+ All Categories
Home > Software > เรื่องลึก (แต่ไม่ลับ) ของ Windows

เรื่องลึก (แต่ไม่ลับ) ของ Windows

Date post: 07-Aug-2015
Category:
Upload: surapol-imi
View: 33 times
Download: 3 times
Share this document with a friend
9
เรื่องลึก (แตไมลับ) ของ Windows สุรพล ศรีบุญทรง บทความป 1994 1. บริษัทไมโครซอฟทคือผูใหกําเนิด Windows จริงหรือ ? สําหรับผูใชเครื่องคอมพิวเตอรพีซีทั่วๆ ไป สวนใหญตางทราบกันเปนอยางดีวาบริษัทไมโครซอฟทคือ เจาของผลิตภัณฑ Windows แตคงจะมีนอยคนนักที่จะทราบวาจริงๆ แลวแนวความคิดเรื่อง Windows นั้นมีมา กอนที่บริษัทไมโครซอฟทจะพัฒนาระบบปฏิบัติการ Windows ออกจําหนายนานนม ไลลงไปไดถึงกึ่งกลางคริสต ทศวรรษที่ 70s นั่นเลยทีเดียว และบริษัทที่นาจะไดรับเครดิตเรื่องระบบการประมวลผลคอมพิวเตอรที่ติดตอกับผูใชใน ลักษณะเปนชองๆ คลายชองหนาตาง ( Windows-based computing) นี้มากที่สุดก็คือบริษัท Xerox ซึ่งมี สถานที่ตั้งอยูในเมือง Palo Alto รัฐแคลิฟอรเนีย อยางไรก็ตาม แนวคิดแบบ Windows นี้ยังไมได รับความนิยมเทาที่ควรจนกระทั่งทีม วิศวกรคอมพิวเตอรของ บริษัทแอปเปลนํามาใชเปนรูปแบบ การติดตอกับผูใช (user interface) โปรแกรมซอฟทแวรของ ตน โดยจุดเดนในการพัฒนา ระบบ Windows ของบริษัทแอปเปนั้นอยูที่การพัฒนาอุปกรณอินพุต ชนิดใหมในชื่อ "เมาส" หรือเจาหนู มหัศจรรยซึ่งเขาคูกันเปนอยางดี กับลักษณะหนาตางเปนชองๆ ของ Windows ทําใหผูใชคอมพิวเตอร สามารถเลื่อนเคอรเซอรไปในทุกตําแหนงที่ตนตองการบนหนาจอมอนิเตอร แทนที่จะตองมานั่งไลปุมลูกศรบนกด คียบอรดไปทีละนิดทีละหนอย ผลจากความเขาคูกันระหวางเมาสและ Windows นี่เองที่ทําใหมันเริ่มเปนที่ยอมรับ อยางกวางขวาง ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรที่ใชวิธีการประมวลผลแบบ Windows ผลิตภัณฑแรกของโลกนั้น คือ "Lisa" ซึ่ง พัฒนาออกจําหนายโดยบริษัทแอปเปแตจะเปนเพราะชื่อไมเปนมงคล หรือจะเปนเพราะชื่อดูออนหวานจนดูไมเหมือน เครื่องคอมพิวเตอรหรืออยางไรไมทราบได ทําใหผลิตภัณฑดังกลาวไมไดรับการยอมรับจากตลาดคอมพิวเตอรเทาที่ควร ดังนั้น บริษัทแอปเปลจึงตองเปลี่ยนแผนมาออกผลิตภัณฑใหมโดยใช ชื่อที่เปนแมนมากขึ้น นั่นคือชื่อ "Macintosh" อันเปนที่รูจักกัน โดยทั่วไปในปจจุบันนี้นั่นเอง ซึ่งถาไลนับอายุกันจริงๆ จังๆ แลวระบบปฏิบัติการ แมคอินทอชก็มีอายุอานามเกาแกกวาระบบปฏิบัติการ Windows ของบริษัทไมโครซอฟทมากมายนัก แถมถาดูจากสมรรถนะ ประสิทธิภาพกันจริงๆ แลว มันยังเหนือกวาผลิตภัณฑ Windows ของบริษัทไมโครซอฟทเปนอยางมากในแงที่ไมตองไปผูกติดอยูกับ ระบบปฏิบัติการ DOS อีกทีหนึ่ง ทําใหสามารถตั้งชื่อไฟลลไดอยางกวางขวางทั้งในแงของตัวอักษรสัญญลักษณที่ใช และ จํานวนอักษรที่ไมผูกติดอยูแค 8 ตัวอักษร, ไมตองพึ่งพิงโปรแกรมไดรฟเวอรที่งุมงามทั้งหลาย
Transcript

เรื่องลึก (แตไมลับ) ของ Windows สุรพล ศรีบุญทรง

บทความป 1994

1. บริษัทไมโครซอฟทคือผูใหกําเนิด Windows จริงหรือ ?

สําหรับผูใชเครื่องคอมพิวเตอรพีซีทั่วๆ ไป สวนใหญตางทราบกันเปนอยางดีวาบริษัทไมโครซอฟทคือ

เจาของผลิตภัณฑ Windows แตคงจะมีนอยคนนักที่จะทราบวาจริงๆ แลวแนวความคิดเรื่อง Windows น้ันมีมา

กอนที่บริษัทไมโครซอฟทจะพัฒนาระบบปฏิบัติการ Windows ออกจําหนายนานนม ไลลงไปไดถึงกึ่งกลางคริสต

ทศวรรษที่ 70s น่ันเลยทีเดียว และบริษัทที่นาจะไดรับเครดิตเร่ืองระบบการประมวลผลคอมพิวเตอรที่ติดตอกับผูใชใน

ลักษณะเปนชองๆ คลายชองหนาตาง ( Windows-based computing)

น้ีมากที่สุดก็คือบริษัท Xerox ซึ่งมี สถานที่ต้ังอยูในเมือง Palo Alto

รัฐแคลิฟอรเนีย

อยางไรก็ตาม แนวคิดแบบ Windows นี้ยังไมได

รับความนิยมเทาที่ควรจนกระทั่งทีม วิศวกรคอมพิวเตอรของ

บริษัทแอปเปลนํามาใชเปนรูปแบบ การติดตอกับผูใช (user

interface) โปรแกรมซอฟทแวรของ ตน โดยจุดเดนในการพัฒนา

ระบบ Windows ของบริษัทแอปเปล น้ันอยูที่การพัฒนาอุปกรณอินพุต

ชนิดใหมในชื่อ "เมาส" หรือเจาหนู มหัศจรรยซึ่งเขาคูกันเปนอยางดี

กับลักษณะหนาตางเปนชองๆ ของ Windows ทําใหผูใชคอมพิวเตอร

สามารถเลื่อนเคอรเซอรไปในทุกตําแหนงที่ตนตองการบนหนาจอมอนิเตอร แทนที่จะตองมาน่ังไลปุมลูกศรบนกด

คียบอรดไปทีละนิดทีละหนอย ผลจากความเขาคูกันระหวางเมาสและ Windows นี่เองที่ทําใหมันเร่ิมเปนที่ยอมรับ

อยางกวางขวาง

ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรที่ใชวิธีการประมวลผลแบบ Windows ผลิตภัณฑแรกของโลกนั้น คือ "Lisa" ซ่ึง

พัฒนาออกจําหนายโดยบริษัทแอปเปล แตจะเปนเพราะชื่อไมเปนมงคล หรือจะเปนเพราะชื่อดูออนหวานจนดูไมเหมือน

เครื่องคอมพิวเตอรหรืออยางไรไมทราบได ทําใหผลิตภัณฑดังกลาวไมไดรับการยอมรับจากตลาดคอมพิวเตอรเทาที่ควร

ดังน้ัน บริษัทแอปเปลจึงตองเปลี่ยนแผนมาออกผลิตภัณฑใหมโดยใช

ช่ือที่เปนแมนมากข้ึน น่ันคือช่ือ "Macintosh" อันเปนที่รูจักกัน

โดยทั่วไปในปจจุบันนี้น่ันเอง

ซึ่งถาไลนับอายุกันจริงๆ จังๆ แลวระบบปฏิบัติการ

แมคอินทอชก็มีอายุอานามเกาแกกวาระบบปฏิบัติการ Windows

ของบริษัทไมโครซอฟทมากมายนัก แถมถาดูจากสมรรถนะ

ประสิทธิภาพกันจริงๆ แลว มันยังเหนือกวาผลิตภัณฑ Windows

ของบริษัทไมโครซอฟทเปนอยางมากในแงที่ไมตองไปผูกติดอยูกับ

ระบบปฏิบัติการ DOS อีกทีหน่ึง ทําใหสามารถตั้งชื่อไฟลลไดอยางกวางขวางทั้งในแงของตัวอักษรสัญญลักษณที่ใช และ

จํานวนอักษรที่ไมผูกติดอยูแค 8 ตัวอักษร, ไมตองพ่ึงพิงโปรแกรมไดรฟเวอรที่งุมงามทั้งหลาย

2

ถัดจากระบบปฏิบัติการแมคอินทอช ก็คือ ระบบการประมวลผลเชิง Windows ที่มีช่ือวา GEM

(Graphics Environment Manager) ซึ่งแทบจะลอกแบบมาจาก

ระบบปฏิบัติการแมคอินทอชเอาเลย เพียงแตเปนระบบที่รันบน

ระบบปฏิบัติการ DOS ของเครื่องคอมพิวเตอรพีซีเทาน้ัน ซ่ึงผลจาก

ความคลายกันเปนอยางมากน้ีเองก็ทําใหมันตองเปนเรื่องเปนราวกับ

บริษัทแอปเปลอยูพักหน่ึง จนสุดทายก็ทําใหตัวผลิตภัณฑเสื่อมไปใน

ที่สุด จะมีใชบางก็เฉพาะกับโปรแกรม Ventura Desktop Publisher

และกลุมแพ็กเกจโปรแกรมจาก British software house SST เทานั้น

สุดทายจึงมาถึงบริษัทไมโครซอฟทซ่ึงเปนเจาแหงระบบปฏิบัติการ Windows ปจจุบัน ที่ฉวยโอกาสดึง

เอาจุดเดนเรื่องความงายตอการใชงาน (ease of use) ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช และความยืดหยุน (flexability)

ของระบบปฏิบัติการ GEM เขามาใชพัฒนาผลิตภัณฑของตน รวมทั้งใชช่ือ Windows เปนช่ือของมันจนเปนที่ฮิตจน

ระเบิดเถิดเทิงในขณะน้ี กลาวโดยสรุปก็คือ บริษัทไมโครซอฟทน้ันไมเพียงแตจะฉลาดในดานการพัฒนาผลิตภัณฑ

เทาน้ัน แตยังเกงในดานการตลาดและการประชาสัมพันธอีกดวย

และถาเราพิจารณากันใหลึกๆ แลว จะเห็นวาบอยครั้งที่ผลิตภัณฑของบริษัทไมโครซอฟทน้ันมิไดเปน

ไอเดียริเริ่มของบริษัทเอง แตเปนไอเดียที่ดึงมาจากผลิตภัณฑของบริษัทอื่นเขามาปรุงแตนิดหนอยใหมีรสชาติเปน

ไมโครซอฟท (คลายๆ กับคนไทยรับเอาวัฒนธรรมดานอาหารมาจากจีน, แขก, ฝร่ัง, ฯลฯ แลวปรุงแตงจนเจาของเดิมจํา

ไมได) บทพิสูจนสําหรับขอสังเกตุดังกลาวนี้จะย่ิงเห็นไดชัดเจนยิ่งขึ้นไปอีก ในผลิตภัณฑ Windows '95 ซ่ึงไมเพียงแต

มีความเหมือนระบบปฏิบัติการแมคอินทอชมากย่ิงขึ้นเทาน้ัน แถมยังมีกลิ่นอายของระบบปฏิบัติการ IBM's OS/2 ปน

เขามาจนฉุนกึกอีกตางหาก

2. จริงหรือท่ีผลิตภัณฑ Windows เวอรช่ันแรกเริ่มออกสูตลาดในป ค.ศ. 1990 ?

ผูคนสวนใหญมักจะเริ่มรูจักผลิตภัณฑ Windows ของบริษัทไมโครซอฟทเปนครั้งแรกดวย Windows

3.0 ที่เปดตัวออกสูตลาดในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1990 ทั้งที่แทจริงแลวมันเริ่มมีมากอนหนานั้นถึง 5 ป ต้ังแตป ค.ศ.

1984 น่ันเลยทีเดียว เพียงแตกวาที่ผลิตภัณฑเวอรชั่น 1.0 อันเปนเวอรชั่นแรกจะมีจําหนายก็ตองป ค.ศ. 1985 น่ันแลว

และรูปแบบของมันก็แตกตางไปจาก Windows 3.0 ที่เรารูจักกันเปนอยางมาก จนเหมือนกับคนละผลิตภัณฑเลย

ทีเดียว

โดยในผลิตภัณฑ Windows 1.0 น้ันยังไมมีสวนของการทํางานชื่อ Program Manager เสียดวยซํ้า

สงผลใหตองเรียกโปรแกรมการทํางานตางๆ ขึ้นมาจาก DOS ไมใชการดับเบิ้ลคลิ้กเมาสที่ตําแหนงไอคอนของโปรแกรม

อยางที่เราคุนเคยกันในขณะน้ี, เวลาเรียกโปรแกรมประยุกตบนวินโดวสขึ้นมาใชงานมันก็จะถูกจัดวางเรียง (tile) เต็ม

หนาจอมอนิเตอรไปหมด, แถมยังไมคอยมีรูปแบบการทํางานอะไรใหเลือกใชไดมากนักดวย

ถัดจากน้ัอีกเกือบสองป (ชวงรอยตอป ค.ศง 1987-88) บริษัทไมโครซอฟทถึงไดออกผลิตภัณฑ

Windows เวอรชั่น 2.0 ออกมา ดวยรูปแบบที่มีลักษณะคลายคลึงกับระบบปฏิบัติการแมคอินทอชมากขึ้น สามารถ

ปรับแตงขนาดหนาตางใหเล็ก/ใหญตามความตองการของผูใชแทนที่จจะถูกจํากัดจากขนาดของหนาจอมอนิเตอร, มี

โปรแกรมไดรฟเวอรสําหรับหนาจอที่สามารถแสดงรายละเอียดภาพสูงข้ึน, และรวมทั้งมีการขยายขอบเขตชวงการใช

งานพ้ืนที่หนวยความจํา RAM ของระบบใหเพ่ิมขึ้นไปจากที่เคยจํากัดอยูแค 640 K ,

3

โดยมีขอสังเกตุวา โปรแกรมประยุกตทั้งหลายที่ออกแบบมาใหทํางานบนวินโดวส ( Windows

applications) ตางลวนถูกพัฒนาข้ึนมาในชวงของ Windows เวอรช่ัน

2.0 น่ีเอง ไมวาจะเปน Word, Excel, Designer หรือ PageMaker

ฯลฯ หลังจากนั้นก็ตางพึ่งพิงกันมาเร่ือย จนสุดทายพลอยบูมไปดวยกัน

ทั้งคู ทั้งตัวระบบปฏิบัติการ Windows 3.0เอง และเหลาโปรแกรม

ประยุกตที่รันบนวินโดวส ซึ่งถาจะเรียกชวงเวอรช่ัน 3.0 น้ีวาเปนยุค

รุงโรจนของ Windows ก็คงพอจะได เพียงแตหวังวาเวอรช่ันที่จะออก

ตามๆ มา ( Windows NT, Windows '95 หรือ Chicago) คงไมใชยุค

คงตัว หรือยุคเสื่อมเหมือนผลิตภัณฑสินคาอุปโภค/บริโภคทั่วๆ ไป

3. จําเปนดวยหรือท่ีตองใชหนวยประมวลผลกลางที่เร็วๆ สําหรับการรัน Windows ?

เมื่อถามถึงเรื่องสมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอรที่จําเปนสําหรับการรัน Windows ก็ตองขอออกตัว

ไวหนอยวาบทความซึ่งทานกําลังอานอยูน้ี ผูเขียนใชวิธีคียขึ้นดวยโปรแกรม CW 1.52 ซ่ึงแมจะไมใชโปรแกรมเวิรด

โพรเซสเซอรที่ดีที่สุด แตก็เปนโปรแกรมที่ผูเขียนถัดที่สุดเพราะเคยใชงานมานนับคอนทศวรรษ หลังจากคียขอมูลเสร็จ

แลวก็จัดการแปลงไฟลลดังกลาวเสียใหมใหอยูในรูปฟอรแมทที่โปรแกรม Microsoft's Word 2.0 ซึ่งรันบน Windows

สามารถใชงานได (ผูเขียนเคยลองใช Word 6.0 แปลงไฟลล .cw อยูครั้งปรากฏใชไมได ไมทราบเดี๋ยวน้ีปญหาดังกลาว

หมดไปหรือยัง)

สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่ผูเขียนใชก็เปนเพียงเครื่อง 80386 -33MHz ซ่ึงติดต้ังไวดวย RAM ขนาด 4

MB, ฮารดดิสกขนาด 105 MB ในขณะที่โปรแกรมประยุกตที่เลนๆ อยูบนเครื่องซ่ึงสวนใหญก็เปนโปรแกรมซ่ึงรันบน

วินโดวสนั้นลวนทํางานไดเปนอยางดี ไมมีปญหาวาตองรอเรียกโปรแกรมทีละนานๆ และเมื่อขนเอาไฟลลทั้งหลายๆ

ทั้งปวงที่ทําคางจากที่บานมารันตอดวยเครื่อง 486 DX2/66MHz หรือเครื่อง Pentium ที่ที่ทํางาน ผูเขียนก็ไมไดรูสึกถึง

ความแตกตางระหวางการทํางานบนเครื่องที่เร็วข้ึนเหลานี้เลย (ยกเวนกรณีที่รันโปรแกรม Access)

ดังนั้น หากถามวาจําเปนแคไหนที่จะตองใชหนวยประมวลผลกลางความเร็วสูงๆ สําหรับ Windows

โดยสวนตัวของผูเขียนก็คงจะตองตอบวาไมจําเปน ขึ้นอยูกับงานที่ทําวาเปนการใชงานโปรแกรมประยุกตซ่ึงมีความ

สลับซับซอนมากนอยเพียงไร หากเปนงานที่เก่ียวของกับตัวเลขและการคํานวนมากๆ อยางพวกงานกราฟฟก, พวกส

เปรดชีตหลายระดับ, หรือฐานขอมูลขนาดใหญๆ แลว สมรรถนะของหนวยประมวลผลกลางก็คงมีความสําคัญมาก แต

หากวางานที่ทําอยูประจําเปนเพียงการพิมพขอความดวยโปรแกรมประเภทเวิรดโพรเซสเซอร และการสรางภาพ

กราฟฟกงายๆ แคไมโครโพรเซสเซอรระดับ 386 หรือ 486sx ก็นับวาเหลือแหลแลว

ที่สําคัญ เวลาที่เราคิด

จะอัพเกรดระบบคอมพิวเตอรที่ใชอยูใหมี

ประสิทธิภาพมากขึ้นน้ัน เร่ืองมันไมไดจบ

ลงแคการเปลี่ยนหนวยประมวลผลกลาง

ใหเร็วขึ้นเทานั้น แตมันยังหมายถึง

อุปกรณประกอบระบบอ่ืนๆ ของเครื่อง

คอมพิวเตอรดวยมันถึงจะเปลง

4

ประสิทธิภาพออกมาไดอยางเต็มที่ เชน ตัวแผงวงจรควบคุมสัญญาณวิดีโอ Trident หรือ Tseng ที่ใชก็ตองเปลี่ยนไปใช

พวก Accelerator card ที่เรงใหการแสดงภาพกราฟฟกบนหนาจอไดเร็วข้ึน, อีกทั้งการสงผานสัญญาณกราฟฟกก็ตอง

พยายามเปลี่ยนไปใชการสงผานไปทาง Local-bus แทน

นอกจากน้ัน ยังมีเรื่องของหนวยความจําเขามาเก่ียวของอีก เพราะการทํางานสวนใหญของ

Windows นั้นมักจะตองเก่ียวของกับหนวยความจําทั้งในหนวยความจําหลัก (RAM) และในหนวยความจําสํารอง

(ฮารดดิสก) ดังน้ัน จาก RAM 4 MB ก็อาจจะตองเพ่ิมข้ึนไปอีกเทาตัวเปนอยางนอย (เห็นผลชัดเจนเวลารันโปรแกรม

Access) โดยเฉพาะถาตองการใหรองรับระบบปฏิบัติการ Windows NT ไดดวยก็ควรจะมี RAM สัก 12 หรือ 16 MB

เปนอยางนอย (จะเจงมากหากมีถึง 24-32 MB) สวนฮารดดิสกซึ่ง Windows ใชเปนเก็บขอมูลสําหรับ Virtual

memory น้ัน ก็อาจจะตองเปลี่ยนไปใชฮารดดิสกที่ทั้งจุทั้งเร็วจึงจะเหมาะสม

4. จริงหรือ ท่ีวาโปรแกรมบน Windows สวนใหญลวนดูเหมือนกันไปหมด ?

มันเปนความจริงในระดับหนึ่ง เม่ือคํานึงถึงวาโปรแกรมประยุกตซ่ึงรันบนวินโดวสสวนใหญตางดําเนิน

ไปตามขอกําหนดที่วาดวยรูปแบบหนาจอที่ติดตอกับผูใช (interface guideline) แตมันก็ไมไดหมายความวาโปรแกรม

เหลานี้จะตองมีรูปแบบเหมือนกันไปเสียหมด ที่ตางออกไปมากๆ เลยก็มีโปรแกรม Kai's Power Tool อันเปนโปรแกรม

กลุมยูลิลิตี้ และฟลเตอรที่ใชสําหรับการจัดสรางภาพกราฟฟกคุณภาพสูง (high-end image manipulation)

สวนโปรแกรมที่ดูแปลกไปจากโปรแกรมบนวินโดวสทั่วไปนอยไปหนอยก็เห็นจะเปน โปรแกรม Lotus

Organizer ซ่ึงพยายามนําเอารูปแบบของภาพสามมิติมาใชกับภาพบนหนาจอ เชน "chiselled-steel dialog box"

และ Filofax-style front end ที่มุงเนนใหความรูสึกตอผูใชเสมือนวาเปนการใชงานอุปกรณดังกลาวอยูจึงงายตอการสื่อ

ความหมาย นอกจากนี้ ยังมีแนวโนมอีกดวยวาใครตอใครในวงการน้ีตางพยายามพัฒนารูปแบบการติดตอกับผูใช

(user interface) ใหแตกตางโดดเดนไปจากผลิตภัณฑอื่นๆ ดังนั้น ในอนาคตเราคงไดเห็นโปรแกรมประยุกตบน

วินโดวสที่มีรูปลักษณแปลกๆ ใหมๆ ตางกันไปอยางมากมาย

5. ถากําหนดใหหนาจอมอนิเตอรแสดง

จํานวนสีมากข้ึน จะทําให Windows

ทํางานไดชาลง ?

คําถามน้ีฟงดูเปนเหตุเปนผล

นาเชื่อเปนอยางมาก เพราะย่ิงกําหนดให

เครื่องคอมพิวเตอรแสดงภาพที่มีสีสันมาก

เทาใดมันก็หมายความวาจะตองใช

หนวยความจําเพ่ือจัดเก็บขอมูลสีเพ่ิมข้ึนมาก

เทาน้ัน แตบางคร้ังในบางกรณีความเช่ือ

ดังกลาวนี้ก็อาจจะไมเปนจริง ทั้งนี้ตอง

พิจารณาลงไปในรายละเอียดที่ระบบ bus ใชในการจัดสรางสีบนจอมอนิเตอรเสียกอน จึงจะระบุไดวาจริง หรือไมจริง

อยางเชนการกําหนดใหหนาจอแสดงภาพสีดวยรายละเอียดสีจํานวน 256 สีน้ัน บอยครั้งไปที่เคร่ืองคอมพิวเตอรสามารถ

สรางภาพไดเร็วกวาภาพสี 16 สี

5

คําอธิบายถึงสิ่งที่คลาดเคลื่อนไปจากที่ควรจะเปนนั้นก็คือ ในการกําหนดใหเครื่องคอมพิวเตอรแสดงสี

16 สีนั้น แตละจุดสี (pixel) บนหนาจอจะถูกกําหนดคาดวยขอมูลขนาด 4 บิท หรือ 1 นิบเบิ้ล (24 = 16, 4 bits = 1

nibble) ในขณะที่ตามปรกติแลว ระบบคอมพิวเตอรจะใชวิธีประมวลผลทีละไบท หรือทีละ 8 บิท (28 = 256, 8 bits

= 1 byte) ดังน้ัน ในการแสดงภาพหนาจอดวยสี 16 สี หนวยประมวลผลกลางจะตองทํางานเพ่ิมข้ึนอีกหน่ึงข้ันตอน

เพราะจะตองซอยแบงสัญญาณขอมูลเพ่ือการสรางสีจากไบทใหเปนนิบเบิ้ลกอนที่จะนําไปใชสรางภาพ ในขณะที่การ

แสดงภาพหนาจอ 256 สีนั้น หนวยประมวลผลกลางสามารถนําเอาสัญญาณขอมูลเปนไบทๆ ไปใชไดทันทีเลย ขอดอย

ของการแสดงภาพสี 256 สี นั้นถาจะมีบางก็เพียงปญหาเร่ืองการจัดเก็บขอมูลตารางสี (palette handling) เพื่อใหได

ภาพสีที่มีความสมจริงมากที่สุดเทาน้ัน

6. จริงหรือ ท่ีโปรแกรมบนวินโดวสมักจะเต็มไปดวย

bug ?

ในจํานวนขาวลือในทางเสียๆ หายๆ ของ

Windows น้ัน เร่ืองที่วามันเต็มไปดวย bug ดูจะเปนเรื่อง

ที่หลายคนใหความกังวลเปนอยางมาก และดูจะเช่ือเอา

เปนจริงเปนจังไปตามขาวลือเสียดวย ทั้งน้ีสวนหน่ึง

อาจจะเปนผลมาจากคําเตือนขอผิดพลาดประเภท

"Application Error" และ "General Protection Fault"

ที่มักจะปรากฏขึ้นบนหนาจอเวลาที่เกิดขอบกพรองบางอยางในการเรียกโปรแกรมขึ้นมาใช และคําเตือนที่วาน้ีไมคอยจะ

หายไปงายๆ เสียดวยนอกจากผูใชรีเซ็ทระบบเสียใหมเลย

ทั้งที่จริงๆ แลว ระบบปฏิบัติการ Windows ไดผานการปรับปรุงมาครั้งแลวครั้งเลานับแตเวอรชั่น 1.0,

2.0, 3.0a, 3.1, Workgroups 3.10, จนกระทั่งมาถึง Workgroups 3.11 นี้ เวลาอัพเกรดผลิตภัณฑแตละครั้งทีมงาน

วิศวกรของบริษัทไมโครซอฟทกไดจัดแจงแกไขขอบกพรองที่ตรวจพบ และที่ไดรับรายงานไปทุกครั้ง ฉน้ันในความเปน

จริงระบบปฏิบัติการ Windows จึงไมนาที่จะมี bug จํานวนมากมายอยางที่เปนขาวลือ

ทีนี้ก็มาถึงปญหาวา ในเม่ือไมมี bug มากมายขนาดน้ันแลวทําไมถึงมีคําเตือนวา Genaeral

Protection Fault (GPF) ปรากฏข้ึนมาบนหนาจอเร่ือยเลย คําตอบมีอยูมากมาย ที่พบบอยที่สุดก็คือปญหาความไมเขา

กันกับพวกโปรแกรมไดรฟเวอรทั้งหลาย อยางเชน screen drivers, printer drivers และยังครอบคลุมไปถึงโปรแกรม

ไดรฟเวอรสําหรับอุปกรณแปลกๆ ใหมๆ เพราะถึงแมวาทางบริษัทไมโครซอฟทเองจะไดมีการออกแบบโปรแกรม

ไดรฟเวอรมาใหครอบคลุมอุปกรณประกอบระบบไวกวางๆ แลว แตมันก็ไมมีทางครอบคลุมอุปกรณไดทุกชนิดทุกย่ีหอ

อยูดี

นอกจากน้ี คําเตือนขอผิดพลาด GPF ยังอาจจะเกิดขึ้นไดจากตัวโปรแกรมประยุกต Windows

applications เองไดดวย เพราะบอยครั้งที่บริษัทผูจําหนายไดกําหนดวันจําหนายออกไปลวงหนา แตทีมงานวิศวกรไม

สามารถขจัด bug และขอบกพรองภายในตัวผลิตภัณฑไดทัน

หมายกําหนดการที่ไดกําหนดไปลวงหนาได เพ่ือไมใหเสียช่ือ และเสียลูกคา

ใหกับคูแขงที่กันอยูแบบชิงดํา ทําใหบริษัทจําเปนตองปลอยผลิตภัณฑที่มี

ปญหาน้ันออกสูตลาดกอน แลวคอยไปหาทางแกกันในภายหลังเมื่อมีเวลา

6

7. โปรแกรมบน Windows มักมีขนาดใหญ และงุมงาม ?

หากไดลองอานบทความประเภทแนะนํา หรือทดสอบผลิตภัณฑโปรแกรมซอฟทแวรบน Windows สัก

หลายๆ บทความ เชื่อวาทานผูอานหลายๆ ทานคงจะเร่ิมเช่ือวาโปรแกรม Windows applications สวนใหญมักจะมี

ขนาดใหญ และงุมงาม (large & unwieldy) ตามที่ผูทดสอบ/ผูวิจารณกลาวถึงไว เพราะโปรแกรมน้ันก็ 10 MB

โปรแกรมน้ีก็ 12 MB จนหลายคนเริ่มเกิดความวิตกกังวลขึ้นมาวาฮารดดิสกที่มีอยูเดิมจะพอเก็บโปรแกรมเหลาน้ีหรือ

เปลา และถาเกิดไมพอจริงๆ ควรจะหาซ้ือฮารืดดิสกขนาดใหญแคไหนมาเพ่ิมถึงพอรองรับโปรแกรมรุนใหมๆ ที่กําลังจะ

ออกตามกันมาอีก

ความเชื่อดังกลาวมิไดเปนจริงใน

ผลิตภัณฑโปรแกรมซอฟทแวร Windows applications

หลายๆ ตัว ยกตัวอยางเชน โปรแกรม Page Maker 4

น้ันแมวาจะเปนหน่ึงในผูนําดานระบบการพิมพแบบ

เดสกท็อป แตมันก็ตองการเนื้อที่จัดเก็บภายในฮารดดิสก

เพียง 4 MB เทาน้ัน, หรืออยางโปรแกรม Aldus

PhotoStyler ที่เราใชจัดการกับไฟลลภาพขนาดใหญมากๆ ซึ่งแสกนเขามา (>30 MB) ก็ตองการที่อยูในฮารดดิสกเพียง

ไมกี่ MB

อยางไรก็ตาม โปรแกรม Windows applications สวนใหญก็ยังคงมีขนาดที่ใหญโตมโหฬารอยูดี

เหตุผลสําคัญที่โปรแกรมเหลาน้ีมีขนาดใหญอยางแรกคือ ผูใชโปรแกรมมักคาดหวังสิทธิประโยชนจากผลิตภัณฑซ่ึงรัน

บน Windows มากกวาที่คาดหวังจากผลิตภัณฑตัวเดียวกันเวอรช่ันซ่ึงรันบน DOS อยางงายๆ ลองนึกเปรียบเทียบ

โปรแกรมเวิรดโพรเซสเซอรที่รันบน DOS และบน Windows ดูก็ได เราจะพบวาผูใชโปรแกรมเวิรดบน DOS สวนใหญ

ไมักไมสนใจเลยดวยซ้ําวามันจะมีความสามารถในการใชสมการทางคณิตศาสตร, การสราง/ดัดแปลงกราฟ, การเขียน

ภาพ, หรือระบบ tutorial ที่แนะนําการใชงานโปรแกรมดวยภาพกราฟฟกทั้งหลาย ฯลฯ หรือไม ?

เหตุผลที่สองที่ทําใหโปรแกรมบน Windows มีขนาดใหญก็เปนผลสืบเน่ืองมาจากการติดตอกับผูใชใน

รูปกราฟฟก (GUI, Graphic User Interface) ซ่ึงตางลวนตองการพ้ืนที่ในหนวยความจําคอนขางมากระดับเปยเมกกะ

ไบทดวยกันทั้งสิ้น ไมวาจะเปนพวกสัญรูปหลากหลายรูปแบบ (icons), ภาพบิทแม็พของอุปกรณอํานวยความสะดวก

ทั้งหลายที่เรียงกันอยูเปนตับบริเวณขอบหนาตาง (toolbars), พวกหนาตาง Help ที่สามารถเปดเรียกข้ึนมาดูคําอธิบาย

ความหมายของการทํางานซึ่งผูใชไมเขาใจไดตลอดเวลา ฯลฯ

ดวยปญหาความสิ้นเปลืองพ้ืนที่จัดเก็บในหนวยความจําดังกลาวบริษัทผูผลิตโปรแกรม Windows

applications หลายๆ รายจึงไดพยายามใชวิธีการตางๆ มาลดขนาดของโปรแกรมใหยอมลง วิธีหน่ึงที่ไดรับความนิยม

คือการลดจํานวนไฟลลตางๆ ภายในฮารดดิสกใหนอยลงเทาที่จะนอยได (harddisk-squeeeze) ดวยการพยายาม

กําหนดใหไฟลลยูทิลิต้ีหลายๆ ไฟลลน้ันถูกใชงานรวมกันไดระหวางโปรแกรมประยุกตหลายๆ ตัว (common utilities)

ยกตัวอยางเชน การทํางาน spelling checker และ clip-art library ซ่ึงจัดเก็บอยูภายในไดเรกตอรี่

ยอย MSAPPS ของไดเรกตอรี่ Windows น้ัน ปจจุบันก็สามารถนําไปใชไดโดยผลิตภัณฑโปรแกรมประยุกตของบริษัท

ไมโครซอฟทไดแทบทุกโปรแกรมแลว แนวความคิดน้ีนอกจากจะไดรับการยอมรับใชงานจากบริษัทไมโครซอฟทแลว

มันยังถุกนําไปใชโดย Lotus Development และ SPC ดวยเชนกัน ซึ่งถาในอนาคตบริษัทผูพัฒนาโปรแกรมซอฟทแวร

7

ทุกรายเลือกใชวิธีกําหนดใหผลิตภัณฑของตนทํางานผาน common utilities เหมือนๆ กันหมด สุดทาย โปรแกรม

Windows application ก็คงจะเปลี่ยนไปมีชื่อเสียงในแงการใชงานพ้ืนที่จัดเก็บบนฮารดดิสกนอย (low harddisk

requirements) แทนเปนแน

8. "Out of memory" หมายความวาไมมีหนวยความจําวางเหลืออยูจริงๆ หรือ ?

ยิ่งโปรแกรม Windows applications ทั้งหลายมีความใหญโต และความสลับซับซอนมาขึ้นเทาใด

โอกาสที่ผูใชคอมพิวเตอรจะไดพบกับขอความแสดงความผิดพลาดในการทํางานของระบบวา "Out of memory" ก็จะ

พบขึ้นไดบอยข้ึนเทาน้ัน โดยประโยค Out of memory นี้แมจะแปลวาหนวยความจําไมพอ แตก็ใชวาการหาซื้อชิป

หนวยความจํา RAM มาติดตั้งเพิ่มจะทําให ปญหาดังกลาวหมดไป เพราะอันที่จริงแลวการใช

งานหนวยความจําบน RAM ของโปรแกรม ประยุกต Windows applications ทั้งหลาย และ

ตัวระบบปฏิบัติการ Windows เองน้ัน จําแนกออกไดเปน 2 สวน คือสวน system

resources และสวน low DOS memory

หนวยความจําสวน system resources ประกอบไปดวยพ้ืนที่วางใน RAM ขนาด 64 KB จํานวนสอง

บลอคซึ่งถูกใชสําหรับการจัดเก็บขอมูลทั้งหมดจาก Windows programs โดยบล็อคแรกน้ันถูกควบคุมโดยสวนการ

ทํางานที่มีชื่อวา GDI (the Graphics Device Interface) ของระบบปฏิบัติการ Windows ใชสําหรับการจัดเก็บขอมูล

ประเภท ลักษณะของสัญรูป, ของเคอรเซอร ฯลฯ ฉน้ันมันจึงเปนสวนที่ถูกบรรจุเต็มไปดวยขอมูลอยางรวดเร็วหลังจาก

เริ่มการติดต้ังโปรแกรม จนกระทั่งทางบริษัทไมโครซอฟทเองตองเปลี่ยนรูปแบบวิธีการจัดเก็บขอมูลสัญรูปเสียใหมใน

ผลิตภัณฑ Windows 3.1 ของตน เพ่ือลดการสวาปามหนวยความจําในสวนน้ีลง

บล็อค 64 K ที่สองของหนวยความจํา system resources ถูกดูแลและจัดการโดยสวนการทํางาน

User ซ่ึงทําหนาที่ควบคุมลักษณะชองหนาตาง, ชอง Dialog box ที่โปรแกรมใชโตตอบกับผูใช, และปุม controls ตางๆ

ไมวาจะเปน buttons, list boxes ฯลฯ ที่จะตองมาปรากฏขึ้นบนหนาจอมอนิเตอรเวลาที่โปรแกรม Windows

applications ถูกเปดเรียกข้ึนมาทํางาน (active) ปรกติหนวยความจําสวนที่ถุกควบคุมโดย User นี้มักจะมีที่เหลือวาง

มากไมเหมือนสวนที่ควบคุมโดย GDI ที่มักจะเต็มอยูเกือบตลอดเวลา

อยางไรก็ตาม หนวยความจํา system resources บล็อคที่ควบคุมโดย User ก็มีโอกาสเต็มข้ึนมาไดบาง

เหมือนกัน หากโปรแกรม Windows applications ที่เรียกขึ้นมาใชมีขนาดใหญโตและสลับซับซอนมากๆ และเมื่อลอง

มันเต็มข้ึนมาแลว ก็ผูใชก็ไมสามารถจะแกไขปญหาเรื่องหนวยความจําไมพอไดเลย เพราะเราไมสามารถเพ่ิมพื้นที่

system resources ได มันเปนขอกําหนดที่มากับตัวระบบปฏิบัติการ Windows เอง (คงตองรอผลิตภัณฑ Windows

เวอรช่ันใหมของบริษัทไมโครซอฟทที่ขยายขอบเขตการใชงาน system resources ข้ึนไปจากขนาด 64 KB น่ันแหละ ถึง

จะแกปญหาน้ีได)

ปญหาขอผิดพลาดอีกอยางที่มักจะเจอกันก็คือ การที่มีขอความ "Out of memory" ปรากฏขึ้นบน

หนาจอเวลาที่เราเรียกโปรแกรม Windows applications ชนิดใดชนิดหน่ึงข้ึนมาทํางาน ซึ่งเปนผลมาจากการที่หนวย

ความ low DOS memory ภายใน RAM เต็มจนไมมีที่วางใหโปรแกรมโหลดไฟลลบางไฟลลเขาไปเก็บได โดยสวน low

DOS memory นี้เปนพ้ืนที่หนวยความจํา 1 MB แรกภายใน RAM ของเคร่ืองคอมพิวเตอรที่ DOS สํารองไวสําหรับเก็บ

ไฟลลสําคัญๆ ของตน และเผื่อพ้ืนที่ไวอีกไมมากบริเวณปลายๆ เกือบถึงตําแหนง 1 MB สําหรับโปรแกรมทั้งหลายที่รัน

บน DOS และก็ใหบังเอิญวาเจาพ้ืนที่ตรงน้ีเปนสวนที่ Windows applications ทุกตัวตองใชงานเสียดวย และทั้งที่

8

พ้ืนที่ที่ตองการก็เพียงนอยนิด ไมถึง 1 KB เสียดวยซํ้า (ยกเวน โปรแกรมRemote Access Server ที่คอนขางตระกละ

หนวยความจํามากเปนพิเศษ) แตถามีคนจับจองอยูกอน มันก็ทําใหโปรแกรมทํางานไมได)

แนนอน ปญหาเร่ืองหนวยความจําไมพอเหลานี้ยอมจะถูกขจัดปดเปาไปในผลิตภัณฑ Windows '95 ที่

กําลังจะออกมาใหม แตในระหวางที่ยังตองประสบกับมันอยูทุกเม่ือเชื่อวันน้ี เราก็มีวิธีที่พอจะบรรเทาปญหาเรื่อง "Out

of memory" ลงไปไดบางเหมือนกัน เริ่มดวยการพยายามอยาโหลดเอาโปรแกรมไดรฟเวอร และโปรแกรมประเภทฝง

ตัว (resident program) ที่ไมจําเปนเขาไปเก็บไวในหนวยความจําเม่ือตอนเริ่มบูตระบบ

ผูใชคอมพิวเตอรหลายๆ คนชอบเขียนคําสั่งใหเรียกโปรแกรมโนนโปรแกรมนี้ใหวุนวายไปหมดไวภายใน

ไฟลล Autoexec.bat ถาเปนไปไดก็ควรจะลบๆ ทิ้งไปได หรือมิฉนั้นก็ใหใสคําสั่ง Rem ไวหนาคําสั่งเหลาน้ันอีกทีเผื่อ

วาอาจจะตองกลับไปใชงานจริงๆ นอกจากน้ี หากเปนไปไดก็พยายามเปลี่ยนเอาโปรแกรมไดรฟเวอรขึ้นไปเก็บไวในสวน

Upper-memory แทน หรืออาจจะใชโปรแกรม WnWrap เขามาชวยหอโปรแกรมตางๆ ใหมีขนาดยอมเยาลงจนไม

เปลืองพ้ืนที่จัดเก็บภายใน Low memory มากมายนัก

9. ระบบปฏิบัติการ Windows เปนระบบปฏิบัติการแบบ Multitasks จริงๆ หรือ ?

คําตอบคือ จริง ! แตเพียงครึ่งเดียวเทาน้ัน เพราะถาเราตีความตรงจากคําวา "Multitasks" ที่แปลวา

"หลายการทํางาน" ระบบปฏิบัติการ Windows ก็อนุญาตใหผูใชเรียกโปรแกรม Windows applications ขึ้นมาใชทีละ

หลายๆ โปรแกรมไดจริง (แมวาจะทําใหระบบคอมพิวเตอรโดยรวมทํางานอืดลงไปอยางมากก็ตาม) โดยภายใตการ

ทํางานของระบบปฏิบัติการ Windows นั้น ผูใชอาจจะสั่งใหเครื่องพิมพพิมพงานเอกสารในระดับแบ็คกราวนไป

ในขณะที่รอโหลดขอมูลระหวางเคร่ืองคอมพิวเตอรกับเครื่องพิมพก็อาจจะเปดเอาเกมสขึ้นมาเลนฆาเวลาได

อยางไรก็ตาม ความหมายของคําวา "Multitasks" จะเปลี่ยนไปหากเรานําไปใชกับระบบปฏิบัติการของ

เครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญอยางพวกมินิคอมพิวเตอร หรือระดับเมนเฟรม ซึ่งเปน "pre-emptive multitask" ที่

อนุญาตใหโปรแกรมการทํางานหน่ึงตัดตอน (pre-emp) การใชหนวยประมวลผลกลางเพ่ือมาทํางานของอีกโปรแกรม

หน่ึงไดตลอดเวลา ในขณะที่ Multitasks ของ Windows น้ันเปนแบบ non-preemptive multitasks ซ่ึงโปรแกรม

หน่ึงจะเขาไปใชหนวยประมวลผลกลางไดก็ตอเม่ืออีกโปรแกรมหนึ่งเลิกใชไปแลว หากโปรแกรมเดิมที่จับจองหนวย

ประมวลผลกลางไมยอมสละการใชงานให ผลก็คือ ผูใชจะพบวามีเคอรเซอรรูปนาฬิกาทรายปรากฏขึ้นมาบนหนาจอ

บอกวาใหรอ แตรอแลวรอเลาก็ไม หายไปเสียที และจะยายไปทํางาน

อยางอื่นก็ไมยอมอีกตางหาก สุดทายก็ตองบูทหรือรีเซ็ทระบบใหม

เพ่ือตัดปญหา

รูปแบบการทํางาน แบบ non-preemptive

multitasks น้ีจะใชไดผลดีก็ตอเม่ือ โปรแกรม Windows applications

ทั้งหลายที่เรียกข้ึนมาใชตางลวน สะอาดบริสุทธ์ิผุดผองปราศจาก

bug ปนเปอนมาในตัวโปรแกรม แมแตนิดเดียว ซึ่งทุกคนก็รูดีวาเปน

เรื่องที่ยากจะเปนจริงไดในสภาพการ แขงขันของตลาดซอฟทแวร

คอมพิวเตอรปจจุบัน เพราะถาขืน รอจนจัดแจงแกไข bug หมด

9

ชาวบานเขาก็ครองตลาดไปจนไมตองคาขายกันอีกตอไปนั่นแหละ แถมถาพิจารณาจากผลิตภัณฑโปรแกรม Windows

applications ทั้งหลายที่ออกมาใหมน้ัน ตางก็ลวนมีแนวโนมที่จะจับจองเปนเจาของหนวยประมวลผลกลางไวเสียคน

เดียวซะสวนมาก

อยางไรก็ตาม ใชวาระบบปฏิบัติการ Windows จะมีสภาพเปน non-preemptive multitasks อยู

ตลอดไป เพราะทางบริษัทไมโครซอฟทเองก็กําลังพยายามพัฒนา

ผลิตภัณฑของตนใหมีลักษณะ pre-emptive multitasks อยู

อยางขมักเขมนเชนกัน โดยจะใชระบบดังกลาวในผลิตภัณฑ

Windows NT และ Windows '95 ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการชนิด

32 bit ที่มีการรองรับการทํางานแบบ pre-emptive multitasks

ของโปรแกรม Windows applications แบบ 32 บิท อยางเต็ม

รูปแบบ (ก็คงตองรอดูกันตอไป)

10. ระบบปฏิบัติการ Windows 3.x ไมสามารถใชพ้ืนท่ีในหนวยความจําท่ีเหนือจากระดับ 16 MB ขึ้นไปได ?

คําตอบ คือระบบปฏิบัติการ Windows สามารถใชพื้นที่หนวยความจําซึ่งเหนือข้ึนไปจากระดับ 16 MB

ไดอยางแนนอน เพียงแตติดอยูตรงที่วาโปรแกรม Windows applications ทั้งหลายทั้งปวงนั้นสวนใหญมักจะถูกเขียน

ข้ึนมาเพ่ือใหใชงานหนวยความจําไดจํากัดอยูตรงไมเกิน 16 MB น้ีแทบทั้งสิ้น (ตัว Windows สามารถใชงาน

หนวยความจําขึ้นไปไดถึงไหนตอไหนก็ได เทาที่หนวยความจําใน RAM และฮารดดิสกจะมีพอรองรับ)


Recommended