. ปลาสลาดจับได้วันละ 200-250 กก. ปลาหมอช้าง เหยียบจับได้วันละ 100-150 กก. ปลาโสดจับได้วันละ 80-100 กก. ปลาตะเพียน ขาวจับได้วันละ 80-100 กก. ปลาดุกจับได้วันละ 30-50 กก.

...ปลาหัวแข็งหนวดอ่อนที่เอาไว้ทำปลาแห้งนั ้น มีไม่ขาด เลยช่วงนี้ แถมแดดก็ดีด้วยแต่จะดีสักกี่วันนั้นไม่รู ้ด้วยน่ะ เพราะลมฟ้าอากาศ ตอนนี้ทำนายยากว่ามั๊ย ปลาแห้ง มีไม่ขาดนั้น ดีแล้วเพราะส่งขายไปทั่วเลยนิไปไกล ถึงสามจังหวัดโน่นแน่ะ รู้มั๊ย ? ส่วนสัตว์น้ำที่จับได้เดือนนี้ก็มีปลากดคันหลาวจับ ได้วันละ 400-500 กก. ปลาหัวอ่อนจับได้วันละ 200-300 กก. ปลาหัวแข็งหนวดอ่อน จับได้วันละ 200-300 กก. กุ้งกะต่อมจับได้วันละ 100-200 กก. กุ้งก้ามกรามจับได้วันละ

ทะเลน้อย

ทะเลหลวง

ไม่มีคำว่าสายสำหรับการเริ่มต้น เอ...เที่ยวนี้

ขึ้นต้น แปลก ๆ น่ะว่ามั๊ย ? ก็ไม่ได้แปลกอะไรมาก หรอกก็แค่ให้กำลังใจแน่ะน่ะก็หลายคนยังไม่เริ่มต้น เลยกับการลงหากินในทะเลสาบแน่ะก็กำลังเตรียม เครื่องมือเดี๋ยวก็จะลงแล้วก็ขอรีบ ๆ หน่อยแล้วกัน สัตว์น้ำในทะเลสาบกำลังรอท่านอยู่ ถ้าขืน ช้าละก้อ เพื่อนเอาไปหมดไม่รู้ด้วยน้า...แต่ไม่ใช่จะส่งเสริมให้

เป็นนักฆ่าอย่างเดียวนะถ้าเริ่มต้นเป็น นักอนุรักษ์มั่งก็ดี...เมื่อก่อนผมจำได้ว่าปลาตะเพียนขาวนั่นแหล่ะมีปัญหา

มากเลย ขายก็ไม่ได้ราคาจะทำตากแห้งก็ลำบาก เพราะต้องเอาแดดเดียวจริง ๆ สองแดดก็ไม่ได้แถมมีก้างเยอะแม่ค้าหลายรายยังบอกทีมงานเลยว่าอย่า ปล่อยมาเลย สัตว์น้ำตัวนี่แน่ะ...เดี๋ยวนี้เป็นไงหล่ะ ! สบายแล้วยังไงเหรอก็เอา ปลาตะเพียนขาวนี้ แหล่ะไปทำ ปลาส้มแทนปลาโสดงัย ...เยี่ยมเลย ! (น้ำจืด)

...แถบนี้น่ะเรื่องกุ้งก้ามกรามนี่ไม่มีขาดเลย มีให้จับได้ตลอด เลยน่ะจะบอกให้แต่มีข้อยกเว้นอยู่นิดหนึ่งตรงเวลาลมแรงจะไม่มีใครออกทำ ประมงเลยถึงแม้กุ้ง จะมีก็เถอะ ค่อยจับตอนลมสงบดีกว้าเน้อ เพราะยังหวาด ๆ เรื่องพายุอยู่เลยเที่ยวนี้ก็ เยอะอีกประมาณ 30-40 กก.ต่อวันแน่ะ แถมมีกุ้ง ไข่แจมด้วยน่ะ ประมาณ 70-80% แน่ะ (น้ำจืด)

...รอรอบนานจังน่ะแถบนี้จับสัตว์น้ำไม่ได้มาหลายเดือน แล้วน่ะอ้าวแล้วกุ้งที่ปล่อยวันนั้นหล่ะยังไม่โตอีก เหรอ...ก็กำลังรออยู่เหมือน กันน่ะ แต่ได้ข่าวจากชาวบ้านว่าไม่ค่อยเจอเลยก็รอไปก่อนแล้วกันอาจจะยัง ไม่เห็นก็ได้น่ะต้อง รอดบ้างละน้า...ว่ามั๊ย ? (น้ำจืด)

ทะเลน้อย

ลำปำ

เกาะนางคำ

โดยบุญยา คงคาลิหมีน

บุญยา คงคาลิหมีน

.www.sklonline.com.www.nicaonline.com

หน้า 2

...เริ่มจะได้บ้างแล้วน่ะหลังจากหยุดไปทำงานนอกบ้านเสียเกือบสองเดือนแน่ะ ก็จะไม่ให้ออกไปทำงานนอกบ้านยังงัยเล่า เครื่องมือทำมาหากินไปกับ พายุเกือบหมดแล้วนิแถมน้ำมาจืดอีกกุ้งที่ไหน จะมีเล่าก็แถวนี้เขาต้องอาศัยความเค็มของ น้ำเข้าช่วยด้วยน่ะ ! ...(10 ppt)

...กุ้งก้ามกรามได้กันน้อยแต่ก็ไม่ต้องเสียใจเหรอกเพราะมีสัตว์น้ำ ที่มาทดแทนแล้วและได้กันเยอะด้วย ประมาณ 60-100 กก. ต่อวันเลยน่ะแต่ติดอยู่นิดหนึ่งตรงราคานี่แหล่ะเพราะเมื่อก่อนราคา จะดีมาก เลยประมาณกิโลกรัมละ 200-300 บาท แต่เดี๋ยวนี้เหลือแค่ประมาณ 70-80 บาทเอง ทำไมเป็นอย่างงี้หล่ะก็ได้กัน เยอะงัย ตามกลไกตลาดนั่นแหล่ะ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้คือปลาจิ้มฟันจระเข้งัยจ๊ะ ! (น้ำจืด)

...แถบนี้ทอดแหกุ้งก้ามกรามไม่ได้เลยทำไมเป็นอย่างงั้น หล่ะ ! ก็กระแสลมนั่นแหล่ะเป็นเหตุสำคัญเลยที่ทำ ให้เป็นอย่างงี้แน่ะ อ้าว ! แล้วตอนนี้ทำ อะไรกันหล่ะก็วางอวนปลาหัวแข็งหนวดอ่อนกับทำงานก่อ สร้างงัย ชัดเจนมั๊ย...ก็ ต้องอย่างนี้แหล่ะ ก็เราต้องกินต้องจ่ายทุกวันนิหยุดก็ แย่นะสิ จริงมั๊ย ?

สทิ้งหม้อ

เกาะโคบ

บ้านขาว

มีนาคม 54

คุยคุ้ยข่าว...ประสาชาวเล

สภาวะการประมงรอบทะเลสาบสงขลา

:: จดหมายข่าวโครงการฟื้นฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลา ฉบับที่ 3/54 เดือนมีนาคม 2554 ::

Page 3: Let 3-2554 e1 - Sklonline.com · 2016. 10. 5. · สมัครสมาชิกติดต่อ: สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

หน้า 3:: จดหมายข่าวโครงการฟื้นฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลา ฉบับที่ 3/54 เดือนมีนาคม 2554 ::

.www.sklonline.com.www.nicaonline.com

เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ที่ผ่าน มาศูนย์ป้องกันและปราบปราม ประมงทะเลภาคใต้ตอนล่างจังหวัดสงขลา ร่วมกับชุมชนประมงต้นแบบบ้านบ่ออิฐและ เทศบาลตำบลเกาะแต้ว ได้ทำพิธีปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำลงสู่ชายฝั่งบ้านบ่ออิฐ ต.เกาะแต้ว อ.เมือง จ.สงขลา โดยผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการด้านการประมงนายวิฑูร พ่วงทิพากร เป็นประธาน ในพิธีพร้อมด้วยประมงจังหวัดสงขลาผู้อำนวยการ ส่วนบริหารจัดการประมงทะเลหัวหน้าศูนย์ป้องกัน และปราบปรามฯ จ ังหว ัดสงขลา นายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรีตำบลเกาะแต้วและชาวประมงต้นแบบบ้านบ่ออ ิฐ ได้ร่วมกันปล่อยพันธุ์กุ้งแชบ๊วย จำนวน 2,000,000 ตัว ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ชายฝั่งจังหวัดสงขลาทั้งนี้เพื่อให้ ชุมชนประมงต้นแบบบ้านบ่ออิฐได้มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูทรัพยากรประมงรักษ์และ หวงแหนทรัพยากรประมงของตนและใช้ทรัพยากรประมงอย่างรู้คุณค่า...เป็นต้นแบบ ที่ดีแก่ชุมชนประมงอื่น ๆ โครงการ ดี ๆ อย่างนี้ทางประมงเก้าเส้งพร้อมที่จะให้การ สนับสนุน...ขอเพียงชุมชนมีความคิด ริเริ่มที่ดี มีความเข้มแข็งและมีความ สามัคคีกัน... สุดท้ายทิดป้อม น้องทิดเป้ ต้องขอบอกว่า “อย่างนี้ ทำดี แล้ว คร้าบบบบบ...”

ภรัณยู ถมพลกรัง

ประมงเก้าเส้ง... สนับสนุนพันธุ์กุ้งแชบ๊วย 2 ล้านตัว... เร่งฟื้นฟูทรัพยากรประมงชายฝั่ง

Page 4: Let 3-2554 e1 - Sklonline.com · 2016. 10. 5. · สมัครสมาชิกติดต่อ: สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง

หน้า 4:: จดหมายข่าวโครงการฟื้นฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลา ฉบับที่ 3/54 เดือนมีนาคม 2554 ::

.www.nicaonline.com .www.sklonline.com

เฮฮา...ประสาชาวเล

โครงการฟาร์มทะเลโดยชุมชนกิจกรรมเสริม สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนจัดเป็นโครงการหนึ่ง ในโครงการฟื ้นฟูทรัพยากรประมงในทะเลสาบสงขลา ซึ่งในปีนี้ก็ได้ดำเนินการไปแล้วบางส่วน จะเห็นว่าฟาร์มทะเลโดยชุมชนได้รับการตอบรับ เป็นอย่างดี มีชุมชนเสนอเข้ามามีส่วนร่วมกันมาก ขึ้น จากเดิมดำเนินการปีละ 5 เขต แต่ปีนี้เพิ่มขึ้น จากเดิมอีก 2 เขต รวมทั้งสิ้น 7 เขต เขตเดิม ได้แก่ ตำบลท ่ าห ิน ตำบลค ู ข ุ ด ตำบลคลองร ี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ตำบลเกาะนางคำ และตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัด พัทลุง ส่วนเขตน้องใหม่ที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ เขต หมู่ 2-5 ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา และเขตตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ซึ่งในปีนี้ได้ดำเนินการอบรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนไปแล้ว 4 เขต ได้แก่ ตำบลคูขุด ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา และ เขต หมู่ 2-5 ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา ซึ่งได้รับความ ร่วมมือใน การมีส่วน ร่วมต่อโครงการที่ดีมากก็นับว่าเป็นก้าวแรกและ เป็นส่วนหนึ่งของการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาฟาร์ม

ทะเลที่ได้ชื่อว่าฟาร์มทะเลโดยชุมชนและทุก เขตพื้นที่ จะร่วมกันหาแนวทางหาวิธ ีการเพื ่อพัฒนาไปสู ่ ความยั่งยืนไม่ว่าจะเป็นชุมชนเองหรือองค์กรต่าง ๆ ในท้องถิ ่นต่างก็เล็งเห็นความสำคัญและอยากจะ แสดงบทบาทเพื่อชุมชนของ ตนเอง

หวังว่าฟาร์มทะเลโดยชุมชนคงจะมองเห็น อนาคตอันสดใสอยู่ไม่ไกลเกินกำลังชุมชนรอบๆทะเลสาบสงขลา

อรัญญา อัศวอารีย์

จำนง ถีราวุฒ


Recommended